Skip to content
Home » [Update] The Deadline เดอะเดดไลน์ | EP.1 [1/5] | deadline คือ – NATAVIGUIDES

[Update] The Deadline เดอะเดดไลน์ | EP.1 [1/5] | deadline คือ – NATAVIGUIDES

deadline คือ: คุณกำลังดูกระทู้

COMMUNITY SUBTITLE TERMS AND CONDITIONS OF USE


These Community Subtitle Terms and Conditions of Use (these “Terms”) govern your access and use of community subtitle services (the “Services”) available on LINE TV mobile application and/or website available at https://tv.line.me (“LINE TV Platform”). 

The capitalized terms not defined but used herein have the meanings set forth in the LINE TV Terms and Conditions of Use.

1.  Your Agreement. 

By clicking “I accept Terms&Conditions and Privacy Policy”

 you acknowledge and confirm your agreement to these Terms together with the LINE TV Terms and Conditions of Use, Privacy Policy and any additional terms and conditions, guidelines, policy or similar document released or uploaded by us, which are incorporated herein by reference. If these Terms conflict with the LINE TV Terms and Conditions of Use, these Terms will take priority.


2.  Modifications. 

We may modify these Terms within the scope of the purpose of the Services, if we deem the modification necessary. In such case, we will notify you by posting the modified Terms and the start date of application on a readily available location within LINE TV Platform. The modification will become effective from the date of application specified by us.

3.  Services.  

   3.1  Subject to these Terms, we grant you a limited, non-exclusive, non-transferable, revocable permission for personal, non-commercial use of the Services to: (i) access television shows, movies, videos or other audio-visual content provided by us and third-parties (the “Content”); and (ii) access, participate and/or engage in a community of users of the Services including submitting subtitles for the Content using the methods provided by us.

   3.2  We reserve the right to modify, limit or discontinue the whole or any part of the Services at any time without prior notice and we will have no liability to you for any such unavailability.  

   3.3  The Services may contain links to third party websites that are not owned or controlled by us. We have no control over, and assume no responsibility for, the content, privacy policies, or practices of any third party websites. By using the Services, you expressly relieve us from any and all liability arising from your use of any third-party website.

4.   Subtitle Submissions.  

   4.1  The Services permit your submission of subtitles for the Content (the “Subtitle Submissions”) and the hosting, sharing, and/or publishing of such Subtitle Submissions.

   4.2  You agree that the following restrictions shall apply with respect to any Subtitle Submissions:

      A.   We do not guarantee any confidentiality with respect to any Subtitle Submissions and shall have no liability to you for any content posted in Subtitle Submissions; and

      B.   We will have the right, but not the obligation, to review the Subtitle Submissions and delete any Subtitle Submissions that violate these Terms and/or contain any of the following types of content (each a “Prohibited Submission”): (i) any content that violates, or promotes or encourages the violation of, any applicable law, court verdicts, resolutions or orders, or administrative measures that are legally binding; (ii) any content that hinders public order or customs; (iii) any content that infringes, impairs or defames any person’s intellectual property rights, image rights, privacy or data protection rights, or any other rights granted by applicable law; (iv) any content that includes any grossly offensive material, violent, coarse, sexual or anti-social expressions, or expressions that lead to discrimination by age, national origin, creed, sex, gender, social status, family origin, and/or expressions that induce or encourage suicide, self-harm, or drug abuse. We may also edit, restrict, suspend, or remove your Subtitle Submissions if we reasonably determine that such Subtitle Submissions are inappropriate. 

   4.3  You will be solely responsible for your own Subtitle Submissions and the consequences of posting or publishing them. You affirm, represent, and warrant that you own or have the necessary licenses, rights, consents, and permissions to publish your Subtitle Submissions and grant us the necessary rights. We will not be held liable for any loss or damage caused by your reliance on any Subtitle Submissions.

   4.4  You retain all your ownership rights in your Subtitle Submissions. However, by submitting the Subtitle Submissions to us, you hereby grant to us a non-exclusive, royalty-free, irrevocable, perpetual, unlimited, sub-licensable and transferable worldwide license to use, reproduce, distribute, exploit, prepare derivative works of, display, publish, broadcast, perform, import, commercialize, retain copies of, and otherwise transfer all copyright, inventions, and other intellectual property rights in the Subtitle Submissions in connection with the Services and our business, including without limitation for promoting and redistributing part or all of the Services (and derivative works thereof) in any form and media formats and through any media channels.

   4.5  If notified of an allegedly Prohibited Submission, we may investigate the allegation and determine in our sole discretion whether to remove the Subtitle Submission, which we reserve the right to do at any time and without notice.

5.   Termination. 

We reserve the right to terminate, suspend or block any or all features of your access or use of the Services at any time if we determine at our good faith discretion that you have committed a material breach of any terms of these Terms for reasons including, without limitation, copyright infringement, pornography, or obscenity.

6.   Exemption of Liability. 

We make no warranties or representations that the Services are free from de facto or legal flaws (including but not limited to stability, reliability, accuracy, integrity, effectiveness, fitness for a particular purpose, security-related faults, errors, bugs, or infringements of rights). We will not be responsible for providing the Services without such defects. We will not be responsible for any direct, indirect, special, incidental, consequential or punitive damages (including but not limited to such damages that could have been predicted) with respect to our contractual default or act of tort due our negligence (except for gross negligence).

7.   Notification and Contact.

  When we notify or contact you regarding the Service, we may use a method that we consider appropriate and is legal, such as posting notices within the Service. When you contact us, please use the inquiry form available on LINE TV Platform.

8.   Personal information. 

We will collect contact information submitted by you, including contributor name and email address, for the purposes of the Services and operating the Services. We will use such information to contact you on the review outcome, or to avoid abuse of the Services. We will appropriately handle privacy

information and personal information of yours in accordance with the

 

LINE TV Privacy Policy.

 

9.   Language, Governing Law and Jurisdiction.  

In the event of a contradiction between the English Version and Thai translation, the provisions in the English Version shall take precedence. These Terms and Conditions will be governed by the laws of Japan. Conflicts that arise from the Service or conflicts between Users and the Company related to the Service will be governed primarily under the exclusive jurisdiction of the District Court of Tokyo or the Tokyo Summary Court.

Last updated : November 26, 2020

Table of Contents

[NEW] พลังแห่งเดดไลน์ : ไม่เห็นเดดไลน์ ไม่หลั่งน้ำตา | deadline คือ – NATAVIGUIDES

ถึงจะทำงานมานานกว่าสิบปีแล้ว ผมก็ยังคงติดนิสัยเหมือนตอนเรียนอยู่เป๊ะ!

“เราจะไม่ทำงาน จนกว่าจะถึงเวลาส่งงาน​!” เหมือนเป็นกฎเลวๆ ที่สลักไว้อย่างลับๆ อย่างไรก็ไม่ทราบ – รู้ทั้งรู้นะครับ ว่ามันเป็นวิธีการทำงานที่ไม่ค่อยดี และถ้าโลกนี้ทุกอย่างเป็นไปอย่างที่คิดได้ละก็ เราก็คงเลือกที่จะทำงานอย่างค่อยเป็นค่อยไปมากกว่า ในวันที่ท้องฟ้าแจ่มใส เรามักคิดในทำนองว่า “เขียนวันละหน้าสองหน้า ครึ่งปีก็ได้หนังสือเล่มหนึ่งพอดีแล้ว!” (นักทำงานแบบไฟลนก้นจะติดการคำนวณแบบนี้) แต่เอาเข้าจริง เราก็ไม่เคยทำได้ ก็เป็นคืนสุดท้ายที่รุ่งขึ้นจะต้องส่งงานนั่นแหละ ที่เราจะมาปั่นเอาหัวหกก้นขวิดทุกที

เราถนัดการสปรินท์ แต่เราไม่เคยถนัดการวิ่งมาราธอน – ไม่เห็นเดดไลน์​ ไม่หลั่งน้ำตา

ทำไมเดดไลน์จึงมีพลังนัก?

พลังแห่งเดดไลน์: เดดไลน์หวดให้เราทำงานได้ ‘แค่ไหน’

เรา (ส่วนมาก) รู้อยู่แล้วว่าเดดไลน์นั้นเป็นตัวช่วยให้เราขยับเขยื้อนร่างกาย – ลุกจากความขี้เกียจ และเริ่มทำงานได้เสียที แต่คำถามก็คือ เดดไลน์ ‘มีพลังมากแค่ไหน’ – เราวัดผลได้หรือไม่ว่าการกำหนดเดดไลน์ขึ้นมาจะทำให้คนทำงานหนึ่งๆ เสร็จมากขึ้นกี่เปอร์เซนต์?

เรื่องนี้เป็นเรื่องที่มีการพยายามหาคำตอบครั้งหน่ึงโดย Kristen Berman แห่งห้องทดลองด้านการศึกษาพฤติกรรม ร่วมกับแพลตฟอร์มกู้ยืมสำหรับธุรกิจขนาดย่อมโดยปราศจากดอกเบี้ย kiva.org, ในการกู้ยืมเงินผ่าน Kiva ปกติแล้วเจ้าของธุรกิจจะต้องกรอกแบบฟอร์มระบุรายละเอียดของธุรกิจของตนโดยละเอียด แบบฟอร์มนี้ีมีความยาวมากถึง 8 หน้า ทำให้อย่างที่รู้แหละครับ, เจ้าของธุรกิจจำนวนมากก็จะคิดว่า “เฮ้ย เอาไว้ก่อน” ทำให้กรอกไม่สำเร็จเสียที มีคนที่กรอกสำเร็จลุล่วงเพียง 20% ของผู้สมัครทั้งหมดเท่านั้น

ทีนี้ Kristen Berman ก็เลยเกิดคำถามขึ้นมาว่า แล้วถ้าเราใส่ ‘เดดไลน์’ ลงไปในเมลที่ส่งให้เจ้าของธุรกิจกรอกแบบฟอร์มล่ะ ผลจะเป็นอย่างไร จากเดิมที่เมลดังกล่าวไม่ได้กำหนดวันหมดเขต ตอนนี้ เมลก็จะเพิ่มคำอย่างเช่น “คุณมีเวลาถึงวันที่ 20 ตุลาคมเท่านั้น ในการส่งแบบฟอร์มนี้” เมื่อเจ้าของธุรกิจได้เมลแบบหลัง ผู้สมัครสำเร็จจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างไร

ผลปรากฏว่า – มีผู้กรอกใบสมัครจนเสร็จลุล่วง เพิ่มขึ้น 24% ด้วยการเพิ่มประโยคเดดไลน์ลงไปเพียงประโยคเดียว

ยังไม่จบเท่านั้นนะครับ – นักทดลองเกิดสงสัยขึ้นมาอีกว่า เราจะทำให้พลังแห่งเดดไลน์เพิ่มขึ้นได้อีกหรือเปล่า ถ้าเราลองใแรงจูงใจอื่นๆ ลงไป เขาเลยทดลองใส่ประโยคเพิ่มเข้าไปในเมลอีกหนึ่งประโยคต่อมาว่า “แต่ถ้าคุณส่งใบสมัครนี้ก่อนวันที่ 14 ตุลาคม คุณจะได้รับการพิจารณาก่อนใคร” (คือเพิ่มจากประโยคเดิมที่กำหนดเดดไลน์เข้าไปอีก) ลองเดาสิครับว่าผลเป็นอย่างไร

ผลก็คือ มีผู้กรอกใบสมัครจนเสร็จลุล่วงเพิ่มขึ้นจากการมีเดดไลน์เดียวอีก 26% ด้วยการเพิ่มแรงจูงใจเชิงบวก (แทนที่จะเป็นการทำโทษคนที่ส่งเลท) นี้

นอกจากนั้น ยังมีการทดลองก่อนหน้านี้ด้วยว่า เดดไลน์ที่กระชั้น นั้นส่งผลให้คนทำอะไรๆ มากกว่าเดดไลน์ที่ไกลออกไป เช่น ในการทดลองแจก Gift Voucher ครั้งหนึ่ง ถ้ากำหนดไว้ว่า Gift Voucher นี้ใช้งานได้ภายในสองเดือน จะมีีคนใช้จริงๆ แค่ 10% แต่เมื่อกำหนดว่า Gift Voucher นี้มีเวลาเพียงสองสัปดาห์เท่านั้น ก็มีคนใช้ Gift Voucher เดียวกันมากกว่า 30% (ทั้งที่เวลาสองสัปดาห์มันสั้นกว่าสองเดือนตั้ง 3 เท่า)

เมื่อเป็นเช่นนี้ Kristen จึงเสนอแนะว่าเราอาจใช้ประโยชน์จากเดดไลน์ได้ในหลายระดับ รัฐบาลก็อาจทำให้คนกรอกแบบฟอร์มภาษีได้มากขึ้นด้วยการเสนอว่าถ้ากรอกเสร็จก่อนจะได้ส่วนลดหรือมีแรงจูงใจอื่นๆ ให้ หรือ, ก็นั่นแหละครับ, ในการทำงาน เราก็อาจจะมีโอกาสทำได้สำเร็จมากกว่า หากมีเดดไลน์ที่กำหนดมาให้ (มันก็แน่อยู่แล้ว!)

 

ทำไมเราถึงมีพลังแฝงเมื่อเดดไลน์มาถึง? AKA ทำไมเราจึงต้องรอให้ถึงเดดไลน์ค่อยทำ?

ผมลองถามคำถามนี้กับตัวเองว่า เออ ทำไมนะ ทำไมเราต้องรอให้ถึงเดดไลน์ก่อนถึงจะเริ่มทำอะไรได้ ก็พบว่าถ้าตอบให้ลึกไปกว่าความขี้เกียจ (เรามักเห็นว่าตัวเองในปัจจุบันต้องสุขสบาย แล้วค่อยให้ตัวเองในอนาคตลำบากทีหลัง ไม่เป็นไร!) คำตอบต่อมาก็น่าจะเป็น หนึ่ง ‘ความเชื่อมั่นในตัวเอง’ สอง ‘เพราะเราชอบความกดดัน’ หรือสาม (อย่างที่มีคนชอบอ้าง) ‘เพราะเราเป็นเพอร์เฟกชั่นนิสต์’

ทำไมถึงเป็น? (ต้องเพิ่มเติมว่า อาจจะเป็นความเชื่อมั่นผิดๆ ก็ได้นะ) ผมคิดว่าโดยส่วนมากแล้ว หลังจากที่เราเรียนรู้ผ่านการทำซ้ำๆ ว่า เราทำงานสำเร็จได้ (โดยที่ไม่เคยโดนด่า) ในเวลาจำกัด เราก็มักจะรอให้ถึงขีดสุดท้ายจริงๆ ก่อนค่อยทำ เราเชื่อมั่นว่า ด้วยความสามารถของเรา เราอยากจะท้าทายเส้นตายตรงนี้ และชนะมันอีกครั้ง

ซึ่งนำมาสู่เหตุผลข้อที่สอง เพราะเรา (ลึกๆ แล้ว) ชอบความกดดัน การตื่นมาทำงานเหมือนเดิมอย่างสม่ำเสมอในทุกๆ วัน ถึงแม้จะดูเป็นกิจวัตรที่ดีงาม แต่เราก็อาจแอบรู้สึกว่ามันก็เป็นกิจวัตรที่น่าเบื่อด้วย เราอาจจะเสพติดเวลาที่สมองหลั่งสารอะไรบางอย่าง เมื่อเราเครียด เค้น หรือกดดันมากๆ แล้วเราก็อาจจะพบว่า งานที่ออกมาจากความกดดันนั้นดีเหลือเชื่อ (ซึ่งอาจเป็นการประเมินที่เข้าข้างตัวเอง)

เหตุผลข้อสุดท้ายที่ผมมักได้ยินหลายๆ คนใช้ Justify การที่ตัวเองต้องรอให้ถึงเดดไลน์ก่อนค่อยเริ่มงานคือ “รอแรงบันดาลใจ” หรือ “คิดไม่ออก ยังคิดสิ่งที่ดีที่สุดไม่ได้” ซึ่งพอลองไล่ๆ ดู ก็จะพบว่าเป็นเพราะ “พวกเขาต้องการให้งานนี้ออกมาดีที่สุด และให้เหตุผลว่า การใช้เวลามากที่สุดกับการคิด (ให้ลุล่วง) ก็จะนำมาซึ่งงานที่ดีที่สุดจริงๆ” – หรืออีกนัยหนึ่งคือพวกเขาอาจเรียกตัวเองว่าเป็น Perfectionist – ประมาณว่า ต้องคิดให้จบก่อนถึงจะเริ่มทำได้ ซึ่งนี่ก็อาจเป็นเหตุผลที่ฟังขึ้นอยู่ แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงคือ งานบางงานก็ไม่เคยเสร็จในหัว เราต้องลงมือลองทำมันออกมาจริงๆ ก่อน ถึงจะเห็นว่าสิ่งที่เราสมมติในหัวมันบกพร่องอย่างไร (เช่น ผมเคยคิดว่าตัวเองมีเรื่องจะเขียนเยอะมาก แต่พอลงมือพิมพ์จริงๆ ก็พบว่าเขียนแค่สองย่อหน้าก็หมดเชื้อเพลิงแล้ว)

มีคำตอบที่ลึกซึ้งกว่านี้ว่าทำไมเราจึงชอบรอให้ถึงเดดไลน์แล้วค่อยทำงานด้วยนะครับ – ในบทความ Why writers are the worst procrastinators (ทำไมนักเขียนถึงเป็นพวกผัดวันที่ร้ายกาจที่สุด) โดย Megan Mcardle เสนอว่าสาเหตุอาจเป็นเพราะเราเป็น Impostor Syndrome (อาการ “กลัวว่าตัวเองไม่เก่งจริง และใครจะมาเปิดเผยความไม่เก่งของเราในที่สุด”), เราอาจจะ “ชอบเตะตัดขาตัวเอง” (Self-handicapping) เพื่อปกป้องตัวเอง หากงานออกมาไม่ดี (จะได้อ้างว่า “เพราะกูไม่ได้พยายามอย่างเต็มที่ไงล่ะ ถ้ากูพยายามนะ โอ๊ย กูจะต้องทำได้ดีมากแน่ๆ”)

Alain de Botton พูดไว้น่าสนใจว่า “จะเริ่มทำงานได้ ก็ต้อรอให้ความกลัวในการที่จะไม่ได้ทำอะไร เหนือกว่าความกลัวที่จะทำอะไรออกมาห่วยนั่นแหละ” ผมคิดว่าคำพูดนี้จริงทีเดียว

นอกจากสาเหตุเหล่านี้แล้ว Mcardle ก็ยังเสนอด้วยว่า ระบบการศึกษาในปัจจุบันก็ยังมีส่วนที่ทำให้เรายึดติดกับเดดไลน์ด้วย เพราะมันสร้าง ‘กรอบจำกัด หรือภาวะสถิตนิ่ง’ บางอย่าง เธออธิบายว่า ในการเรียนวรรณกรรม เราก็มักจะเห็นเฉพาะงานที่เสร็จแล้วของนักเขียนระบือนาม แต่เราไม่เคยเห็นร่างแรกๆ ของงานเขียนชิ้นนั้นเลย (ทำให้ไม่เห็น ‘กระบวนการ’) และเธอก็ยังเสนอด้วยว่าระบบการศึกษาในปัจจุบันนั้นกำหนดโครงสร้างที่ ‘แข็งแรงและไม่ยืดหยุ่น’ (เธอใช้คำว่า Structured, Clear Boundaries) ให้กับนักเรียน ทำให้นักเรียนรู้สึกปลอดภัยเมื่อได้ทำงานในสภาพแวดล้อมที่ชัดเจนตรงไปตรงมาแบบนี้ และจะทำงานได้ไม่ค่อยดีเมื่อต้องทำงานในสภาพแวดล้อมที่ไม่ได้มีอะไรกำหนดไว้ตายตัว

 

การจัดการความสัมพันธ์กับวันเส้นตาย

ถึงแม้เดดไลน์จะขับเคลื่อนให้เราทำงานได้จริง (อย่างที่มีการทดลองมาแล้ว) แต่ก็อย่างที่เรารู้แหละครับ, การทำงานในสภาวะบีบเค้นมากๆ ก็ไม่ใช่ว่าจะทำให้เราทำงานได้ดีที่สุดเสมอไป (มันอาจจะทำให้เรา ‘ใช้เวลาทำงานน้อยที่สุด’ ก็จริง แต่ผลลัพธ์ที่ได้ก็อาจคุ้มหรือไม่ ขึ้นอยู่กับกรณี) มีการอ้างว่า (จากบทความ ‘ด้านมือดของเดดไลน์’ ใน Psychology Today) ว่าเดดไลน์ทำให้เราเครียด คร่าเซลล์สมอง ทำให้ความคิดสร้างสรรค์ลดลง หรือทำให้สุขภาพแย่ แต่ผมก็ไม่คิดว่ามันจะเลวร้ายขนาดนั้นเสมอไป

สิ่งที่ผมคิดว่าควรทำ (และก็พยายามค่อยๆ ปรับพฤติกรรมตัวเองไปทีละนิดละหน่อย) คือการจัดการความสัมพันธ์กับเดดไลน์ของตัวเองให้ดี ผมรู้ว่าเดดไลน์มีประโยชน์ ในวันที่ไฟลนก้น เรามักจะมีพลังแฝง มี ‘ความกล้าที่จะห่วย’ (เพราะถ้าไม่กล้า ก็ไม่มีงานส่ง) และบางครั้งเราก็อาจเซอร์ไพรส์ตัวเองได้ด้วยงานที่ออกมาดีเกินคาด แต่ในขณะเดียวกัน เราก็จะไปหวังพึ่งให้เทพเจ้าแห่งเดดไลน์ประทานพลังแฝงให้ตลอดก็ไม่ได้ เมื่อเรามองย้อนกลับไปพิจารณางานที่ต้องทำตามเดดไลน์ด้วยสายตาที่มีสติจริงๆ เราก็อาจพบว่า งานเหล่านั้นถึงแม้จะดีในระดับหนึ่ง และมันคงจะดี ถ้าเราได้ลองใช้เวลา ทำงานบางชิ้นให้มันจริงๆ (ไม่ใช่มัวแต่แค่บอกว่า ถ้ามีเวลานะ…​ถ้ามีเวลานะมึ้งงง)

เทพเจ้าแห่งการไม่ยอมออกหนังสือ George R.R. Martin แห่ง Game of Thrones เคยพูดถึงเดดไลน์ไว้ว่า “ถ้านิยายเล่มไหนยังถูกอ่านเมื่อเวลาผ่านไป 50 ปี คงไม่มีใครบอกหรอกนะครับว่า ‘สิ่งที่เจ๋งที่สุดของหนังสือเล่มที่หกในซีรีส์คือ คนเขียนเขียนได้ตรงเดดไลน์พอดีเป๊ะ’ แต่คนจะชื่นชมคุณภาพของนิยายเล่มนั้นต่างหาก”

ถึงแม้จอร์จจะเลื่อนนิยายเล่มต่อไปในซีรีส์ A Song of Ice and Fire ครั้งแล้วครั้งเล่า แต่สิ่งที่แน่นอนก็คือ เขาไม่ได้รอให้ถึงวันสุดท้ายแล้วค่อยเขียน เขาก็… (ผมหวังว่านะ) ยังคงคิดและเขียนนิยายเล่มนี้ทุกวันๆ เวลาที่เขาเลื่อนออกไป คือเวลาที่เขาใช้เกลานิยายให้เหมาะที่สุด ให้ดีที่สุด ไม่ใช่เวลาที่เขาขี้เกียจ นอนอืด หรือรอให้ไฟลนก้น

สำหรับคนที่ชอบอ้างว่าเป็น Perfectionist ทั้งหลาย (ซ่ึงรวมผมด้วย) ผู้ชอบบอกว่าอยากคิดให้จบจึงทำงานไม่เสร็จเสียที ก็อาจต้องรักษาสมดุลระหว่างการมีงาน (ที่กลางๆ) กับการไม่มีงาน (ที่ดีที่สุด แต่ไม่เคยถูกสื่อสารออกมาเสียที) นี่แหละครับ และพวกเราเหล่านักไฟลนก้นก็อาจต้องรำลึกไว้นั่นแหละว่า:

งานดีที่ไม่เสร็จ ก็คืองานที่ไม่มีจริง

 

อ้างอิง / อ่านเพิ่มเติม

The Deadline Made Me Do It

https://blogs.scientificamerican.com/mind-guest-blog/the-deadline-made-me-do-it/

Why writers are the worst procrastinators

https://www.theatlantic.com/business/archive/2014/02/why-writers-are-the-worst-procrastinators/283773/

The Dark Side of Deadlines

https://www.psychologytoday.com/blog/counseling-keys/201506/the-dark-side-deadlines

Share this article



Bản nhạc Mozart kích thích trí não, giúp học tập và làm việc đạt hiệu quả cao


Tại sao phải cho trẻ nhỏ nghe nhạc nhiều?
Có nhiều nghiên cứu rằng, nghe nhạc phát triển trí tuệ cho bé giúp tăng bộ nhớ, sự chú ý và những kỹ năng ngôn ngữ của trẻ sau này.
Khi còn trong bụng mẹ, nhiều em bé đã được cho làm quen với âm nhạc, những bản nhạc cổ điển không lời hay những bản nhạc thiếu nhi tươi vui …
Nghe nhạc phát triển trí tuệ cho bé như thế nào?
– Hãy bắt đầu cho nghe nhạc sớm: Nghiên cứu cho thấy rằng trẻ sơ sinh nhớ và thích những bản nhạc mà chúng đã được nghe khi còn ở trong bụng của mẹ. Vì thế, nếu bạn có thói quen nghe nhạc ngay từ khi đang mang thai thì hãy tiếp tục điều này sau khi sinh em bé. Mẹ nên cho bé sơ sinh nghe lại những bản nhạc hay bài hát mình thường được nghe trong giai đoạn mang thai. Bé sẽ cảm nhận được sự quen thuộc của gai điệu đó.
– Không nghe những giai điệu buồn: Trẻ ở 5 tháng tuổi có thể phân biệt được bài hát vui hay buồn.
– Nghe lại: Cho bé nghe những bản nhạc hoặc nghe mẹ hát ru với cùng một bài hát tại cùng một thời điểm trong ngày sẽ giúp bé kết hợp bài hát đó với các thói quen hàng ngày, tạo ra một lộ trình thích thú cho bé.
– Hãy nói tên của trẻ: Mọi em bé sẽ đều rất thích khi nghe tên của mình. Do vậy, khi hát cho bé nghe, hãy chèn thêm tên bé vào trong các giai điệu. Khi bé nghe quen, mắt bé sẽ sáng lên và thích thú đấy.
=======================
Máy Pha Sữa Hàng Đầu Nhật Bản nay đã có mặt tại Việt Nam
TINY BABY FORMULA Chỉ 5s đong đầy yêu thương.
Đ/c: DK building số 2 lô 22 Lê Hồng Phong, Hải Phòng
Website: https://Tinyvn.com
Facebook: https://www.facebook.com/TinyBabyFormula
Hotline: 0909.683.683
Email: [email protected]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

Bản nhạc Mozart kích thích trí não, giúp học tập và làm việc đạt hiệu quả cao

รู้ไว้ก่อนดู THE DEADLINE ซีรีส์ตลกร้ายที่เราอยากให้ดูก่อนตาย! #JUSTดูIT


\”THE DEADLINE เดอะ เดดไลน์\” ผลงานล่าสุดจาก LINE TV Originals และ Bearcave Studio ที่อยู่เบื้องหลังซีรีส์ดูแล้วฮาอย่าง GGEZ เกรียนเมพเทพศาสตร์ และซีรีส์ดูแล้วซึ้ง It’s Complicated เพราะรักมันซับซ้อน สู่ผลงานซีรีส์ตลกร้ายเรื่องราวของสามศรีพี่น้องที่ไม่ลงรอยกัน และยังมีเส้นชัยในชีวิตต่างกัน ด้วยสาส์นของเรื่องราวที่กินใจ จดอ JUSTดูIT อยากให้คุณดูซักครั้งก่อนตาย!
TheDEADLINE ชมได้แล้ววันนี้ทาง LINE TV เท่านั้น
และปักหมุดรอชมตอนใหม่กันได้ทุกวันพฤหัสบดี 2 ทุ่มตรง
https://tv.line.me/v/4229086

สนับสนุนรายการ JUSTดูIT. ได้ที่ https://www.patreon.com/JUSTDOOIT

รู้ไว้ก่อนดู THE DEADLINE ซีรีส์ตลกร้ายที่เราอยากให้ดูก่อนตาย! #JUSTดูIT

What is a Deadline? Project Management in Under 5


They sound scary. They are scary. What is a Deadline in a project, and how does a project deadline differ from a Milestone?
Here, Dr Mike Clayton, founder of https://OnlinePMCourses.com answers this question, in under 5 minutes.
You may also like…
What is Milestone Planning? https://youtu.be/aJcd1rQ0Z9w
What is the Project Manager’s Iron Triangle? https://youtu.be/JHSHOAfVuw
What is Project Scope? https://youtu.be/NXw0bvvYWYo
What is Project Risk Management? https://youtu.be/QgALrPHrsk4

Please:
Give us a like
Visit https://OnlinePMCourses.com
…or subscribe to our YouTube Channel by clicking here: https://www.youtube.com/channel/UCMZfp1_wquyegVY9SoER0Nw?sub_confirmation=1

What is a Deadline? Project Management in Under 5

Price Impact และ Slippage คืออะไร? ทำไมบางครั้งก็แลกเหรียญไม่ได้ #Defi #Crypto #YieldFarming


00:00 Intro
00:37 วิธีคำนวนราคาเหรียญจาก Liquidity Pool
01:25 Price Impact คืออะไร?
01:49 แฉกลโกงการหลอกซื้อเหรียญ
02:31 วิธีดูมูลค่าของ Liquidity ของหรียญ
02:53 Slippage คืออะไร?
03:18 การตั่งค่า Slippage พวกเหรียญ SafeMoon
ในวิดีโอนี้จะเล่าว่า Price Impact และ Slippage คืออะไร?
คร่าวๆ Price Impact คือ
ราคาที่เปลี่ยนแปลงจากการที่เราแลกเหรียญ ซึ่งอาจจะมีปัจจัยมาจากขนาดของ Liquidity Pool และจำนวนเหรียญที่เราแลก
ส่วน Slippage คือ
ค่าที่เวลาราคาที่แลกจริง มันต่างจากที่แสดงในหน้าเว็บ เราจะรับได้กี่ %
============
เผื่อใครสนใจสนับสนุน สนับสนุนได้เลยที่ Wallet address นี้นะครับ แฮะ
0x319356B39fbEc19a59f5cDC31538019FCa391da3

Price Impact และ Slippage คืออะไร? ทำไมบางครั้งก็แลกเหรียญไม่ได้ #Defi #Crypto #YieldFarming

Đen – Anh Đếch Cần Gì Nhiều Ngoài Em ft. Vũ., Thành Đồng (M/V)


Đen Anh Đếch Cần Gì Nhiều Ngoài Em ft. Vũ., Thành Đồng | M/V
Download/Stream: https://denvau.lnk.to/ADCGNNE
Melody composer: Jet (at Kong)
Prod. Chi Hung
Mix/Master: Trac Ngoc Linh
ADCGNNE AnhDechCanGiNhieuNgoaiEm Den Vu ThanhDong
Director: Ong Dong \u0026 Ba Huong
Cinematographer: Anh Doan
Producer: Linh Vu
Gaffer: Ha Hoang
Production Assistant: Tra Myy, Fank
Camera Assistant: Tan No, Maico
Talent: Ha Hoang, Maico, Link
Script Writer: Wildelp
MUA \u0026 Hair: Tuu Tuu
Stylist: Mikami Morito
Costume: CBC
Editer: Daniel
Colorgrading: Lucy Wong
Behind The Senes: Liu Chen
Camera \u0026 Lighting Equipment: Cine Hanoi
Engsub by giginius_
Follow Jet (at Kong):
/facebook: https://www.facebook.com/odaycaikong
Follow Vũ. :
/facebook: https://www.facebook.com/hoangthaivuofficial
/youtube: https://www.youtube.com/channel/UCePWSQHSdXqzQlzyJfwY1Jg
/instagram: https://www.instagram.com/toilavu/
follow Đen:
/instagram: https://www.instagram.com/den.vau/
/youtube : http://www.youtube.com/c/DenVau1305
/spotify: https://spoti.fi/2BAHtnX
/itunes: https://apple.co/2zCT9oQ
/facebook:
//////page: https://www.facebook.com/denvau
////profile: https://www.facebook.com/denvau1305
© 2018 Đen

Đen - Anh Đếch Cần Gì Nhiều Ngoài Em ft. Vũ., Thành Đồng (M/V)

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ deadline คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *