Skip to content
Home » [Update] | please อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

[Update] | please อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

please อ่าน ว่า: คุณกำลังดูกระทู้

การเรียกชื่อแอนไอออน และออกซีแอนไอออน

สรุปการเรียกชื่อของแอนไอออนและออกซีแอนไอออน

1. แอนไอออนลงท้ายด้วย -ide เช่น simple anion ____ide (Chloride,Cl-)

2. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้ 2 ออกซีแอนไอออน ลงท้ายด้วย -ite และ -ate เช่น form with less oxygen _____ite ion (nitrite ion, NO2-) ,form with more oxygen _____ate ion(nitrate ion,NO3-)

3. ถ้าแอนไอออนของธาตุนั้น เกิดได้มากกว่า 2 ออกซีแอนไอออน เช่น hypo___ite,hypochlorite,ClO-___ite,Chlorite,ClO2-_____ate,Chlorate,ClO3-per____ate,perchlorate,ClO4-

การเรียกชื่อสามัญ

การตั้งชื่อสามัญ (Common name) ตั้งขึ้นตามความเหมาะสมของการพบสารนั้น เช่น

Na2SO4เรียกว่า Glauber’s salt ให้เกียรติแก่ J.F.Glauber ซึ่งเป็นผู้ค้นพบ
NH4Cl เรียกว่า sal ammoniac มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน
C6H4(HO)COOCH3(methyl salicylate) เรียกว่า oil of wintergreen
SbCl3เรียกว่า butter of antimony ตามลักษณะทางกายภาพที่พบ

การเรียกชื่อสารอินทรีย์

ในสมัยแรก ๆ ไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอน เนื่องจากมีสารที่พบไม่มากนักจึงมักจะเรียกชื่อตามที่นักเคมีคิดว่าเหมาะสม ซึ่งอาจจะเรียกชื่อตามสิ่งที่พบหรือตามสถานที่พบ ชื่อที่เรียกโดยไม่มีกฎเกณฑ์เหล่านี้ เรียกว่าชื่อสามัญ (common name) ต่อ มาเมื่อมีการค้นพบสารอินทรีย์เพิ่มมากขึ้น การเรียกชื่อสามัญจึงเริ่มมีปัญหาเกิดขึ้นเนื่องจากชื่อสามัญส่วนมากจะไม่มี ส่วนสัมพันธ์กับชนิดของสารหรือไม่มีส่วนสัมพันธ์กับสูตรโครงสร้าง ทำให้ยากแก่การจดจำว่าสารดังกล่าวนั้นเป็นสารประเภทใด มีสูตรโครงสร้างเป็นอย่างไร โดยเฉพาะสารที่มีสูตรโครงสร้างคล้าย ๆ กันหรือที่มีสูตรโครงสร้างซับซ้อนจะเรียกชื่อสามัญไม่ได้

นักเคมีจึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อขึ้นใหม่ให้เป็นระบบเดียวกันว่า ระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry) การเรียกชื่อในระบบ IUPAC นี้มีส่วนสัมพันธ์กับชนิดและสูตรโครงสร้างของสารจึงทำให้ง่ายแก่การจดจำ ซึ่งยังคงใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ 

IUPAC

การเรียกชื่อระบบ IUPAC

เป็นการเรียกชื่อตามระบบสากล มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนจึงทำให้เรียกชื่อสารอินทรีย์ได้ทุกชนิด ทั้งที่เป็นโมเลกุลเล็กและโมเลกุลใหญ่ หรือที่มีโครงสร้างโมเลกุลแบบง่าย และที่ซับซ้อน ซึ่งระบบนี้จะทำให้ทราบชนิดและลักษณะโครงสร้างของสาร เพราะหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารมีความสัมพันธ์กับโครงสร้างสาร

การเรียกชื่อระบบ IUPAC เริ่มต้นในปี ค.ศ. 1892 ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ โดยการประชุมร่วมกันของนักเคมีเพื่อวางกฎเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ ในครั้งแรกเรียกระบบการเรียกชื่อนี้ว่าระบบเจนีวา ต่อมาสหพันธ์นักเคมีระหว่างประเทศ (International Union of Chemistry) ได้เปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เหมาะสมขึ้น ในปี ค.ศ. 1931 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUC และเมื่อมีการค้นพบสารใหม่เพิ่มมากขึ้นจึงได้ปรับปรุงการเรียกชื่อใหม่อีก ครั้งหนึ่งในปี ค.ศ. 1957 และเปลี่ยนชื่อเป็นระบบ IUPAC ดังที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน

หลักเกณฑ์การเรียกชื่อสารอินทรีย์ตามระบบ IUPAC โดยทั่ว ๆ ไปมีหลักดังนี้

1. ชื่อโครงสร้างหลัก เป็นส่วนที่แสดงลักษณะโครงสร้างหลักของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสายตรงยาวที่สุด การเรียกชื่อโครงสร้างหลักจึงเรียกตามจำนวนอะตอมของคาร์บอนที่ต่อกันเป็นสาย ยาวที่สุด

2.คำลงท้าย เป็นส่วนที่เต็มท้ายชื่อโครงสร้างหลัก เพื่อแสดงว่าสารอินทรีย์นั้นเป็นสารประกอบประเภทใด เป็นสารประกอบประเภทอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัว คำลงท้ายจะบอกให้ทราบถึงชนิดของหมู่ฟังก์ชันในโมเลกุล

3.คำนำหน้า เป็นส่วนที่เติมหน้าชื่อของโครงสร้างหลัก เพื่อจะบอกให้ทราบว่าในโครงสร้างหลักมีหมู่ฟังก์ชัน อะตอมหรือกลุ่มอะตอมใดบ้างมาต่ออย่างละกี่หมู่และอยู่ที่ C ตำแหน่งใดในโครงสร้างหลัก การบอกตำแหน่งของส่วนที่มาต่อให้ใช้ตัวเลขน้อยที่สุด (ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของ C ในโครงสร้างหลัก)

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมซ้ำ ๆ กันมาเกาะให้บอกจำนวนโดยใช้ภาษากรีก เช่น di = 2 กลุ่ม, tri = 3 กลุ่ม, tetra = 4 กลุ่ม, penta = 5 กลุ่ม

ถ้าในโครงสร้างหลักมีกลุ่มอะตอมหลายชนิดมาเกาะ ให้เรียกชื่อเรียงลำดับตามอักษรภาษาอังกฤษ

ตัวอย่าง

2-methyl- หมายถึง มี methyl group มาต่อที่ C ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก

3-hydroxy- หมายถึง มี OH มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 ในโครงสร้างหลัก

3-ethyl-2-methyl หมายถึง มี ethyl มาต่อที่ C ตำแหน่ง 3 และ methyl group มาต่อที่ C

ตำแหน่ง 2 ในโครงสร้างหลัก 

การเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

สารประกอบโคเวเลนต์เป็นโมเลกุลของสารที่เกิดจากอะตอมของธาตุตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาสร้างพันธะโคเวเลนต์ต่อกันด้วยสัดส่วนต่าง ๆ กัน ทำให้เป็นการยากในการเรียกชื่อสาร จึงได้มีการตั้งกฎเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ขึ้น เพื่อให้สามารถสื่อความเข้าใจถึงลักษณะโครงสร้างของสารประกอบโคเวเลนต์ได้ ตรงกัน โดยนักวิทยาศาสตร์ได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์ไว้ดังนี้

1. ให้เรียกชื่อของธาตุที่อยู่ข้างหน้าก่อนแล้วตามด้วยชื่อของธาตุที่อยู่ด้านหลังโดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายของธาตุเป็น-ไอด์(-ide) ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

ไฮโดรเจน (H) ออกเสียงเป็น ไฮไดรต์
คาร์บอน (C) ออกเสียงเป็น คาร์ไบด์
ไนโตรเจน (N) ออกเสียงเป็น ไนไตรด์
ฟลูออรีน (F) ออกเสียงเป็น ฟลูออไรด์
คลอรีน (CI) ออกเสียงเป็น คลอไรต์
ออกซิเจน (O)ออกเสียงเป็น ออกไซต์

2. ระบุจำนวนอะตอมของธาตุไว้หน้าชื่อธาตุโดยวิธีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุจะระบุโดยใช้ชื่อตัวเลขในภาษากรีก ดังนี้

1 = มอนอ (mono)
2 = ได (di)
3 = ไตร (tri)
4 = เตตระ (tetra)
5 = เพนตะ (penta)
6 = เฮกซะ (hexa)
7 = เฮปตะ (hepta)
8 = ออกตะ (octa)
9 = โนนะ (nona)
10 = เดคะ (deca)

แต่มีข้อยกเว้น คือ ไม่ต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุที่อยู่ด้านหน้าในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้าน หน้ามีอยู่เพียงอะตอมเดียว และไม่จำเป็นต้องมีการระบุจำนวนอะตอมของธาตุในกรณีที่ธาตุที่อยู่ด้านหน้า เป็นธาตุไฮโดรเจน ไม่ว่าจะมีกี่อะตอมก็ตาม

ตัวอย่างการเรียกชื่อสารประกอบโคเวเลนต์

N2O5Nเรียกว่า ไดโนโตรเจนเพนตะออกไซด์
N2Oเรียกว่า ไดโนโตรเจนมอนอกไซด์
CCI4เรียกว่าคาร์บอนเตตระคลอไรด์
SO2เรียกว่าซัลเฟอร์ไดออกไซด์
COเรียกว่า คาร์บอนมอนนอกไซด์
CO2เรียกว่า คาร์บอนไดออกไซด์
H2Sเรียกว่า ไฮโดรเจนซัลไฟด์

การเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก

สูตรและการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

เนื่องจากสารประกอบไอออนิกมีลักษณะการสร้างพันธะต่อเนื่องกันเป็นผลึก ไม่ได้อยู่ในลักษณะของโมเลกุลเหมือนในสารประกอบโคเวเลนต์ ดังนั้นสารประกอบไอออนิกจึงไม่มีสูตรโมเลกุลที่แท้จริง แต่จะมีการเขียนสูตรเพื่อแสดงอัตราส่วนอย่างต่ำของจำนวนธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ เช่น โซเดียมคลอไรด์ เกิดจากอะตอมของธาตุโซเดียม (Na) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม และอะตอมของธาตุคลอรีน (Cl) อย่างน้อยที่สุด 1 อะตอม จึงสามารถเขียนสูตรได้เป็น NaCl โดยการเขียนสูตรของสารประกอบไอออนิกจะเขียนนำด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนบวก ก่อน จากนั้นจึงเขียนตามด้วยธาตุที่เกิดเป็นไอออนลบตามลำดับ

วิธีการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกให้อ่านตามลำดับของธาตุที่เขียนในสูตร คือ เริ่มจากธาตุแรกซึ่งเกิดเป็นไอออนบวก (ธาตุโลหะ) แล้วตามด้วยธาตุหลังซึ่งเป็นไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) ดังนี้

1. เริ่มจากอ่านชื่อไอออนบวก (ธาตุโลหะ) ก่อน

2. อ่านชื่อธาตุไอออนลบ (ธาตุอโลหะ) โดยเปลี่ยนเสียงสุดท้ายเป็น -ไอด์ (-ide) ดังตัวอย่างเช่น

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์
MgO อ่านว่า แมกนีเซียมออกไซด์
Al2O3อ่านว่า อะลูมิเนียมออกไซด์

3. หากไอออนลบมีลักษณะเป็นกลุ่มธาตุ จะมีชื่อเรียกเฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น No3-เรียกว่า ไนเดรต, CO32-เรียกว่า คาร์บอเนต, SO42-เรียกว่า ซัลเฟต OH-เรียกว่า ไฮดรอกไซด์ เป็นต้น ดังตัวอย่างเช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอเนต
Na2SO4อ่านว่า โซเดียมซัลเฟต

การอ่านชื่อสารประกอบไอออนิก

1. สารประกอบธาตุคู่ ถ้าสารประกอบเกิดจาก ธาตุโลหะที่มีไอออนได้ชนิดเดียวรวมกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวก แล้วตามด้วยชื่อธาตุอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่น

อออซิเจน เปลี่ยนเป็น ออกไซด์ (oxide)

ไฮโดรเจน เปลี่ยนเป็น ไฮไดรด์ (hydride)

คลอรีน เปลี่ยนเป็น คลอไรด์ (chloride)
ไอโอดีน เปลี่ยนเป็น ไอโอไดด์ (iodide)

ตัวอย่างการอ่านชื่อสารประกอบไอออนิกธาตุคู่

NaCl อ่านว่า โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloridr)
CaI2อ่านว่า แคลเซียมไอโอไดด์ (Calcium iodide)

KBr อ่านว่า โพแทสเซียมโบรไมด์ (Potascium bromide)
CaCl2อ่านว่า แคลเซียมคลอไรด์ (Calcium chloride)

ถ้าสารประกอบที่เกิดจากธาตุโลหะเดีนวกันที่มีไอออนได้หลายชนิด รวมตัวกับอโลหะ ให้อ่านชื่อโลหะที่เป็นไอออนบวกแล้วตามด้วยค่าประจุของไอออนของโลหะโดยวงเล็บเป็นเลขโรมัน แล้วตามด้วยอโลหะที่เป็นไอออนลบ โดยเปลี่ยนเสียงพยางค์ท้ายเป็น ไอด์ (ide) เช่นFe เกิดไอออนได้ 2 ชนิดคือ Fe 2+ และ Fe 3+และCu เกิดอิออนได้ 2 ชนิดคือ Cu + และ Cu 2+สารประกอบที่เกิดขึ้นและการอ่านชื่อ ดังนี้

FeCl2อ่านว่า ไอร์ออน (II) คลอไรด์ ( Iron (II) chloride )
CuS อ่านว่า คอปเปอร์ (I) ซัลไฟด์ ( Cupper (I) sunfide )

FeCl3อ่านว่า ไอร์ออน(III) คลอไรด์ ( Iron (III) chloride )
Cu2S อ่านว่า คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ( Copper (II) sunfide )

2. สารประกอบธาตุสามหรือมากกว่าถ้าสารประกอบเกิดจากไอออนบวกของโลหะ หรือกลุ่มไอออนบวกรวมตัวกับกลุ่มไอออนลบ ให้อ่านชื่อไอออนบวกของโลหะหรือชื่อกลุ่มไอออนบวก แล้วตามด้วยกลุ่มไอออนลบ เช่น

CaCO3อ่านว่า แคลเซียมคาร์บอนเนต (Calcium carbonatX
KNO3อ่านว่า โพแทสเซียมไนเตรต (Potascium nitrae)

Ba(OH)2อ่านว่า แบเรียมไฮดรอกไซด์ (Barium hydroxide)
(NH4)3PO4อ่านว่า แอมโมเนียมฟอสเฟต (Ammomium pospate)

การเรียกชื่อสารประกอบเชิงซ้อน

หลักการเรียกชื่อสารเชิงซ้อนและไอออนเชิงซ้อน
RULES FOR NAMING COORDINATION COMPLEXES

  • เรียกชื่อของไอออนบวกก่อนไอออนลบ
  • เรียกชื่อลิแกนด์ก่อนชื่อของโลหะในไอออนเชิงซ้อนที่เกิดพันธะโคออร์ดิเนต
  • ใช้ตัวเลขภาษากรีกระบุจำนวน mono-, di-, tri-, tetra-, penta-, hexa-, ในการใช้ระบุจำนวนลิแกนด์เมื่อลิแกนด์โดยมีความสัมพันธ์อย่างง่าย และใช้คำอุปสรรคในภาษากรีก bis-, tris-, and tetrakis- กับลิแกนด์ที่มีความซับซ้อน
  • ชื่อของลิแกนด์ในไอออนลบจะลงท้ายด้วย o, เช่น fluoro (F-), chloro (Cl-), bromo (Br-), iodo (I-), oxo (O2-), hydroxo (OH-), และ cyano (CN-)
  • มีลิแกนดด์เป็นกลางจำนวนเล็กน้อยใช้ชื่อสามัญ เช่น น้ำ ใช้ aquo (H2O), แอมโมเนีย ใช้ ammine (NH3), และคาร์บอนิล ใช้ carbonyl (CO)
  • การเรียงลำดับของลิแกนด์ให้เรียงลำดับดังนี้: ไอออนลบ โมเลกุลที่เป็นกลาง ไอออนบวก สำหรับลิแกนด์ที่มีประจุเหมือนกันให้เรียงลำดับตามตัวอักษรในภาษาอังกฤษ
  • ระบุเลขออกซิเดชันของอะตอมโลหะแทรนซิชันเป็นตัวเลขโรมันอักษรตัวใหญ่ตามหลังอะตอมโลหะ
  • ชื่อของไอออนเชิงซ้อนลบจะลงท้ายด้วย –

    ate

    เช่น Co(SCN)42-, อ่านว่า tetrathiocyanatocobaltate(II) ion เมื่อสัญลักษณ์ของโลหะแทรนซิชันมาจากภาษาละติน ให้ลงท้ายชื่อโลหะ ให้ลงท้ายชื่อด้วย

    -ate

    เช่น

    Fe

    ในไออนเชิงซ้อนลบ

    คำในภาษาละตินคือ

    ferrum

    ชื่อของ

    Fe

    จึงเป็น

    ferrate

    และของทองแดง

    Cu

    จึงเป็น

    cuprate

  • ชื่อของโลหะแทรนซิซันในไอออนเชิงซ้อนบวก ให้อ่านเป็นภาษาอังกฤษตากปกติ และต้องระบุเลขออกซิเดชันด้วย

[Update] การอ่านเลขยกกำลังเป็นภาษาอังกฤษ ฉบับปฐมฤกษ์ | please อ่าน ว่า – NATAVIGUIDES

บทความบทแรกของผมวันนี้ ผมจะมาอธิบายวิธีอ่านเลขยกกำลังกันครับ เผื่อว่าจะมีใครหลงเข้ามาอ่านไปประดับความรู้

หรือครูที่สอนวิชาคณิตศาสตร์อยู่แล้ว อยากลองอ่านเลขยกกำลังให้ถูกวิธีแบบฝรั่งเขาอ่านกันครับ ผมได้วิธีการอ่านนี้มา

จากฝรั่งคนหนึ่งที่ผมไปอบรมการสอนเป็นภาษาอังกฤษครับ อยู่จังหวัดเพชรบูรณ์เมื่อต้นเดือนเมษายน ปี 2556 และผมก็

ได้ศึกษาจาก wikipedia ด้วย การอ่านจะเป็นยังไงนั้นไปดูกันเลยครับ
$$a^n$$ นั้น a เรียกว่าฐาน(base) ส่วน n เรียกว่าเลขชี้กำลัง (exponent or index or power)
$$a^n$$ (a ยกกำลัง n) นั้นอ่านได้หลายแบบครับ คือ

  1. a raised to the power of n (เอ เรสดึ ทู เดอะ เพาเวอร์ ออฟ เอ็น)
  2. a raised to the n-th power (เอ เรสดึ ทู เดอะ เอ็น เพาเวอร์)
  3. a raised by the exponent of n (เอ เรสดึ บาย เดอะ เอ๊กซ์โพเน้นท์ ออฟ เอ็น)
  4. a to the n (เอ ทู เดอะ เอ็น)

สามวิธีแรกจะเหมือนกันแต่ยาวทั้งนั้น วิธีที่สี่เป็นแบบสั้นๆ ละคำว่า raise ในฐานที่เข้าใจหรือเรียนกันไปนานๆแล้วนะครับ

นอกจากนี้ยังมีการออกเสียงเฉพาะของเลขยกกำลังบางตัว ที่พบบ่อยคือ
$$a^2$$ อ่านว่า a squared (เอ สแควร์) หรือ a raised to the power of two
$$a^3$$ อ่านว่า a cubed (เอ คิว) a raised to the power of three

นอกจากนี้แล้วเรายังสามารถอ่านเลขชี้กำลังเป็นแบบระบบ ordinal numbers
1    st    first
2    nd    second
3    rd    third
4    th    fourth
….
เช่น $$a^2$$ อ่านว่า a to the second (ละเว้นคำว่า raised ได้)
$$2^3$$ อ่านว่า two to the third (หรือจะอ่านว่า two to the three)
$$3^{10}$$ อ่านว่า three to the tenth (หรือจะอ่าน three to the ten)

สรุปเราสามารถอ่านได้ทั้ง cardinal และ ordinal ครับสำหรับเลขชี้กำลังครับ

คำศัพท์ที่น่าสนใจในบทความนี้คือคำว่า raise แปลตรงตัวว่า ยก มาดูตัวอย่างประโยคที่ใช้คำนี้กันครับ
Would all those in favour please raise their hands?
He raised the window and leaned out.
Mary Quant was the first fashion designer to raise hemlines.

นอกจากนี้เรายังใช้คำนี้ในห้องเรียนได้อีกด้วยครับ เช่นเราอยากให้นักเรียนยกมือตอบเวลาเราถาม เราก็พูดว่า
Who want to try? raise your hand please. (ใครต้องการตอบ กรุณายกมือขึ้น)

เป็นยังไงบ้างครับกับบทความเกี่ยวกับคณิตเป็นอังกฤษของผมฉบับปฐมฤกษ์ อย่าลืมติดตามบทความต่อๆไปนะครับ ผมจะ

สรรหาสิ่งดีๆมาฝากกันอีก กับ math2english is easy.

 

อ้างอิง : http://en.wikipedia.org/wiki/Exponentiation

 



Taylor Swift – Lover


Official music video by Taylor Swift performing “Lover” – off her new album ‘Lover.’ Stream/Download the album here: https://TaylorSwift.lnk.to/Loversu
►Subscribe to Taylor Swift on YouTube: https://ts.lnk.to/subscribe
►Exclusive Merch: https://store.taylorswift.com
►Follow Taylor Swift Online
Instagram: http://www.instagram.com/taylorswift
Facebook: http://www.facebook.com/taylorswift
Tumblr: http://taylorswift.tumblr.com
Twitter: http://www.twitter.com/taylorswift13
Website: http://www.taylorswift.com
►Follow Taylor Nation Online
Instagram: http://www.instagram.com/taylornation
Tumblr: http://taylornation.tumblr.com
Twitter: http://www.twitter.com/taylornation13
Director: Drew Kirsch \u0026 Taylor Swift
Producers: Tara Razavi \u0026 Megan Gutman for Happy Place, Inc.
© 2019 Taylor Swift
Official “Lover” Lyrics
Written by Taylor Swift
We could leave the Christmas lights up
‘Til January
This is our place, we make the rules
And there’s a dazzling haze
A mysterious way about you, dear
Have I known you 20 seconds or 20 years?
Can I go where you go?
Can we always be this close?
Forever and ever
Take me out
And take me home
You’re my, my, my, my…
Lover
We could let our friends crash
In the living room
This is our place, we make the call
And I’m highly suspicious
That everyone who sees you wants you
I’ve loved you 3 summers now, honey
But I want them all
Chorus
Ladies and gentlemen
Will you please stand
With every guitar string scar on my hand
I take this magnetic force of a man
To be my lover
My heart’s been borrowed
And yours has been blue
All’s well that ends well
To end up with you
Swear to be overdramatic and true
To my lover
And you’ll save all your dirtiest jokes
For me
And at every table, I’ll save you a seat
Lover…
Can I go where you go?
Can we always be this close?
Forever and ever
Take me out
And take me home
You’re my, my, my, my…
Oh you’re my, my, my, my…
Darling you’re my, my, my, my…
Lover
© 2019 Sony/ATV Tree Publishing / Taylor Swift Music (BMI). All Rights Reserved. Used By Permission
Music video by Taylor Swift performing Lover. © 2019 Taylor Swift
http://vevo.ly/NeGo5O

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

Taylor Swift - Lover

(Eng Sub)แม่กาเหว่า3 ช่วยชีวิตลูกหมาไว้แต่เจ้าของมาทวงคืน | เจไจ๋แปนฟิล์ม (J Jai Pan)


แม่กาเหว่าเอาลูกตัวเองให้แม่กาเลี้ยง แม่กาก็เลี้ยงจนโตโดยไม่รู้ว่าไม่ใช่ลูกตัวเอง
เจไจ๋แปนของเสนอหนังสั้นภาคต่อที่มาแรง แม่กาเหว่า3 ไจ่ไจ๋ช่วยชีวิตลูกหมาตกท่อไว้ได้แล้วเอามาเลี้ยงเพื่อรอเจ้าของมารับคืน แต่ยิ่งเลี้ยงก็ยิ่งรัก เมื่อเจ้าของมาจะทำยังไง งานนี้จะซึ้งจะเศร้าแค่ไหน ไปติดตามชมกันเลยคร้าบบ
Watch for more VDOs here
รับชมตอนอื่นๆของแม่กาเหว่าได้ที่นี่
แม่กาเหว่า1 The Cuckoo1 https://www.youtube.com/watch?v=qVSjUdNWTC8
แม่กาเหว่า2 The Cuckoo2 https://www.youtube.com/watch?v=EttRvS7xLDM
แม่กาเหว่า3 The Cuckoo3 https://www.youtube.com/watch?v=VOZ559VusJ0
แม่กาเหว่า4 The Cuckoo4 https://www.youtube.com/watch?v=bWp6znzNQMk
แม่กาเหว่า5 The Cuckoo5 https://www.youtube.com/watch?v=ymLZSW52Gxc
ตอนใหม่ล่าสุด
แม่กาเหว่า6 The Cuckoo6 https://youtu.be/cVZb8zH800
ติดตาม หรือ Subscribeช่อง เจไจ๋แปน ได้ที่ https://www.youtube.com/channel/UCpCg6EHRpvKguAfZNsSFExw
พูดคุยกับแก๊งเจไจ๋แปนได้ที่ Facebook : https://www.facebook.com/JJaiPan/ คร้าบ
▬::: สนใจติดต่อโฆษณาหรือสปอนเซอร์ :::▬
Email : [email protected]
Line : jjaipankids
Facebook : เจไจ๋แปน
IG: เจไจ๋แปน / jjaipan
TikTok: เจไจ๋แปน / jjaipan
เจไจ๋แปน หนังสั้น แม่กาเหว่า

(Eng Sub)แม่กาเหว่า3 ช่วยชีวิตลูกหมาไว้แต่เจ้าของมาทวงคืน | เจไจ๋แปนฟิล์ม (J Jai Pan)

【MV Full】โดดดิด่ง Ost. ไทบ้าน x BNK48 จากใจผู้สาวคนนี้ / BNK48


『โดดดิด่ง Ost. ไทบ้าน x BNK48 จากใจผู้สาวคนนี้』
Lyrics: Yui Manasak
Producer: Jiny Phuthai
Executive Producer: Mr.Pong Thibaan the series
BNK48 Members
Natruja Chutiwansopon (Kaew), Warattaya Deesomlert (Kaimook), Pimrapat Phadungwatanachol (Mobile), Milin Dokthian (Namneung), Pichayapa Natha (Namsai), Kanteera Wadcharathadsanakul (Noey), Jiradapa Intajak (Pupe), Isarapa Thawatpakdee (Tarwaan)
BNK48 Official Facebook :\r
www.facebook.com/bnk48official\r
\r
BNK48 Official Twitter :\r
www.twitter.com/bnk48official\r
\r
BNK48 Official Instagram :\r
www.instagram.com/bnk48\r
\r
BNK48 Official Website :\r
www.bnk48.com

【MV Full】โดดดิด่ง Ost. ไทบ้าน x BNK48 จากใจผู้สาวคนนี้ / BNK48

มันแปลว่าฮัก – ตรี ชัยณรงค์【LYRIC VIDEO】


เพลง : มันแปลว่าฮัก
ศิลปิน : ตรี ชัยณรงค์
คำร้อง/ทำนอง : สลา คุณวุฒิ
เรียบเรียง : ธีระพงษ์ ศักดิ์แก้ว
ไผว่าโง่ไผว่าบ่เจียมตัว…กะส่าง
ถึงความแตกต่างของอ้ายกับนาง คือฟ้ากับเหว
ถึงเจ้าบ่สนสักนิดที่ผ่านมา สิบ่เอิ้นมันว่าล้มเหลว
เจ้าสิมองว่าดีหรือเลว ก็รู้สึกว่าดีต่อใจ
ขอโอกาสแค่สิทธิ์ดูแลบ่แคร์ว่าสิได้คืนเท่าใด
อาจบ่ดีเท่าเขาหรือใคร แต่ก็อยากให้ เจ้าฮู้ไว้เด้อ…
มันแปลว่ารัก มันแปลว่ามาจากใจ ทุกสิ่งที่อ้ายทำไป
จุดหมายคือเจ้าเสมอ มันแปลว่าใจ รักเจ้าที่สุดเลยเด้อ
สุขก็เจียมเจ็บก็พร้อมเจอ ขอแค่ได้บอกคำนั้น
ถึงยังเป็นคนที่เจ้าบ่เห็น…ความหมาย
ความเป็นไปได้ สิมีเท่าใด บ่กล้าสิฝัน
ถึงสิ่งที่ทำเพื่อเจ้าตลอดมา สิถูกเจ้าเอิ้นมันว่ารำคาญ
ก็หาวิธีทำอยู่อย่างนั้น บ่เคยคิดสิถอดใจ
ก็ขอแค่โอกาสได้ดูแล บ่แคร์ว่าสิได้คืนเท่าใด
อาจบ่ดีเท่าเขาหรือใคร แต่ก็อยากให้ เจ้าฮู้ไว้เด้อ…
มันแปลว่ารัก มันแปลว่ามาจากใจ ทุกสิ่งที่อ้ายทำไป
จุดหมายคือเจ้าเสมอ มันแปลว่าใจ รักเจ้าที่สุดเลยเด้อ
สุขก็เจียมเจ็บก็พร้อมเจอ ขอแค่ได้บอกคำนั้น
เจ็บกี่ครั้ง ก็ยังยืนยัน ทุกสิ่งที่ทำ…มันแปลว่ารัก
มันแปลว่าฮัก ตรีชัยณรงค์ แกรมมี่โกลด์
grammygold grammygoldofficial

❤︎ ติดตามอัพเดทผลงานศิลปิน Grammy Gold ได้ที่
Line@ : http://bit.ly/LineGold
IG : Grammygold_Official
YouTube : http://bit.ly/GrammyGoldOfficial
Twitter : http://bit.ly/TwitGold
Facebook : http://bit.ly/FBgmmGold
☎ ติดต่องานจ้างศิลปิน แกรมมี่โกลด์ โทร.0854847345

มันแปลว่าฮัก - ตรี ชัยณรงค์【LYRIC VIDEO】

[ENG SUB] รุมระทึก!!! ทั้งรัง พรานบุญสมบูรณ์ช่วยด้วย! ภัยใกล้ตัวต่อบุกบ้าน!! | SUPER100


อัจฉริยะนักล่าต่อ ฉายา “พรานบุญ” ท้าภารกิจตะลุยป่าลึกหารังต่อ!!
นายสมบูรณ์ ใจเกี๋ยง (สมบูรณ์) อายุ 52 ปี จากบ้านสันปู่ย่า อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย อาชีพหาของป่า
และยูทูปเบอร์สายหาของป่า เจ้าของช่อง somboon jaikiang ที่มีคนติดตามกว่า 1.23 แสนกว่าคน!!
เจ้าของฉายา “พรานบุญ” ที่ได้มาจากการประกอบอาชีพสุดเสี่ยงอย่างการตีรังต่อ เพื่อนำตัวอ่อนมาขาย
จนชาวบ้านได้ให้ฉายานี้กับลุงสมบูรณ์ ซึ่งเป็นทักษะจากรุ่นสู่รุ่นเพราะต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในการปีน
ต้นไม้ ความสูงที่ต้องขึ้นไปตีรังอยู่ที่40 – 50เมตรเป็นอย่างน้อย แต่มืออาชีพขนาดไหนภัยจากต่อก็ต้องระวัง!!
เพราะขนาดลุงสมบูรณ์เองก็เคยพลาด ลุงเล่าว่าโดนรุมต่อย 40 กว่าตัว อาการตอนนั้นลุงสมบูรณ์รู้สึกจุก แน่น
โชคดีที่ลุงสมบูรณ์รู้จักวิธีรับมือและรอดมาได้อย่างปลอดภัย
วันนี้ลุงสมบูรณ์จะมาสาธิตวิธีการรับมือกับต่อ หากเกิดมีต่อมาทำรังที่บ้านจะต้องรับมืออย่างไร?
และพาชมวิถีชีวิตขั้นตอนการทำงานในการล่าต่ออาน ที่มีรังใหญ่ที่สุด! โหดที่สุด! มีพิษแรง!
ปิดท้ายด้วยวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นหากโดนต่อต่อยต้องทำอย่างไร มาติดตามชมกันค่ะ!!
มาร่วมลุ้นและเป็นกำลังใจให้ลุงสมบูรณ์ทำภารกิจสำเร็จกันนะคะทุกคน
เวทีสร้างแรงบันดาลใจ จากอัจฉริยะทุกวัย
The Stage of Inspiration from The Genius of all ages.
รายการวาไรตี้สำหรับทุกคนในครอบครัว
เวทีสร้างฝันและส่งต่อแรงบันดาลใจ ที่เปิดโอกาสให้กับอัจฉริยะทุกวัย
Super 100 อัจฉริยะเกินร้อย ทุกวันอาทิตย์ เวลา 17.00 18.00 น.
ติดตามข่าวสารได้ที่ Facebook : https://www.facebook.com/Super100tv
Super100 Superjeew เราสามคนให้ผ่าน

[ENG SUB] รุมระทึก!!! ทั้งรัง พรานบุญสมบูรณ์ช่วยด้วย! ภัยใกล้ตัวต่อบุกบ้าน!! | SUPER100

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ please อ่าน ว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *