Skip to content
Home » [Update] participial phrase | participle แปลว่า – NATAVIGUIDES

[Update] participial phrase | participle แปลว่า – NATAVIGUIDES

participle แปลว่า: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

participial phrase  

 

ใช้ขยายความเพื่อบอกการกระทำ หรือการถูกกระทำของคำนาม ดูเหมือนจะยากแต่ที่จริงง่ายมากๆ เลยค่ะ

Participial phrase แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ
1. Present participial phrase  อยู่ในรูป v.ing ใช้บอกว่าคำนามที่มันขยาย เป็นผู้กระทำกริยา เมื่อจะแปลให้ใส่คำว่า “ที่” เข้าไปหน้ากริยานั้นๆ เช่น

The snow covering the surface of this road makes it difficult to drive fast. (หิมะที่ปกคลุมพื้นผิวถนนเส้นนี้ทำให้ยากแก่การขับรถเร็ว)

นามวลีที่ทำหน้าที่เป็นประธานของประโยคนี้ย๊าวยาว ลองใช้ความรู้เก่าจากเล่มที่แล้ว ในการหาคำนามหลักนะคะ เริ่มต้นก็ต้องมองหากริยาแท้ เจอ makes ผันเป็นรูปเอกพจน์ มี this road อยู่ข้างหน้าน่าจะเป็นคำนามหลัก แต่หน้า this road มี of ซึ่งเป็นบุพบท แสดงว่าคำนามหน้าบุพบทต่างหากที่เป็นคำนามหลัก แต่ทว่า! หน้า the surface ดั๊นมี covering เป็น v.ing ดังนั้น ส่วนนี้ก็เป็นแค่ส่วนขยายอีก คำนามหลักตัวจริงจึงเป็น the snow ที่อยู่หน้าสุดนั่นเอง

2. Past participial phrase อยู่ในรูป v.3 ใช้บอกว่าคำนามที่มันขยาย เป็นผู้ถูกกระทำกริยา เมื่อจะแปลให้ใส่คำว่า “ที่ถูก” เข้าไปหน้ากริยานั้นๆ เช่น

Parents are worrying about their kids bombarded with porn. (บรรดาพ่อแม่กำลังเป็นห่วงลูกๆที่ถูกรุมเร้าด้วยสื่อลามก)

นามวลีที่ทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยคของเรา คือ kids (เด็กๆ) ถูกขยายข้างหน้าด้วย their กลายเป็น “เด็กๆ ของพวกเขา” พวกเขาที่อ้างถึงคือ parents (พ่อแม่) ดังนั้น “เด็กๆของพ่อแม่” ก็คือ “ลูกๆ” นั่นเอง ด้านหลังของ kids ถูกขยายด้วย past participial phrase เพื่อบอกว่าลูกๆ ถูกทำอะไร

อย่างที่เห็นนะคะ participial phrase ดูไปก็เหมือนกริยาพร้อมด้วยกรรมและส่วนขยายกริยาอีกชุดหนึ่งเต็มๆ เพียงแต่มันมาเป็นวลีลอยๆ เสริมเข้ามาในประโยคที่เค้ามีกริยาแท้แล้ว การจะแปลก็ง่ายๆ ถ้าเป็น v.ing ก็แปลว่าคำนามนั้นเป็นผู้กระทำ ถ้าเป็น v.3 ก็แปลว่าคำนามนั้นเป็นผู้ถูกกระทำ อย่าไปคิดให้ซับซ้อนกว่านี้นะคะ ปัญหาความสับสนเกี่ยวกับเรื่องนี้ จะไม่เกิดขึ้นแน่นอน ถ้าหากทำตามข้อควรระวังต่อไปนี้     >>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>

1. อย่าผูกโยงหน้าตาของ participial phrase กับ tense  ถ้าเมื่อไหร่เราไปคิดว่า v.ing คือ “กำลังกระทำ” แล้ว v.3 (ซึ่งหลายครั้งเป็นตัวเดียวกับ v.2) เป็นรูปอดีต เมื่อนั้นเราก็จะพาลแปลผิดแปลถูกไปหมด อย่าลืมนะคะ participial phrase ไม่เกี่ยวข้องกับกาลเวลา เป็นเรื่องของผู้กระทำ กับ ผู้ถูกกระทำเท่านั้น
Many people talked about the total lunar eclipses occurring last night with excitement. (คนมากมายพูดถึงเรื่องจันทรุปราคาเต็มดวงที่เกิดขึ้นเมื่อคืนนี้ด้วยความตื่นเต้น)

occurring บอกสภาวะ “ผู้กระทำ” ไม่ได้บอกว่า “กำลังกระทำ” เพราะเห็นๆ อยู่ว่าเหตุการณ์มันเกิดขึ้นไปตั้งแต่เมื่อคืนแล้ว

A cat chased by a big dog is running through our kitchen! (แมวตัวหนึ่งที่ถูกหมาไล่ตามกำลังวิ่งทะลุครัวของเรา!)

Chased บอกสภาวะ  “ผู้ถูกกระทำ” ไม่ได้บอกว่าทำในอดีต เพราะเหตุการณ์นี้ “กำลังเกิดขื้น” อยู่ขณะที่พูด สังเกตได้จากกริยาแท้ ที่อยู่ในรูป present continuous

2. อย่าคิดว่า participial phrase เป็นกริยาแท้ (แม้หลายๆ ครั้งมันจะดูเหมือนกริยาแท้มากก็ตาม) มันเป็นแค่ส่วนขยายเท่านั้น

“Sabbatum” is a tribute album like no other – 12 Black Sabbath classic songs played by early music band Rondellus and sung in Latin language. (“ซับบาทัม” เป็นอัลบั้มทริบิวต์ที่ไม่เหมือนอัลบั้มไหนๆ ประกอบด้วยเพลงอมตะของแบล็ค ซับบาธที่ถูกเล่นโดยวงดนตรียุคแรกๆ อย่างรอนเดลลัสและถูกขับร้องเป็นภาษาละติน)

ประโยคนี้ดูน่าตกใจซักนิด แต่ที่จริงมันง่ายมากเลย (อีกแล้ว) ล่ะค่ะ กริยาแท้ของเราคือ is ประธานคือ  “Sabbatum” ถ้าไม่รู้ว่ามันคืออะไรก็ดูส่วนเติมเต็มหลัง is คำตอบก็คือ มันเป็นอัลบั้มทริบิวต์ (อัลบั้มที่เอาเพลงเก่ามาเล่นใหม่ร้องใหม่ โดยศิลปินที่มีความศรัทธาในเจ้าของบทเพลง และจัดทำอัลบั้มเพื่อเป็นการเคารพศิลปินต้นแบบ) ส่วนขยายของมันคือ like no other แปลตรงตัวว่า “เหมือนไม่มีอันอื่น” อาจจะงง ลองยก no อันนี้ มาไว้ข้างหน้า  like ซิ กลายเป็น no/not like other (ไม่เหมือนอันอื่น) ดูรู้เรื่องกว่าเยอะใช่ไหมคะ ลองจำวิธีการนี้ไปใช้นะคะ ถ้าเจอคำที่มีความหมายปฏิเสธ อยู่ในที่ที่เราดูแล้วงุนงง ลองจับสลับที่ไปมาดู อาจจะทำให้เรื่องยากกลายเป็นเรื่องหมูๆ ไปเลยก็ได้ ประโยคหลักของเรา จบเพียงแค่นี้ หลังจากนั้นก็มี “-” โผล่เข้ามาเพื่อบอกว่า “จะมีข้อมูลเพิ่มเติมนะจ๊ะ” ข้อมูลนั้นมาเป็นนามวลีเดี่ยวๆ ไม่มีกริยาแท้เลย คำว่า played (หน้าตาเหมือนกริยาแท้ในรูปอดีต (ช่อง2) เลย) เป็น past participle บ่งบอกอาการถูกกระทำ ที่รู้ก็เพราะว่ามันถูกตามหลังด้วย by (ถูกเล่นโดย…) หลังจากนั้นมันยังถูกเชื่อมกับ sung ด้วย “and” ซึ่งบ่งบอกว่าสถานะของทั้ง played และ sung ต้องเท่ากัน sung เป็น v.3 ของ v. to sing อยู่แล้ว played จึงต้องเป็น v.3 เช่นกัน ทำให้เรายิ่งมั่นใจได้ว่า วลีที่ตามหลัง 12 Black Sabbath classic songs เป็น past participial phrase ไม่ใช่กริยาแท้ ถ้าหากเราดูผิดไปคิดว่า played เป็นกริยาแท้ปุ๊บ ความหมายก็จะผิดพลาดกันไปหมด แถมเมื่อมาเจอคำว่า sung เป็น v.3 ก็ยิ่งงงซ้ำซ้อนไปกันใหญ่

3. ต่อเนื่องมาจากข้อที่ 2 ความสับสนระหว่างกริยาแท้ กับส่วนขยาย ทำให้เราพลอยสับสนว่าอะไรเป็นประธานอะไรเป็นกรรมกันแน่ อย่าลืมนะคะ ประธานและกรรมสามารถถูกขยายในฐานะผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำก็ได้ ไม่ใช่ว่าประธานต้องขยายด้วย v.ing แล้วกรรมต้องถูกขยายด้วย v.3 เสมอไป ขึ้นอยู่กับความหมายที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อ ทั้งนี้ทั้งนั้น ตำแหน่งหน้าที่ของมันในประโยคก็ยังเป็นเหมือนเดิม

The president, asked by reporters if he would resign, leaved without any answer. (ประธานาธิบดีที่ถูกนักข่าวถามว่าจะลาออกหรือไม่ จากไปโดยปราศจากคำตอบใดๆ)

the president เป็นประธานของประโยค แต่มันถูกขยายด้วย asked ในฐานะผู้ถูกกระทำ (ถูกถาม) จากนั้นมันก็ทำหน้าที่ประธานของกริยา leaved ต่อไป

Please call the girl lingering over there. (ช่วยเรียกเด็กผู้หญิงที่เอ้อระเหยอยู่ตรงนั้นให้ที)

ประโยคนี้เป็นประโยคคำสั่ง มันจึงไม่มีประธาน กริยาแท้คือ call กรรมคือ the girl ซึ่งถูกขยายด้วย lingering ในฐานะผู้กระทำ (เอ้อระเหย)

4. บางครั้ง participial phrase ไม่ได้ห้อยแต่งตามท้ายคำนามที่มันขยาย (ส่วนใหญ่จะมาโผล่อยู่ต้นประโยคแบบไม่รู้ที่มาที่ไป) ให้หาคำนามหลักให้เจอก่อน แล้วเริ่มแปลจากตัวคำนามหลักนั้น วิธีการหาคำนามหลัก ก็ต้องไล่ตามมาจากกริยาแท้อย่างที่เคยทำกันในฉบับที่แล้ว

Working with this company for decades, the old man on the third floor has never got promoted. (ตาแก่ชั้นสามที่ทำงานที่นี่มาหลายสิบปีแล้ว ไม่เคยได้เลื่อนตำแหน่งเลย)

ถึงแม้ว่า the third floor อยู่หน้ากริยาแท้ แต่ข้างหน้ามันมีบุพบท on ดังนั้น คำนามหลักจริงๆ ก็คือ man (ซึ่งถูกขยายข้างหน้าด้วย adjective “old” เป็น the old man) เราก็ต้องเริ่มแปลที่คำว่า “ตาแก่” ก่อน แล้วค่อยย้อนมาแปล present participial phrase ที่อยู่ต้นประโยค พอแปลเสร็จค่อยย้อนกลับไปอ่านว่า ตาแก่คนนี้ คนที่ทำงานที่นี่มาหลายปีดีดัก เค้าทำกริยาอะไร

บางทีอะไรๆ มันก็ไม่ได้ยากอย่างที่เราคิด ลองสังเกตที่ comma นะคะ มันช่วยคั่นความคิดให้เราอย่างดีเลยล่ะ

Nicknamed the ‘wisest fool in Christendom’, James had already been King of Scotland for thirty-six years when he inherited the English throne from Elizabeth. (กษัตริย์เจมส์ผู้ถูกขนานนามว่า ‘คนโง่ที่ฉลาดที่สุดในบรรดาชาวคริสต์’ ทรงเป็นกษัตริย์ของสก็อตแลนด์มา 36 ปีแล้ว ตอนที่พระองค์สืบทอดราชบังลังก์อังกฤษจากราชินีอลิซาเบ็ธ)

เห็น comma ที่อยู่หลัง past participial phrase ต้นประโยคไหมคะ นั่นล่ะค่ะ ตัวแบ่งความคิดของเรา ส่วนใหญ่ประธานที่ถูกขยายด้วย participial phrase แล้ว มักจะไม่มีคำคุณศัพท์มาขยายข้างหน้ามากมายเท่าไหร่ เราจึงเกือบๆ จะมั่นใจได้ว่า คำนามที่อยู่ข้างหลัง comma ก็คือคำนามหลัก ซึ่งเป็นประธานของประโยคนั่นเอง

ย้ำอีกที present เป็นฝ่ายรุก (active) – past เป็นฝ่ายรับ (passive) จดจำแค่นี้ ทุกคนก็จะสามารถอ่านและแปลประโยคในบทความที่เขียนขยายด้วย participial phrase ทั้ง 2 แบบได้อย่างถูกต้องแน่นอนค่ะ

images by free.in.th

ขอขอบคุณข้อมูลจาก

/h2>

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…

[NEW] เทคนิคทำข้อสอบ GRAMMAR : The Participles | participle แปลว่า – NATAVIGUIDES

Participle

เรื่องนี้ออกสอบเยอะมากๆๆๆๆ บ่อยมากๆๆๆ โดยเฉพาะ ข้อสอบ ERROR ทั้งใน GAT O-NET ออกทุกปี แต่เชื่อว่าหลายคนคงสงสัย และก็งงเรื่องนี้กันอยู่ เพราะถือว่าเป็นเรื่องปราบเซียนเหมือนกัน

ส่วนมากก็จะแยกไม่ออก เพราะ ing กับ V3 ในภาษาอังกฤษเนี่ย ใช้ได้หลายหน้าที่ แปลได้หลายความหมาย

…แต่จริงๆแล้ว เรื่องนี้ถ้าเข้าใจหลัก ก็จะไม่ค่อยยากแล้วน้าาา บางทีแปลความหมายไม่ออก ก็ยังทำได้เลย….

ถ้าให้แนะนำวิธี สำหรับคนที่คิดว่าไม่ค่อยเข้าใจ หรือ ทำ error ไม่ค่อยได้ ลองดูวิธีตามนี้นะคะ ลองอ่านดู ใช้เวลาไม่นาน แต่น่าจะเข้าใจ 100% 

>> วิธีที่1 / แบบที่1

:

ปกติแล้ว 1 ประโยค (1 ประธาน ไม่มีคำเชื่อมใดๆ) ก็จะมีกริยาได้ 1 ตัว ถ้าเราดูผ่านๆ แล้ว เห็น กริยา 2 ที่ ประโยคนั้น ERROR ! แน่ๆ

        * ถ้ารู้ว่าตัวไหนเป็น Verb ให้ดูว่า ระหว่าง Verb 2 ตัว มีคำมาเชื่อมมั๊ย หรือมี relative pronoun พวก that / which/ who … รึเปล่า        

                                                        (ผิด)

ประธาน…plays……is…

                                                       

(ผิด)

ประธาน…go……can..

                                                       

(ถูก)

ประธาน….is..

“and”

.

..wants

                                                       

(ถูก)

ประธาน….is..

“that”

…is

                                                       

(ถูก)

ประธาน….are.

.

“where”

…wants

                                                       

(ถูก)

ประธาน

“that” / “who”

.

…is…..”,”wants

          EX1.

The baby

is

laughing happily

is

playing with her toys.

                   อ่านผ่านๆ จะเหมือนเข้าใจว่าเด็กหัวเราะเพราะว่ากำลังเล่นของเล่น แต่จริงๆ ผิด เพราะ ประโยคนี้ต้องมีใจความเดียว ระหว่างกริยา 2 ตัวไม่มีคำใดเชื่อมเลย แต่ประโยคจะถูก ทันที ถ้ามีคำเชื่อมตัวใดตัวนึง เช่น

            – The baby,

 who

is

laughing happily, 

is

playing with her toys.

            – The baby

is

playing

with her toys

and

 

she

is laughing

happily

           

EX2. 

The Paparazzi have been around (1) for more than 20 years, (2) but the business has grown in recent years (3)as there are now more magazines (4) focus on the lives of famous people.

                 

สำหรับข้อนี้เจอกริยาอยู่หลายตัว เรามาดูไปทีละคู่นะคะ

                 

– ระหว่าง

have ……. has

– ตรงนี้มีคำว่า but มาคั่น ถ้าเชคเรื่องความสอดคล้องกับประธานแล้ว ก็ถือว่าผ่าน (ประธานเอกพจน์/พหูพจน์ Paparazzi ถือว่าเป็นพหูพจน์นะจ๊ะ)

                 

– ระหว่าง

has ……. are

– มี as เป็นตัว เชื่อม

                 

– ระหว่าง

are ……. focus

– ไม่มีอะไรมาคั่น ข้อนี้เลยตอบ (4) focus

———————————————————————————————————————-

>> วิธีที่2 / แบบที่2 :

 

ถ้าประโยคมีกริยาไปแล้ว เจอ , แต่ หลัง , ไม่ใช่ Ving / V3 ผิดเลย! หรือบางที เป็น Ving / V3 แล้ว ก็ให้เชคอีกทีว่าประธานทำเอง หรือถูกกระทำ ถึงประโยคยาวแค่ไหน หรือ แปลไม่ออก ยังไง ก็อาจจะหาคำตอบได้ ^__^

                     ” , ” ที่ควรส่งสัย คือ      

 

–  S+V…… ,___________

                                 

                        –  S ,_____________, V

                     แต่ถ้าเป็น ,…,….,…. etc. แบบพวกยกตัวอย่าง จะไม่ถือเป็นเรื่องนี้นะคะ 555!

           

 

EX1.

This hotel (1) with a glass courtyard (2) is a modern interpretaion (3) of the siheyuan, (4) locate near the East Gate of the Forbidden City.

           

          

ตัวเลือกที่ 4 ตอนนี้ ผิดแน่ๆ ต้องเป็น Ving หรือไม่ก็ V3 เพราะ อยู่หลัง , และ ประโยคข้างหน้า มี is ไปแล้ว 

– ถ้าอยากแก้ ก็ดูว่าประธานทำเอง หรือ ถูกกระทำ

           

 

EX2.

The old building, (1) abandoning for a newer facility, was a war zone–a ruin of (2)overturned desks, textbooks, (3) TVs and other (4) equipment that could have been re-used.

           

          

ข้อนี้สังเกตเห็น

,_____________,

มั๊ยคะ นอก ,__, มีกริยาแล้ว ทีนี้ abandon แปลว่า ละทิ้ง เรามาดูว่าประธานคืออะไร ทิ้งเอง หรือถูกทิ้ง – – – – The old building ตึก ต้องถูกทิ้งเนาะ ! -ข้อนี้เลยตอบ (1) แล้วแก้เป็น abandoned  * หลายคนไปตอบข้อ 4 อาจจะนึกว่าตามหลัง other ควรจะเป็นนามพหูพจน์ “นั่นก็ถูก” แต่ว่า equipment เป็นนามนับไม่ได้ เลยไม่ต้องเติม s

———————————————————————————————————————-

>> วิธีที่3 / แบบที่3 :

 

จะเป็น participle ที่นำหน้าคำนามเลย แบบนี้ดูไม่ยากนะคะ ส่วนมากก็ ถ้าคำนามถูกกระทำจะเป็น V3 แต่จำไว้ว่า ไม่ใช่ทุกครั้งที่นามที่เป็นสัตว์ สิ่งของ จะใช้ V3

                 

– broken car                         

– overturned desk

                 

– boiling water                     

– burning building

                 

– sleeping student               

– working group

———————————————————————————————————————-

* พอเข้าใจขึ้นมั๊ย ยังไงลอกทำโจทย์ดูนะคะ แล้ว รอติดตาม Quick Tips สำหรับ GRAMMAR
เรื่องอื่นๆต่อไปนะคะ 

#grammarunlocker #GAT #เทคนิค #ทำข้อสอบ#error #participle

ลองฝึกทำดูค่ะ


1. This (1) historical novel, (2)was written in Tamil, (3) tells the story of Arulmozhivarman, one of (4)the kings of the Chola Dynasty


2.My grandparents celebrated (1) their fiftieth wedding anniversary (2) at a mountain resort (3) where all guests (4) inviting could go skiing.


3. A (1) three-month-old baby in the back seat of a (2)steal car (3)was (4)found safe and sound Sunday night


สอนเรื่อง Present Participle and Past Participle (สาระล้วนๆ) มีประโยชน์


Hilight!
เปิดแล้วคอร์สติว TOEIC Level up สำหรับคนที่อยากเพิ่มคะแนน TOEIC ให้ถึงเป้า
update แนวข้อสอบแบบใหม่ดูรายละเอียดได้ทาง
https://www.englishleklek.tv/courses/newtoeic_reading_online/

Note !
อย่าลืมมา join group ติวโจทย์ TOEIC แบบใหม่ของพี่เล็กกันได้ที่
https://www.facebook.com/groups/531233361052037/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สอนเรื่อง Present Participle and Past Participle (สาระล้วนๆ) มีประโยชน์

Past Participle Verbs


Past Participle Verbs

Past Tense Verbs VS Past Participles | EasyTeaching


Learn the difference between the past tense form of verbs and past participles. This video also looks at how to form and use present participles.
Find more resources at https://easyteaching.net

Past Tense Verbs VS Past Participles | EasyTeaching

100 Most Common English Irregular Verbs – List Of Irregular Verbs In English


100 Most common English irregular verbs, list of irregular verbs in English.
This is a list of Irregular Verbs. I will read the base form, the simple past tense (past simple) and the past participle of the verb.
☞ Thanks for watching!
☞ Please share and like if you enjoyed the video 🙂 thanks so much ♥
───────────────────
▶ Please subscribe to update new videos.
Subscribe To Update New Lesson:
https://www.youtube.com/channel/UCV1h_cBE0Drdx19qkTM0WNw?sub_confirmation=1

100 Most Common English Irregular Verbs - List Of Irregular Verbs In English

Participle – Phân Từ Hiện Tại và Quá Khứ | Ngữ Pháp Tiếng Anh Nâng Cao | Câu Phức


Participle (phân từ) là một điểm ngữ pháp khá hay trong tiếng Anh mà chúng ta cần biết để tạo ra những loại câu phức khác nhau. Nó cũng là thứ giúp chúng ta diễn đạt ý tưởng được gãy gọn (concise) hơn. Nếu bạn thi IELTS thì đây là một thứ giúp lấy điểm Task Response trong IELTS Writing Task 1 cũng như Grammatical Range \u0026 Accuracy.

Tóm tắt bài viết:
1/ Tại sao phải học Participle:
_Giúp việc diễn đạt hiệu quả, gãy gọn hơn
_Tăng sự trịnh trọng trong các bài viết cần Formality.
_Tránh sự nhàm chán trong việc diễn đạt ý tưởng.
2/ Làm sao để có một Participle:
_Present Participle (hiện tại phân từ): Verb + ing +(object/adverb nếu muốn): Dùng trong Chủ Động.
_Past Participle (quá khứ phân từ): Verb + ed/V3 + (object/adverb nếu muốn): Dùng trong Bị Động.
3/ Dùng trong câu thế nào:
Khi hai câu có chung Subject (dù là Subordinating Clause hay hai câu đơn), chúng ta có thể rút gọn Subject của một vế phụ. Sau đó:
_Verb thành Ving (present participle) nếu đang chủ động.
_Verb thành Ved/V3 (past participle) nếu đang bị động.
4/ Ví dụ:
_Trong IELTS Writing Task 1:
+The figure increased from 2010 to 2015, rising from 100 to 150.
+The figure increased siginificantly from 2010 to 2015, reaching its peak at 150.
_Trong IELTS Writing Task 2:
+When studying abroad, students have to face with culture shock.
+Although causing many problems, financial problems teach students a lot of things.

Để thuận tiện trong việc theo dõi video, các bạn hãy tìm hiểu thêm về:
_IELTS Writing Task 1 Trend:
https://www.youtube.com/watch?v=NQUqIJ6shPA\u0026list=PLHgeNMVKEjKKOQoDvr1KAxVL0gJuKdVRI
_Subordinating Clause:
https://www.youtube.com/watch?v=VHZ2tbAHR5Y

Hướng Dẫn Các Lộ Trình Học Tiếng Anh:
https://youtu.be/yMuv6H6KQwQ

Có lẽ các bạn cũng sẽ thích:
_Giao Tiếp Tiếng Anh
https://bit.ly/giaotieptienganhtheochude
_English Vocabulary:
http://bit.ly/englishvocabularylearningenglishm
_Ngữ Pháp Tiếng Anh:
https://bit.ly/englishgrammarlearningenglishm
_Tự học IELTS:
https://bit.ly/tuhocieltsonlineyoutube

grammar ngữpháptiếngAnh participlephântừ

Participle - Phân Từ Hiện Tại và Quá Khứ | Ngữ Pháp Tiếng Anh Nâng Cao | Câu Phức

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่MAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ participle แปลว่า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *