Skip to content
Home » [Update] How to เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็ม | อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน – NATAVIGUIDES

[Update] How to เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็ม | อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน – NATAVIGUIDES

อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน: คุณกำลังดูกระทู้

How to เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็ม

รีวิวการเตรียมสอบ+ประสบการณ์การสอบจากนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็มจำนวน โครงการ YFU แบบเนื้อหาอัดแน่น การไปแลกเปลี่ยนดีจริงหรือเปล่า? สนใจแต่ไม่มีเงินทำอย่างไร?  
 
                             
                              สวัสดีค่ะเพื่อนๆบอร์ดเรียนต่อนอก ตอนนี้ก็วนกลับมากันอีกครั้งแล้วนะคะ สำหรับการรับสมัครนักเรียนแลกเปลี่ยนของโครงการต่างๆ ซึ่งแน่นอนว่าในเวลาแบบนี้คงมีคนรู้สึกใจแป้วอยู่แน่ๆเลยใช่ไหมล่ะคะ ก็การไปแลกเปลี่ยนนั้นใช้เงินมหาศาลเลยล่ะ บางบ้านพ่อแม่อยากสนับสนุนแต่กลับไม่มีกำลังทรัพย์ซะนี่ บางบ้านพร้อมแต่ก็อย่างว่าเนอะ เราก็อยากแบ่งเบาภาระกันใช่ไหมล่ะคะ ไม่เป็นไรค่ะ! เพราะวันนี้เรานำทริคการเตรียมตัวสอบทุนเต็มจำนวนของโครงการ YFU  มาฝากกันค่ะ!
                           
                                 เราเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนของปี 2019-2020 นี้เองค่ะ (ไปประเทศฮังการีค่ะ) หมายความว่า เราสอบตั้งแต่เมื่อปี 2018 ค่ะ และเนื่องจากบล็อกนี้เป็นบล็อกแรกของเรา หากมีจุดไหนบกพร่องก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ จะพยายามปรับปรุงสำหรับครั้งต่อไปนะคะ ถ้ายังอยากติดตามอ่านน่ะนะคะ (ฮา)
ทุนเต็มจำนวนสำหรับการไปแลกเปลี่ยนเนี่ย จริงๆแล้วมีทุกโครงการเลยนะ ไม่เฉพาะ YFU แต่ขึ้นชื่อว่าทุนเต็มจำนวน ก็รู้ได้เลยนะคะว่ายากแน่ๆ และรับน้อยมากๆด้วยค่ะ แต่ก็ใช่ว่าเราจะทำไม่ได้นะคะ! ลองก่อนไม่เสียหายน้า อย่าพึ่งกลัวกันไปก่อนน้า ใดๆก็หวังว่าบล็อกนี้จะช่วยทุกคนได้ไม่มากก็น้อยนะคะ

ทุนเต็มจำนวนโครงการ YFU
                             
                             ทุนนี้เป็นทุนที่สงวนไว้ให้โรงเรียนในเครือ สพฐ. เท่านั้นนะคะ และเพราะว่าเป็นทุนเต็ม เราจึงไม่สามารถเลือกได้ทุกประเทศ จะได้แค่ 4 ประเทศเท่านั้นเอง ซึ่งในปีของเรา มี ประเทศญี่ปุ่น ฮังการี อาร์เจนติน่า แล้วก็ ปารากวัยค่ะ จากที่เราสอบถามมาดูเหมือนว่าประเทศที่ให้เลือกจะมีการเปลี่ยนแปลงในทุกๆปีนะคะ ฉะนั้นลองศึกษาข้อมูลกันดูก่อนน้า
                               
                               ตอนเราสมัครต้องระบุให้เรียบร้อยนะคะว่าต้องการไปประเทศไหน และแน่นอนค่ะ เค้ารับแค่ประเทศละคนเท่านั้น (เศร้ามาก) เวลาเราไปสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ เราก็จะแข่งเฉพาะกับคนที่อยากไปประเทศเดียวกันกับเราค่ะ และประเทศที่คนเลือกกันเยอะมากกกกก นั่นก็คือ ญี่ปุ่นนั่นเองค่ะ

การสมัคร
                               
                               สมัครที่โรงเรียนในพื้นที่ที่มีศูนย์ YFU ค่ะ สำหรับเรา โรงเรียนเรามีคุณครูที่ดูแลเรื่องนี้อยู่แล้ว เราเลยสมัครที่โรงเรียนเราเลยค่ะ (เราเรียนอยู่หาดใหญ่วิทยาลัย ขอเสียงเด็กหาดใหญ่หน่อย5555)
แต่สำหรับโรงเรียนไหนที่ไม่มีคุณครูตัวแทนให้ลองสอบถามไปทางเว็บเพจ ไม่ก็ลองสอบถามคุณครูที่โรงเรียนดูก็ได้ค่ะว่าศูนย์ YFU ในพื้นที่อยู่ที่ไหน
                               
                               หลังจากสมัครกับโรงเรียนแล้ว ทางโรงเรียนจะคัดเลือกนักเรียนมา 3 คน เพื่อไปสอบข้อเขียนที่กรุงเทพค่ะ ซึ่งวิธีการคัดเลือกนี่ก็ขึ้นอยู่กับโรงเรียนเลยค่ะ อาจจะมีการให้ทำข้อสอบ หรืออาจจะแค่สัมภาษณ์ หรือไม่ก็ไม่มีใครสมัครเลย เลยต้องส่งคนที่สมัครโดยไม่ต้องคัดเลือก ซึ่งของเราเป็นกรณีสุดท้ายค่ะ ครูโรงเรียนเราขู่เด็กค่ะ ว่ายากมากกกกกกกกก เลยไม่มีใครกล้าสมัครเลย เราก็กลัวค่ะ แต่คิดว่าถ้าลอง มันก็มีโอกาสได้อยู่ อาจจะไม่เยอะแต่ก็มีเยอะกว่าไม่ลองแน่นอน ถ้าได้ก็ดี ไม่ได้ก็ถือว่าไปลองทำข้อสอบดูเล่นๆ

สอบข้อเขียน
                               
                               นักเรียนที่มาสอบก็จะเยอะอยู่นะคะ แต่อย่าพึ่งตกใจไป เพราะไม่ใช่ทุกคนที่จะแข่งกับเรา เฉพาะคนที่เลือกประเทศเดียวกับเราเท่านั้นค่ะ ซึ่งถ้าใครเลือกประเทศที่คนเลือกน้อยๆ นี่บอกได้เลยค่ะว่าพาร์ทนี้หวานหมูเลย แต่เราจะชะล่าใจไม่ได้นะคะ ต้องเตรียมตัวไปดีๆด้วย
                             
                               เมื่อถึงเวลาสอบ (ซึ่งเป็นช่วงเช้าของวันที่ 1) เค้าจะเชิญเราเข้าห้องสอบค่ะ เป็นห้องใหญ่เลย ไม่ว่าจะสมัครประเทศอะไรก็จะอยู่ในห้องนี้ทั้งหมดเลย แต่จะแบ่งเป็นโซนค่ะ ว่าโซนไหนประเทศอะไร (แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด ส่วนนี้อาจจะมีความเปลี่ยนแปลงนะคะ) หลังจากนั้นก็มาแล้วค่ะสิ่งที่น่ากลัวที่สุดในการสอบ ข้อสอบค่ะ ข้อสอบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับข้อสอบ GAT ค่ะ เรื่องเวลาในการทำ เราไม่ค่อยมั่นใจเท่าไหร่ เพราะมันนานมากมาแล้ว แต่ก็น่าจะให้เวลา 60 นาทีเหมือนข้อสอบทั่วไปค่ะ จำนวนข้อไม่เยอะมากแต่ก็ต้องบริหารเวลาดีๆไม่งั้นอาจจะทำไม่ทันได้เหมือนกัน

การเตรียมตัวสำหรับข้อเขียน
                             
                                 เนื่องจากเป็นข้อสอบแนวเดียวกับ GAT ฉะนั้นก็ซื้อหนังสือเตรียมสอบ GAT มาอ่านเลยค่ะ ช่วงแรกๆจะยากหน่อย ทำไม่ค่อยได้ แต่ถ้าทำไปเรื่อยๆ จะจับจุดข้อสอบได้ค่ะ แล้วคะแนนมันจะมาเอง ต้องขยันทำค่ะ ไม่แนะนำให้ซื้อมาเยอะๆนะคะ แต่อยากให้ทำชุดเดิมซ้ำๆไปก่อน ถ้าทำจนจำคำตอบได้แล้วค่อยไปซื้อเล่มอื่นมาทำต่อ ส่วนตัวจะไม่เขียนลงในหนังสือค่ะ แต่จะหาเศษกระดาษมาจดคำตอบแล้วตรวจในเศษกระดาษค่ะ แบบนี้ก็จะได้ไม่ต้องลบรอยดินสอทุกครั้งที่กลับมาทำใหม่ค่ะ ทำข้อสอบวนไปค่ะ
                             
                                สำหรับใครที่ทำเท่าไหร่ๆก็ยังผิด ให้สังเกตตัวเองค่ะว่าผิดตรงไหนบ่อยๆ แล้วลองถามตัวเองว่าทำไมถึงผิด เราเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า ถ้ารู้จุดแล้วก็ลองเปิดหนังสือแกรมม่า หรือ โวแคบดูเลยค่ะ อ่านจนเข้าใจแล้วลองมาทำใหม่
                             
                                สำหรับใครที่พื้นฐานไม่แน่น แนะนำให้เริ่มจากหนังสือเรียนภาษาอังกฤษตอนประถมเลยค่ะ เพราะถ้าเราเริ่มจากพื้นฐานเราจะรู้ทันทีเลยค่ะว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอยู่ และการเข้าใจพื้นฐานอย่างลึกซึ้งจะทำให้เราต่อยอดขึ้นมาในระดับแอดวานซ์ง่ายขึ้นด้วยค่ะ เพราะภาษามันเชื่องโยงกันค่ะ พอเข้าใจแกรมม่า และ โวแคบพื้นฐานและแอดวานซ์เรียบร้อยแล้วก็ลุยโจทย์เลยค่ะ
                               
                               ที่เคยทำและไม่แนะนำสุดๆ ก็คือการต้มหนังสือกินค่ะ ไม่อร่อยแล้วก็ไม่เข้าหัวด้วย แถมยังได้โรคท้องร่วงแถมมาด้วย อีกอย่างที่ไม่แนะนำแต่ถ้าอยากทำก็ทำได้นะคะ คือการลูบหนังสือแล้วเอามาลูบหัว หรือเอาหนังสือวางใต้หมอนตอนนอน ไม่เข้าสมองเลยค่ะ แต่ได้ความอุ่นใจอยู่นะคะ ^_^

                                                                            ส่วนตัวเราใช้เล่มนี้เลยค่ะ                                                                           

ส่วนตัวเราใช้เล่มนี้เลยค่ะ

สอบสัมภาษณ์
                               
                               จากเด็ก 100-200 คน อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าแล้วแต่ประเทศ ก็จะถูกคัดเลือกให้เหลือเพียง 10 คนในแต่ละประเทศ (มี 4 ประเทศ ก็ 40 คน) แต่ก็อาจจะมีไม่ครบ 10 คนได้เหมือนกันนะคะ อย่างในปีเราค่ะ เด็กที่เลือกปารากวัยได้สัมภาษณ์แค่ คนเดียวเองค่ะ ซึ่งก็ไม่ทราบได้เหมือนกันว่าเพราะเลือกคนเดียว หรือคนที่เหลือไม่ผ่านเกณฑ์ โดยเค้าจะโทรหาคนที่ผ่านการคัดเลือกในช่วงบ่ายของวัน เพื่อเตรียมตัวไปสอบสัมภาษณ์ในช่วงเช้า หรือช่วงบ่ายของวันถัดไปค่ะ
                             
                               จากการสังเกตของตัวเราเอง ซึ่งเราก็ไม่รู้นะคะว่าจริงหรือเปล่า ดูเหมือนเค้าจะจัดเด็กต่างจังหวัด และเด็กเตรียมอุดมไว้ช่วงเช้าของวัน ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นเด็กกรุงเทพโรงเรียนอื่นค่ะ เพราะเราได้เห็นใบลงทะเบียนของทั้งภาคเช้าและภาคบ่าย ภาคบ่ายจะไม่มีเด็กต่างจังหวัดเลยค่ะ ส่วนเหตุผลที่เค้าจัดเด็กเตรียมมาภาคเช้าด้วยก็น่าจะเพราะว่าเด็กเตรียมทุกคนที่มาสอบ กลับไปเรียนตอนช่วงบ่ายทุกคนเลยค่ะ เรายังตกใจเลยค่ะ เพราถ้าเป็นเราคงไปเดินเล่นอยู่สยามแล้วแน่ๆ (ฮา)
                             
                              กลับมาที่เรื่องสอบค่ะ ลงทะเบียนเสร็จ เด็กนักเรียนและผู้ปกครองจะได้เข้าไปนั่งคุยกับหัวหน้าโครงการครู่นึง (จำไม่ได้แล้วค่ะว่าเรื่องอะไร) หลังจากนั้นก็จะแยกเด็กไปห้องเก็บตัวค่ะ ในระหว่างนี้ก็จะถูกเรียกไปสัมภาษณ์รันไปตามคิวเลยค่ะ จะแบ่งเป็น 20 20 ค่ะ ฉะนั้นเราจะได้มีโอกาสเจอเด็กที่สมัครทุกประเทศเลยค่ะ ในระหว่างรอเรียก แนะนำว่าให้คุยกับเพื่อนที่นั่งรออยู่เหมือนกัน ไม่งั้นบรรยากาศจะเครียดค่ะ ปีเรา เราทำความรู้จักทุกคนเลย ได้เพื่อนใหม่เพียบ ถือเป็นข้อดีของการมาสอบแบบนี้อีกข้อนึงค่ะ เนื่องจากทุกคนมีความตั้งใจเดียวกัน มีเหตุผลคล้ายคลึงกันว่าทำไมอยากไปแลกเปลี่ยน ทำให้หาเรื่องคุยไม่ยากเลยค่ะ ลองเริ่มจากถามเพื่อนข้างๆก่อนก็ได้ว่าเพื่อนสมัครประเทศอะไร
                             
                               เมื่อถึงคิวเรานะคะ ซึ่งจะมีพี่เค้ามาเรียกตลอดนะคะ เราก็จัดการตัวเองให้เรียบร้อยค่ะ ดูว่าแต่งตัวเรียบร้อยแล้วยัง หลังจากนั้นก็เคาะประตูห้องสัมภาษณ์แล้วก็เปิดเข้าไปเลยค่ะ การสัมภาษณ์จะมี 2 ช่วงค่ะ ช่วงภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค่ะ จะเริ่มด้วยการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษค่ะ หลังจากนั้นจะมีการถามคำถามเป็นภาษาอังกฤษเล็กน้อยเพื่อดูความเข้าใจค่ะ ก่อนจะถามคำถามส่วนใหญ่เป็นภาษาไทยเพื่อดูทัศนคติค่ะ ไม่จำเป็นต้องพูดอังกฤษได้ดีค่ะ แค่สื่อสารได้ รู้เรื่องก็พอแล้วค่ะ ยิ่งถ้าได้ภาษาของประเทศที่เราเลือกด้วยแล้วเนี่ย ยิ่งดีเลยค่ะ

                             จากที่เราได้บอกไปก่อนหน้านี้ว่ามีคนมาสัมภาษณ์ปารากวัยคนเดียว ทุกคนคงคิดว่าโชคดีจังได้เลยแน่ๆ ตอนนั้นเรากับทุกคนในห้องก็คิดอย่างงั้นเหมือนกันค่ะ แต่ว่าทุกอย่างเกิดขึ้นได้ค่ะ มีการโยกย้ายเด็กที่เลือกอาร์เจนติน่าคนนึงไปแทน ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ใช่ว่ามันจะเกิดขึ้นตลอดนะคะ เพียงแต่อยากให้ทราบไว้ว่าต่อให้เราเป็นเพียงคนเดียวที่ได้สัมภาษณ์เราก็ต้องทำให้ดีที่สุดค่ะ เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้จริงๆ

เตรียมสอบสัมภาษณ์
                               
                               สิ่งที่เราทำบ่อยๆเลยนะคะคือการพูดกับตัวเองหน้ากระจกค่ะ โดยเราก็จะลองสวมบทบาทตัวเองเป็นกรรมการ แล้วคิดว่าถ้าเราเป็นกรรมการจะถามคำถามอะไรบ้าง หลังจากนั้นก็พยายามตอบคำถามพวกนั้นค่ะ แต่ไม่แนะนำให้จำคำตอบนะคะ แค่คิดไปก่อนเป็นแนวก็พอ แล้วก็ไม่ควรประดิษฐ์คำพูดให้สวยหรูค่ะ ควรตอบให้เป็นตัวเองและตามความคิดตัวเองที่สุด
                               
                                 สิ่งนึงที่ต้องเตรียมไปค่ะ คือการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษ คนที่เลือกประเทศที่ใช้ภาษาของตัวเอง ก็อาจจะลองแนะนำตัวเป็นภาษานั้นๆซัก 2 ประโยค แล้วก็แปลเป็นภาษาอังกฤษ เช่น เราต้องการมาประเทศไทยเราก็อาจจะทำแบบนี้

รีวิวการเตรียมสอบ+ประสบการณ์การสอบจากนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็มจำนวน โครงการ YFU แบบเนื้อหาอัดแน่น การไปแลกเปลี่ยนดีจริงหรือเปล่า? สนใจแต่ไม่มีเงินทำอย่างไร?สวัสดีค่ะเพื่อนๆบอร์ดเรียนต่อนอก ตอนนี้ก็วนกลับมากันอีกครั้งแล้วนะคะ สำหรับการรับสมัครนักเรียนแลกเปลี่ยนของโครงการต่างๆ ซึ่งแน่นอนว่าในเวลาแบบนี้คงมีคนรู้สึกใจแป้วอยู่แน่ๆเลยใช่ไหมล่ะคะ ก็การไปแลกเปลี่ยนนั้นใช้เงินมหาศาลเลยล่ะ บางบ้านพ่อแม่อยากสนับสนุนแต่กลับไม่มีกำลังทรัพย์ซะนี่ บางบ้านพร้อมแต่ก็อย่างว่าเนอะ เราก็อยากแบ่งเบาภาระกันใช่ไหมล่ะคะ ไม่เป็นไรค่ะ! เพราะวันนี้เรานำทริคการเตรียมตัวสอบทุนเต็มจำนวนของโครงการ YFU มาฝากกันค่ะ!เราเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนของปี 2019-2020 นี้เองค่ะ (ไปประเทศฮังการีค่ะ) หมายความว่า เราสอบตั้งแต่เมื่อปี 2018 ค่ะ และเนื่องจากบล็อกนี้เป็นบล็อกแรกของเรา หากมีจุดไหนบกพร่องก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ จะพยายามปรับปรุงสำหรับครั้งต่อไปนะคะ ถ้ายังอยากติดตามอ่านน่ะนะคะ (ฮา)ทุนเต็มจำนวนสำหรับการไปแลกเปลี่ยนเนี่ย จริงๆแล้วมีทุกโครงการเลยนะ ไม่เฉพาะ YFU แต่ขึ้นชื่อว่าทุนเต็มจำนวน ก็รู้ได้เลยนะคะว่ายากแน่ๆ และรับน้อยมากๆด้วยค่ะ แต่ก็ใช่ว่าเราจะทำไม่ได้นะคะ! ลองก่อนไม่เสียหายน้า อย่าพึ่งกลัวกันไปก่อนน้า ใดๆก็หวังว่าบล็อกนี้จะช่วยทุกคนได้ไม่มากก็น้อยนะคะทุนนี้เป็นทุนที่สงวนไว้ให้โรงเรียนในเครือ สพฐ. เท่านั้นนะคะ และเพราะว่าเป็นทุนเต็ม เราจึงไม่สามารถเลือกได้ทุกประเทศ จะได้แค่ 4 ประเทศเท่านั้นเอง ซึ่งในปีของเรา มี ประเทศญี่ปุ่น ฮังการี อาร์เจนติน่า แล้วก็ ปารากวัยค่ะ จากที่เราสอบถามมาดูเหมือนว่าประเทศที่ให้เลือกจะมีการเปลี่ยนแปลงในทุกๆปีนะคะ ฉะนั้นลองศึกษาข้อมูลกันดูก่อนน้าตอนเราสมัครต้องระบุให้เรียบร้อยนะคะว่าต้องการไปประเทศไหน และแน่นอนค่ะ เค้ารับแค่ประเทศละคนเท่านั้น (เศร้ามาก) เวลาเราไปสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ เราก็จะแข่งเฉพาะกับคนที่อยากไปประเทศเดียวกันกับเราค่ะ และประเทศที่คนเลือกกันเยอะมากกกกก นั่นก็คือ ญี่ปุ่นนั่นเองค่ะสมัครที่โรงเรียนในพื้นที่ที่มีศูนย์ YFU ค่ะ สำหรับเรา โรงเรียนเรามีคุณครูที่ดูแลเรื่องนี้อยู่แล้ว เราเลยสมัครที่โรงเรียนเราเลยค่ะ (เราเรียนอยู่หาดใหญ่วิทยาลัย ขอเสียงเด็กหาดใหญ่หน่อย5555)แต่สำหรับโรงเรียนไหนที่ไม่มีคุณครูตัวแทนให้ลองสอบถามไปทางเว็บเพจ ไม่ก็ลองสอบถามคุณครูที่โรงเรียนดูก็ได้ค่ะว่าศูนย์ YFU ในพื้นที่อยู่ที่ไหนหลังจากสมัครกับโรงเรียนแล้ว ทางโรงเรียนจะคัดเลือกนักเรียนมา 3 คน เพื่อไปสอบข้อเขียนที่กรุงเทพค่ะ ซึ่งวิธีการคัดเลือกนี่ก็ขึ้นอยู่กับโรงเรียนเลยค่ะ อาจจะมีการให้ทำข้อสอบ หรืออาจจะแค่สัมภาษณ์ หรือไม่ก็ไม่มีใครสมัครเลย เลยต้องส่งคนที่สมัครโดยไม่ต้องคัดเลือก ซึ่งของเราเป็นกรณีสุดท้ายค่ะ ครูโรงเรียนเราขู่เด็กค่ะ ว่ายากมากกกกกกกกก เลยไม่มีใครกล้าสมัครเลย เราก็กลัวค่ะ แต่คิดว่าถ้าลอง มันก็มีโอกาสได้อยู่ อาจจะไม่เยอะแต่ก็มีเยอะกว่าไม่ลองแน่นอน ถ้าได้ก็ดี ไม่ได้ก็ถือว่าไปลองทำข้อสอบดูเล่นๆนักเรียนที่มาสอบก็จะเยอะอยู่นะคะ แต่อย่าพึ่งตกใจไป เพราะไม่ใช่ทุกคนที่จะแข่งกับเรา เฉพาะคนที่เลือกประเทศเดียวกับเราเท่านั้นค่ะ ซึ่งถ้าใครเลือกประเทศที่คนเลือกน้อยๆ นี่บอกได้เลยค่ะว่าพาร์ทนี้หวานหมูเลย แต่เราจะชะล่าใจไม่ได้นะคะ ต้องเตรียมตัวไปดีๆด้วยเมื่อถึงเวลาสอบ (ซึ่งเป็นช่วงเช้าของวันที่ 1) เค้าจะเชิญเราเข้าห้องสอบค่ะ เป็นห้องใหญ่เลย ไม่ว่าจะสมัครประเทศอะไรก็จะอยู่ในห้องนี้ทั้งหมดเลย แต่จะแบ่งเป็นโซนค่ะ ว่าโซนไหนประเทศอะไร (แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด ส่วนนี้อาจจะมีความเปลี่ยนแปลงนะคะ) หลังจากนั้นก็มาแล้วค่ะสิ่งที่น่ากลัวที่สุดในการสอบ ข้อสอบค่ะ ข้อสอบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับข้อสอบค่ะ เรื่องเวลาในการทำ เราไม่ค่อยมั่นใจเท่าไหร่ เพราะมันนานมากมาแล้ว แต่ก็น่าจะให้เวลา 60 นาทีเหมือนข้อสอบทั่วไปค่ะ จำนวนข้อไม่เยอะมากแต่ก็ต้องบริหารเวลาดีๆไม่งั้นอาจจะทำไม่ทันได้เหมือนกันเนื่องจากเป็นข้อสอบแนวเดียวกับ GAT ฉะนั้นก็ซื้อหนังสือเตรียมสอบ GAT มาอ่านเลยค่ะ ช่วงแรกๆจะยากหน่อย ทำไม่ค่อยได้ แต่ถ้าทำไปเรื่อยๆ จะจับจุดข้อสอบได้ค่ะ แล้วคะแนนมันจะมาเอง ต้องขยันทำค่ะ ไม่แนะนำให้ซื้อมาเยอะๆนะคะ แต่อยากให้ทำชุดเดิมซ้ำๆไปก่อน ถ้าทำจนจำคำตอบได้แล้วค่อยไปซื้อเล่มอื่นมาทำต่อ ส่วนตัวจะไม่เขียนลงในหนังสือค่ะ แต่จะหาเศษกระดาษมาจดคำตอบแล้วตรวจในเศษกระดาษค่ะ แบบนี้ก็จะได้ไม่ต้องลบรอยดินสอทุกครั้งที่กลับมาทำใหม่ค่ะ ทำข้อสอบวนไปค่ะสำหรับใครที่ทำเท่าไหร่ๆก็ยังผิด ให้สังเกตตัวเองค่ะว่าผิดตรงไหนบ่อยๆ แล้วลองถามตัวเองว่าทำไมถึงผิด เราเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า ถ้ารู้จุดแล้วก็ลองเปิดหนังสือแกรมม่า หรือ โวแคบดูเลยค่ะ อ่านจนเข้าใจแล้วลองมาทำใหม่สำหรับใครที่พื้นฐานไม่แน่น แนะนำให้เริ่มจากหนังสือเรียนภาษาอังกฤษตอนประถมเลยค่ะ เพราะถ้าเราเริ่มจากพื้นฐานเราจะรู้ทันทีเลยค่ะว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอยู่ และการเข้าใจพื้นฐานอย่างลึกซึ้งจะทำให้เราต่อยอดขึ้นมาในระดับแอดวานซ์ง่ายขึ้นด้วยค่ะ เพราะภาษามันเชื่องโยงกันค่ะ พอเข้าใจแกรมม่า และ โวแคบพื้นฐานและแอดวานซ์เรียบร้อยแล้วก็ลุยโจทย์เลยค่ะที่เคยทำและไม่แนะนำสุดๆ ก็คือการต้มหนังสือกินค่ะ ไม่อร่อยแล้วก็ไม่เข้าหัวด้วย แถมยังได้โรคท้องร่วงแถมมาด้วย อีกอย่างที่ไม่แนะนำแต่ถ้าอยากทำก็ทำได้นะคะ คือการลูบหนังสือแล้วเอามาลูบหัว หรือเอาหนังสือวางใต้หมอนตอนนอน ไม่เข้าสมองเลยค่ะ แต่ได้ความอุ่นใจอยู่นะคะ ^_^จากเด็ก 100-200 คน อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าแล้วแต่ประเทศ ก็จะถูกคัดเลือกให้เหลือเพียง 10 คนในแต่ละประเทศ (มี 4 ประเทศ ก็ 40 คน) แต่ก็อาจจะมีไม่ครบ 10 คนได้เหมือนกันนะคะ อย่างในปีเราค่ะ เด็กที่เลือกปารากวัยได้สัมภาษณ์แค่ คนเดียวเองค่ะ ซึ่งก็ไม่ทราบได้เหมือนกันว่าเพราะเลือกคนเดียว หรือคนที่เหลือไม่ผ่านเกณฑ์ โดยเค้าจะโทรหาคนที่ผ่านการคัดเลือกในช่วงบ่ายของวัน เพื่อเตรียมตัวไปสอบสัมภาษณ์ในช่วงเช้า หรือช่วงบ่ายของวันถัดไปค่ะจากการสังเกตของตัวเราเอง ซึ่งเราก็ไม่รู้นะคะว่าจริงหรือเปล่า ดูเหมือนเค้าจะจัดเด็กต่างจังหวัด และเด็กเตรียมอุดมไว้ช่วงเช้าของวัน ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นเด็กกรุงเทพโรงเรียนอื่นค่ะ เพราะเราได้เห็นใบลงทะเบียนของทั้งภาคเช้าและภาคบ่าย ภาคบ่ายจะไม่มีเด็กต่างจังหวัดเลยค่ะ ส่วนเหตุผลที่เค้าจัดเด็กเตรียมมาภาคเช้าด้วยก็น่าจะเพราะว่าเด็กเตรียมทุกคนที่มาสอบ กลับไปเรียนตอนช่วงบ่ายทุกคนเลยค่ะ เรายังตกใจเลยค่ะ เพราถ้าเป็นเราคงไปเดินเล่นอยู่สยามแล้วแน่ๆ (ฮา)กลับมาที่เรื่องสอบค่ะ ลงทะเบียนเสร็จ เด็กนักเรียนและผู้ปกครองจะได้เข้าไปนั่งคุยกับหัวหน้าโครงการครู่นึง (จำไม่ได้แล้วค่ะว่าเรื่องอะไร) หลังจากนั้นก็จะแยกเด็กไปห้องเก็บตัวค่ะ ในระหว่างนี้ก็จะถูกเรียกไปสัมภาษณ์รันไปตามคิวเลยค่ะ จะแบ่งเป็น 20 20 ค่ะ ฉะนั้นเราจะได้มีโอกาสเจอเด็กที่สมัครทุกประเทศเลยค่ะ ในระหว่างรอเรียก แนะนำว่าให้คุยกับเพื่อนที่นั่งรออยู่เหมือนกัน ไม่งั้นบรรยากาศจะเครียดค่ะ ปีเรา เราทำความรู้จักทุกคนเลย ได้เพื่อนใหม่เพียบ ถือเป็นข้อดีของการมาสอบแบบนี้อีกข้อนึงค่ะ เนื่องจากทุกคนมีความตั้งใจเดียวกัน มีเหตุผลคล้ายคลึงกันว่าทำไมอยากไปแลกเปลี่ยน ทำให้หาเรื่องคุยไม่ยากเลยค่ะ ลองเริ่มจากถามเพื่อนข้างๆก่อนก็ได้ว่าเพื่อนสมัครประเทศอะไรเมื่อถึงคิวเรานะคะ ซึ่งจะมีพี่เค้ามาเรียกตลอดนะคะ เราก็จัดการตัวเองให้เรียบร้อยค่ะ ดูว่าแต่งตัวเรียบร้อยแล้วยัง หลังจากนั้นก็เคาะประตูห้องสัมภาษณ์แล้วก็เปิดเข้าไปเลยค่ะ การสัมภาษณ์จะมี 2 ช่วงค่ะ ช่วงภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค่ะ จะเริ่มด้วยการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษค่ะ หลังจากนั้นจะมีการถามคำถามเป็นภาษาอังกฤษเล็กน้อยเพื่อดูความเข้าใจค่ะ ก่อนจะถามคำถามส่วนใหญ่เป็นภาษาไทยเพื่อดูทัศนคติค่ะ ไม่จำเป็นต้องพูดอังกฤษได้ดีค่ะ แค่สื่อสารได้ รู้เรื่องก็พอแล้วค่ะ ยิ่งถ้าได้ภาษาของประเทศที่เราเลือกด้วยแล้วเนี่ย ยิ่งดีเลยค่ะจากที่เราได้บอกไปก่อนหน้านี้ว่ามีคนมาสัมภาษณ์ปารากวัยคนเดียว ทุกคนคงคิดว่าโชคดีจังได้เลยแน่ๆ ตอนนั้นเรากับทุกคนในห้องก็คิดอย่างงั้นเหมือนกันค่ะ แต่ว่าทุกอย่างเกิดขึ้นได้ค่ะ มีการโยกย้ายเด็กที่เลือกอาร์เจนติน่าคนนึงไปแทน ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ใช่ว่ามันจะเกิดขึ้นตลอดนะคะ เพียงแต่อยากให้ทราบไว้ว่าต่อให้เราเป็นเพียงคนเดียวที่ได้สัมภาษณ์เราก็ต้องทำให้ดีที่สุดค่ะ เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้จริงๆสิ่งที่เราทำบ่อยๆเลยนะคะคือการพูดกับตัวเองหน้ากระจกค่ะ โดยเราก็จะลองสวมบทบาทตัวเองเป็นกรรมการ แล้วคิดว่าถ้าเราเป็นกรรมการจะถามคำถามอะไรบ้าง หลังจากนั้นก็พยายามตอบคำถามพวกนั้นค่ะ แต่ไม่แนะนำให้จำคำตอบนะคะ แค่คิดไปก่อนเป็นแนวก็พอ แล้วก็ไม่ควรประดิษฐ์คำพูดให้สวยหรูค่ะ ควรตอบให้เป็นตัวเองและตามความคิดตัวเองที่สุดสิ่งนึงที่ต้องเตรียมไปค่ะ คือการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษ คนที่เลือกประเทศที่ใช้ภาษาของตัวเอง ก็อาจจะลองแนะนำตัวเป็นภาษานั้นๆซัก 2 ประโยค แล้วก็แปลเป็นภาษาอังกฤษ เช่น เราต้องการมาประเทศไทยเราก็อาจจะทำแบบนี้

   
“สวัสดีค่ะ ฉันชื่อเอมม่า วัตสัน ฉันอายุ 18 ปี มาจากเมืองลอนดอน ประเทศอังกฤษค่ะ Good Morning. My name is Emma Watson. I am an 18-year-old girl from London, Great Britain.”

                               ถ้าเราเลือกญี่ปุ่นเราก็แทนประโยคภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นเลยค่ะ แต่แทนที่จะบอกว่ามาจากประเทศอะไร ให้บอกว่าเรียนโรงเรียนอะไร ในจังหวัดอะไรดีกว่าค่ะ อย่าลืมแปลที่เราพูดเป็นภาษาอังกฤษด้วยนะคะ เพราะกรรมการไม่เข้าใจภาษานั้นๆค่ะ
                                 
                                 การแนะนำตัวนะคะ ควรจะบอกว่าชื่ออะไร อายุเท่าไหร่ เรียนที่ไหน ชั้นอะไร บอกว่าตัวเองเป็นคนยังไงสั้นๆ แล้วก็เหตุผลที่อยากได้ทุนค่ะ แน่นอนว่าต้องเป็นภาษาอังกฤษนะคะ ลองไปซ้อมให้ออกมาดูธรรมชาติกันดูนะคะ
                               
                                 ส่วนพวกคำถาม (เราเองก็ไม่มั่นใจนะคะ) ก็จะเป็นประมาณ ทำไมอยากไปประเทศที่เราเลือก คิดว่าจะปรับตัวได้ไหม ทำไมอยากได้ทุน แล้วก็คำถามเกี่ยวกับตัวเราเล็กน้อยค่ะ ซึ่งคำถามพวกนี้สามารถมาได้ทั้งในภาษาอังกฤษและภาษาไทยนะคะ เตรียมคำตอบคร่าวๆไว้เผื่อๆทั้งสองภาษาเลยนะคะ

ไปแลกเปลี่ยนดียังไง?
                               
                                  ดีมากค่ะ เราพูดเลย มันทำให้เรารู้เลยจริงๆอ่ะว่าเราเป็นแค่จุดเล็กๆของโลกนี้เองอ่ะ มันมีอะไรให้เราสำรวจ ให้เราไปสัมผัสอีกเยอะมาก มันเปิดกว้างการมองโลกของเรามากๆ เปรียบเทียบให้เห็นภาพ คือเหมือนเราเคยมองว่าโลกแบน แต่เพราะการเดินทางออกมาทำให้เราได้รู้ว่าจริงๆโลกมันกลมอ่ะ
การไปแลกเปลี่ยนทำให้เราได้รู้จักผู้คนมากขึ้น ได้เข้าใจในความแตกต่าง ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ วัฒนธรรมแปลกๆ อาหารที่เราไม่เคยกิน สถาปัตยกรรมแปลกๆแบบที่ไม่เคยเห็น ถ้าไปแถบยุโรปก็เหมือนหลุดไปในเทพนิยายกรีก หรือพวก โรมิโอกับจูเลียตอ่ะ  ในขณะเดียวกันเราก็ได้ทำให้เค้ารู้จักตัวเรา รู้จักวัฒนธรรมบ้านเรา ได้รู้จักอาหารการกินของเรา ทำให้เค้าอยากมาบ้านเรา
                             
                                   ในแง่ของตัวเอง มันทำให้เราโตขึ้นมากๆ ได้เรียนรู้จะอยู่ด้วยตัวเอง แก้ปัญหาด้วยตัวเอง (แน่นอนว่ามีคนช่วยเรา เราไม่ได้อยู่คนเดียว แต่ในเวลาส่วนมากเราก็ต้องตัดสินใจอะไรเอง) ทำให้เราตัดสินอะไรเด็ดขาดขึ้น พึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น ข้อเสียมีอย่างเดียวคือพอกลับมาจะงงนิดหน่อย อย่างที่เป็นกันบ่อยๆคือเรื่องข้ามถนน เด็กนักเรียนแลกเปลี่ยนที่พึ่งกลับมาทุกคนจะต้องท่องไว้ในใจเสมอว่าต้องดูรถ ไม่งั้นตาย ไม่เหมือนที่นู่นที่เค้าจอดให้เราข้าม (ฮา) นอกจากด้านนิสัย ยังมีกิจกรรมเข้าพอร์ตเกร๋ๆด้วย ไม่ใช่แค่เกียตริบัตรแลกเปลี่ยน แต่พวกกิจกรรมที่ไปทำที่นู่นด้วย เพราะไปแลกเปลี่ยนคือได้ทำกิจกรรมเยอะมากจริงๆ

                             
                                      การไปแลกเปลี่ยนมันคือประสบการณ์ชีวิตที่ให้ตายยังไงก็ลืมไม่ลง มีทุกข์บ้างสุขบ้างปนๆกันไปแต่ก็เป็นความทรงจำที่ดีสุดความทรงจำนึงเลย ขอบคุณทุกๆคนที่อ่านมาถึงตรงนี้นะ หวังว่าจะได้ความรู้ไปไม่มากก็น้อย สู้ๆน้าทุกคนที่กำลังพยายามอยู่ ความพยายามไม่เคยทรยศคนที่พยายามจริงๆ ต่อให้เราไม่ได้ทุนนี้ก็อย่าพึ่งหมดหวังน้า อย่างเราก็สอบตั้ง 4 ทุนกว่าจะได้ สิ่งที่เราเตรียมตัวไป ในอนาคตยังไงเราก็ได้ใช้ ไม่เสียเปล่าแน่นอน เพราะฉะนั้น อย่าพึ่งหมดหวังตั้งแต่ยังไม่ทันได้ลองนะ เป็นกำลังใจให้ทุกๆคนค่ะ ^_^
 

 
 
 
ปล. ถ้ามีใครอยากรู้ประสบการณ์การไปแลกเปลี่ยนที่ฮังการี ก็คอมเมนต์บอกกันมานะคะ เราจะได้รู้สึกฮึกเหิมอยากเขียนอีก 55555
ปล.2  ใครอยากรู้สึกไม่อยากอ่านยาวๆ  สามารถไปกดติดตามได้ที่ช่อง Mr.Nothing  ใน YouTube  ได้เลยนะคะ  เป็ฯช่องที่เราเอาไว้ลงวีดีโอเกี่ยวกับการไปแลกเปลี่ยนทั้งหมดเลย   ฝากกดติดตามกันด้วยนะคะ  ^_^

ถ้าเราเลือกญี่ปุ่นเราก็แทนประโยคภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นเลยค่ะ แต่แทนที่จะบอกว่ามาจากประเทศอะไร ให้บอกว่าเรียนโรงเรียนอะไร ในจังหวัดอะไรดีกว่าค่ะ อย่าลืมแปลที่เราพูดเป็นภาษาอังกฤษด้วยนะคะ เพราะกรรมการไม่เข้าใจภาษานั้นๆค่ะการแนะนำตัวนะคะ ควรจะบอกว่าชื่ออะไร อายุเท่าไหร่ เรียนที่ไหน ชั้นอะไร บอกว่าตัวเองเป็นคนยังไงสั้นๆ แล้วก็เหตุผลที่อยากได้ทุนค่ะ แน่นอนว่าต้องเป็นภาษาอังกฤษนะคะ ลองไปซ้อมให้ออกมาดูธรรมชาติกันดูนะคะส่วนพวกคำถาม (เราเองก็ไม่มั่นใจนะคะ) ก็จะเป็นประมาณ ทำไมอยากไปประเทศที่เราเลือก คิดว่าจะปรับตัวได้ไหม ทำไมอยากได้ทุน แล้วก็คำถามเกี่ยวกับตัวเราเล็กน้อยค่ะ ซึ่งคำถามพวกนี้สามารถมาได้ทั้งในภาษาอังกฤษและภาษาไทยนะคะ เตรียมคำตอบคร่าวๆไว้เผื่อๆทั้งสองภาษาเลยนะคะดีมากค่ะ เราพูดเลย มันทำให้เรารู้เลยจริงๆอ่ะว่าเราเป็นแค่จุดเล็กๆของโลกนี้เองอ่ะ มันมีอะไรให้เราสำรวจ ให้เราไปสัมผัสอีกเยอะมาก มันเปิดกว้างการมองโลกของเรามากๆ เปรียบเทียบให้เห็นภาพ คือเหมือนเราเคยมองว่าโลกแบน แต่เพราะการเดินทางออกมาทำให้เราได้รู้ว่าจริงๆโลกมันกลมอ่ะการไปแลกเปลี่ยนทำให้เราได้รู้จักผู้คนมากขึ้น ได้เข้าใจในความแตกต่าง ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ วัฒนธรรมแปลกๆ อาหารที่เราไม่เคยกิน สถาปัตยกรรมแปลกๆแบบที่ไม่เคยเห็น ถ้าไปแถบยุโรปก็เหมือนหลุดไปในเทพนิยายกรีก หรือพวก โรมิโอกับจูเลียตอ่ะ ในขณะเดียวกันเราก็ได้ทำให้เค้ารู้จักตัวเรา รู้จักวัฒนธรรมบ้านเรา ได้รู้จักอาหารการกินของเรา ทำให้เค้าอยากมาบ้านเราในแง่ของตัวเอง มันทำให้เราโตขึ้นมากๆ ได้เรียนรู้จะอยู่ด้วยตัวเอง แก้ปัญหาด้วยตัวเอง (แน่นอนว่ามีคนช่วยเรา เราไม่ได้อยู่คนเดียว แต่ในเวลาส่วนมากเราก็ต้องตัดสินใจอะไรเอง) ทำให้เราตัดสินอะไรเด็ดขาดขึ้น พึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น ข้อเสียมีอย่างเดียวคือพอกลับมาจะงงนิดหน่อย อย่างที่เป็นกันบ่อยๆคือเรื่องข้ามถนน เด็กนักเรียนแลกเปลี่ยนที่พึ่งกลับมาทุกคนจะต้องท่องไว้ในใจเสมอว่าต้องดูรถ ไม่งั้นตาย ไม่เหมือนที่นู่นที่เค้าจอดให้เราข้าม (ฮา) นอกจากด้านนิสัย ยังมีกิจกรรมเข้าพอร์ตเกร๋ๆด้วย ไม่ใช่แค่เกียตริบัตรแลกเปลี่ยน แต่พวกกิจกรรมที่ไปทำที่นู่นด้วย เพราะไปแลกเปลี่ยนคือได้ทำกิจกรรมเยอะมากจริงๆการไปแลกเปลี่ยนมันคือประสบการณ์ชีวิตที่ให้ตายยังไงก็ลืมไม่ลง มีทุกข์บ้างสุขบ้างปนๆกันไปแต่ก็เป็นความทรงจำที่ดีสุดความทรงจำนึงเลย ขอบคุณทุกๆคนที่อ่านมาถึงตรงนี้นะ หวังว่าจะได้ความรู้ไปไม่มากก็น้อย สู้ๆน้าทุกคนที่กำลังพยายามอยู่ ความพยายามไม่เคยทรยศคนที่พยายามจริงๆ ต่อให้เราไม่ได้ทุนนี้ก็อย่าพึ่งหมดหวังน้า อย่างเราก็สอบตั้ง 4 ทุนกว่าจะได้ สิ่งที่เราเตรียมตัวไป ในอนาคตยังไงเราก็ได้ใช้ ไม่เสียเปล่าแน่นอน เพราะฉะนั้น อย่าพึ่งหมดหวังตั้งแต่ยังไม่ทันได้ลองนะ เป็นกำลังใจให้ทุกๆคนค่ะ ^_^ปล. ถ้ามีใครอยากรู้ประสบการณ์การไปแลกเปลี่ยนที่ฮังการี ก็คอมเมนต์บอกกันมานะคะ เราจะได้รู้สึกฮึกเหิมอยากเขียนอีก 55555ปล.2 ใครอยากรู้สึกไม่อยากอ่านยาวๆ สามารถไปกดติดตามได้ที่ช่อง Mr.Nothing ใน YouTube ได้เลยนะคะ เป็ฯช่องที่เราเอาไว้ลงวีดีโอเกี่ยวกับการไปแลกเปลี่ยนทั้งหมดเลย ฝากกดติดตามกันด้วยนะคะ ^_^

[Update] How to เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็ม | อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน – NATAVIGUIDES

How to เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็ม

รีวิวการเตรียมสอบ+ประสบการณ์การสอบจากนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็มจำนวน โครงการ YFU แบบเนื้อหาอัดแน่น การไปแลกเปลี่ยนดีจริงหรือเปล่า? สนใจแต่ไม่มีเงินทำอย่างไร?  
 
                             
                              สวัสดีค่ะเพื่อนๆบอร์ดเรียนต่อนอก ตอนนี้ก็วนกลับมากันอีกครั้งแล้วนะคะ สำหรับการรับสมัครนักเรียนแลกเปลี่ยนของโครงการต่างๆ ซึ่งแน่นอนว่าในเวลาแบบนี้คงมีคนรู้สึกใจแป้วอยู่แน่ๆเลยใช่ไหมล่ะคะ ก็การไปแลกเปลี่ยนนั้นใช้เงินมหาศาลเลยล่ะ บางบ้านพ่อแม่อยากสนับสนุนแต่กลับไม่มีกำลังทรัพย์ซะนี่ บางบ้านพร้อมแต่ก็อย่างว่าเนอะ เราก็อยากแบ่งเบาภาระกันใช่ไหมล่ะคะ ไม่เป็นไรค่ะ! เพราะวันนี้เรานำทริคการเตรียมตัวสอบทุนเต็มจำนวนของโครงการ YFU  มาฝากกันค่ะ!
                           
                                 เราเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนของปี 2019-2020 นี้เองค่ะ (ไปประเทศฮังการีค่ะ) หมายความว่า เราสอบตั้งแต่เมื่อปี 2018 ค่ะ และเนื่องจากบล็อกนี้เป็นบล็อกแรกของเรา หากมีจุดไหนบกพร่องก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ จะพยายามปรับปรุงสำหรับครั้งต่อไปนะคะ ถ้ายังอยากติดตามอ่านน่ะนะคะ (ฮา)
ทุนเต็มจำนวนสำหรับการไปแลกเปลี่ยนเนี่ย จริงๆแล้วมีทุกโครงการเลยนะ ไม่เฉพาะ YFU แต่ขึ้นชื่อว่าทุนเต็มจำนวน ก็รู้ได้เลยนะคะว่ายากแน่ๆ และรับน้อยมากๆด้วยค่ะ แต่ก็ใช่ว่าเราจะทำไม่ได้นะคะ! ลองก่อนไม่เสียหายน้า อย่าพึ่งกลัวกันไปก่อนน้า ใดๆก็หวังว่าบล็อกนี้จะช่วยทุกคนได้ไม่มากก็น้อยนะคะ

ทุนเต็มจำนวนโครงการ YFU
                             
                             ทุนนี้เป็นทุนที่สงวนไว้ให้โรงเรียนในเครือ สพฐ. เท่านั้นนะคะ และเพราะว่าเป็นทุนเต็ม เราจึงไม่สามารถเลือกได้ทุกประเทศ จะได้แค่ 4 ประเทศเท่านั้นเอง ซึ่งในปีของเรา มี ประเทศญี่ปุ่น ฮังการี อาร์เจนติน่า แล้วก็ ปารากวัยค่ะ จากที่เราสอบถามมาดูเหมือนว่าประเทศที่ให้เลือกจะมีการเปลี่ยนแปลงในทุกๆปีนะคะ ฉะนั้นลองศึกษาข้อมูลกันดูก่อนน้า
                               
                               ตอนเราสมัครต้องระบุให้เรียบร้อยนะคะว่าต้องการไปประเทศไหน และแน่นอนค่ะ เค้ารับแค่ประเทศละคนเท่านั้น (เศร้ามาก) เวลาเราไปสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ เราก็จะแข่งเฉพาะกับคนที่อยากไปประเทศเดียวกันกับเราค่ะ และประเทศที่คนเลือกกันเยอะมากกกกก นั่นก็คือ ญี่ปุ่นนั่นเองค่ะ

การสมัคร
                               
                               สมัครที่โรงเรียนในพื้นที่ที่มีศูนย์ YFU ค่ะ สำหรับเรา โรงเรียนเรามีคุณครูที่ดูแลเรื่องนี้อยู่แล้ว เราเลยสมัครที่โรงเรียนเราเลยค่ะ (เราเรียนอยู่หาดใหญ่วิทยาลัย ขอเสียงเด็กหาดใหญ่หน่อย5555)
แต่สำหรับโรงเรียนไหนที่ไม่มีคุณครูตัวแทนให้ลองสอบถามไปทางเว็บเพจ ไม่ก็ลองสอบถามคุณครูที่โรงเรียนดูก็ได้ค่ะว่าศูนย์ YFU ในพื้นที่อยู่ที่ไหน
                               
                               หลังจากสมัครกับโรงเรียนแล้ว ทางโรงเรียนจะคัดเลือกนักเรียนมา 3 คน เพื่อไปสอบข้อเขียนที่กรุงเทพค่ะ ซึ่งวิธีการคัดเลือกนี่ก็ขึ้นอยู่กับโรงเรียนเลยค่ะ อาจจะมีการให้ทำข้อสอบ หรืออาจจะแค่สัมภาษณ์ หรือไม่ก็ไม่มีใครสมัครเลย เลยต้องส่งคนที่สมัครโดยไม่ต้องคัดเลือก ซึ่งของเราเป็นกรณีสุดท้ายค่ะ ครูโรงเรียนเราขู่เด็กค่ะ ว่ายากมากกกกกกกกก เลยไม่มีใครกล้าสมัครเลย เราก็กลัวค่ะ แต่คิดว่าถ้าลอง มันก็มีโอกาสได้อยู่ อาจจะไม่เยอะแต่ก็มีเยอะกว่าไม่ลองแน่นอน ถ้าได้ก็ดี ไม่ได้ก็ถือว่าไปลองทำข้อสอบดูเล่นๆ

สอบข้อเขียน
                               
                               นักเรียนที่มาสอบก็จะเยอะอยู่นะคะ แต่อย่าพึ่งตกใจไป เพราะไม่ใช่ทุกคนที่จะแข่งกับเรา เฉพาะคนที่เลือกประเทศเดียวกับเราเท่านั้นค่ะ ซึ่งถ้าใครเลือกประเทศที่คนเลือกน้อยๆ นี่บอกได้เลยค่ะว่าพาร์ทนี้หวานหมูเลย แต่เราจะชะล่าใจไม่ได้นะคะ ต้องเตรียมตัวไปดีๆด้วย
                             
                               เมื่อถึงเวลาสอบ (ซึ่งเป็นช่วงเช้าของวันที่ 1) เค้าจะเชิญเราเข้าห้องสอบค่ะ เป็นห้องใหญ่เลย ไม่ว่าจะสมัครประเทศอะไรก็จะอยู่ในห้องนี้ทั้งหมดเลย แต่จะแบ่งเป็นโซนค่ะ ว่าโซนไหนประเทศอะไร (แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด ส่วนนี้อาจจะมีความเปลี่ยนแปลงนะคะ) หลังจากนั้นก็มาแล้วค่ะสิ่งที่น่ากลัวที่สุดในการสอบ ข้อสอบค่ะ ข้อสอบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับข้อสอบ GAT ค่ะ เรื่องเวลาในการทำ เราไม่ค่อยมั่นใจเท่าไหร่ เพราะมันนานมากมาแล้ว แต่ก็น่าจะให้เวลา 60 นาทีเหมือนข้อสอบทั่วไปค่ะ จำนวนข้อไม่เยอะมากแต่ก็ต้องบริหารเวลาดีๆไม่งั้นอาจจะทำไม่ทันได้เหมือนกัน

การเตรียมตัวสำหรับข้อเขียน
                             
                                 เนื่องจากเป็นข้อสอบแนวเดียวกับ GAT ฉะนั้นก็ซื้อหนังสือเตรียมสอบ GAT มาอ่านเลยค่ะ ช่วงแรกๆจะยากหน่อย ทำไม่ค่อยได้ แต่ถ้าทำไปเรื่อยๆ จะจับจุดข้อสอบได้ค่ะ แล้วคะแนนมันจะมาเอง ต้องขยันทำค่ะ ไม่แนะนำให้ซื้อมาเยอะๆนะคะ แต่อยากให้ทำชุดเดิมซ้ำๆไปก่อน ถ้าทำจนจำคำตอบได้แล้วค่อยไปซื้อเล่มอื่นมาทำต่อ ส่วนตัวจะไม่เขียนลงในหนังสือค่ะ แต่จะหาเศษกระดาษมาจดคำตอบแล้วตรวจในเศษกระดาษค่ะ แบบนี้ก็จะได้ไม่ต้องลบรอยดินสอทุกครั้งที่กลับมาทำใหม่ค่ะ ทำข้อสอบวนไปค่ะ
                             
                                สำหรับใครที่ทำเท่าไหร่ๆก็ยังผิด ให้สังเกตตัวเองค่ะว่าผิดตรงไหนบ่อยๆ แล้วลองถามตัวเองว่าทำไมถึงผิด เราเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า ถ้ารู้จุดแล้วก็ลองเปิดหนังสือแกรมม่า หรือ โวแคบดูเลยค่ะ อ่านจนเข้าใจแล้วลองมาทำใหม่
                             
                                สำหรับใครที่พื้นฐานไม่แน่น แนะนำให้เริ่มจากหนังสือเรียนภาษาอังกฤษตอนประถมเลยค่ะ เพราะถ้าเราเริ่มจากพื้นฐานเราจะรู้ทันทีเลยค่ะว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอยู่ และการเข้าใจพื้นฐานอย่างลึกซึ้งจะทำให้เราต่อยอดขึ้นมาในระดับแอดวานซ์ง่ายขึ้นด้วยค่ะ เพราะภาษามันเชื่องโยงกันค่ะ พอเข้าใจแกรมม่า และ โวแคบพื้นฐานและแอดวานซ์เรียบร้อยแล้วก็ลุยโจทย์เลยค่ะ
                               
                               ที่เคยทำและไม่แนะนำสุดๆ ก็คือการต้มหนังสือกินค่ะ ไม่อร่อยแล้วก็ไม่เข้าหัวด้วย แถมยังได้โรคท้องร่วงแถมมาด้วย อีกอย่างที่ไม่แนะนำแต่ถ้าอยากทำก็ทำได้นะคะ คือการลูบหนังสือแล้วเอามาลูบหัว หรือเอาหนังสือวางใต้หมอนตอนนอน ไม่เข้าสมองเลยค่ะ แต่ได้ความอุ่นใจอยู่นะคะ ^_^

                                                                            ส่วนตัวเราใช้เล่มนี้เลยค่ะ                                                                           

ส่วนตัวเราใช้เล่มนี้เลยค่ะ

สอบสัมภาษณ์
                               
                               จากเด็ก 100-200 คน อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าแล้วแต่ประเทศ ก็จะถูกคัดเลือกให้เหลือเพียง 10 คนในแต่ละประเทศ (มี 4 ประเทศ ก็ 40 คน) แต่ก็อาจจะมีไม่ครบ 10 คนได้เหมือนกันนะคะ อย่างในปีเราค่ะ เด็กที่เลือกปารากวัยได้สัมภาษณ์แค่ คนเดียวเองค่ะ ซึ่งก็ไม่ทราบได้เหมือนกันว่าเพราะเลือกคนเดียว หรือคนที่เหลือไม่ผ่านเกณฑ์ โดยเค้าจะโทรหาคนที่ผ่านการคัดเลือกในช่วงบ่ายของวัน เพื่อเตรียมตัวไปสอบสัมภาษณ์ในช่วงเช้า หรือช่วงบ่ายของวันถัดไปค่ะ
                             
                               จากการสังเกตของตัวเราเอง ซึ่งเราก็ไม่รู้นะคะว่าจริงหรือเปล่า ดูเหมือนเค้าจะจัดเด็กต่างจังหวัด และเด็กเตรียมอุดมไว้ช่วงเช้าของวัน ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นเด็กกรุงเทพโรงเรียนอื่นค่ะ เพราะเราได้เห็นใบลงทะเบียนของทั้งภาคเช้าและภาคบ่าย ภาคบ่ายจะไม่มีเด็กต่างจังหวัดเลยค่ะ ส่วนเหตุผลที่เค้าจัดเด็กเตรียมมาภาคเช้าด้วยก็น่าจะเพราะว่าเด็กเตรียมทุกคนที่มาสอบ กลับไปเรียนตอนช่วงบ่ายทุกคนเลยค่ะ เรายังตกใจเลยค่ะ เพราถ้าเป็นเราคงไปเดินเล่นอยู่สยามแล้วแน่ๆ (ฮา)
                             
                              กลับมาที่เรื่องสอบค่ะ ลงทะเบียนเสร็จ เด็กนักเรียนและผู้ปกครองจะได้เข้าไปนั่งคุยกับหัวหน้าโครงการครู่นึง (จำไม่ได้แล้วค่ะว่าเรื่องอะไร) หลังจากนั้นก็จะแยกเด็กไปห้องเก็บตัวค่ะ ในระหว่างนี้ก็จะถูกเรียกไปสัมภาษณ์รันไปตามคิวเลยค่ะ จะแบ่งเป็น 20 20 ค่ะ ฉะนั้นเราจะได้มีโอกาสเจอเด็กที่สมัครทุกประเทศเลยค่ะ ในระหว่างรอเรียก แนะนำว่าให้คุยกับเพื่อนที่นั่งรออยู่เหมือนกัน ไม่งั้นบรรยากาศจะเครียดค่ะ ปีเรา เราทำความรู้จักทุกคนเลย ได้เพื่อนใหม่เพียบ ถือเป็นข้อดีของการมาสอบแบบนี้อีกข้อนึงค่ะ เนื่องจากทุกคนมีความตั้งใจเดียวกัน มีเหตุผลคล้ายคลึงกันว่าทำไมอยากไปแลกเปลี่ยน ทำให้หาเรื่องคุยไม่ยากเลยค่ะ ลองเริ่มจากถามเพื่อนข้างๆก่อนก็ได้ว่าเพื่อนสมัครประเทศอะไร
                             
                               เมื่อถึงคิวเรานะคะ ซึ่งจะมีพี่เค้ามาเรียกตลอดนะคะ เราก็จัดการตัวเองให้เรียบร้อยค่ะ ดูว่าแต่งตัวเรียบร้อยแล้วยัง หลังจากนั้นก็เคาะประตูห้องสัมภาษณ์แล้วก็เปิดเข้าไปเลยค่ะ การสัมภาษณ์จะมี 2 ช่วงค่ะ ช่วงภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค่ะ จะเริ่มด้วยการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษค่ะ หลังจากนั้นจะมีการถามคำถามเป็นภาษาอังกฤษเล็กน้อยเพื่อดูความเข้าใจค่ะ ก่อนจะถามคำถามส่วนใหญ่เป็นภาษาไทยเพื่อดูทัศนคติค่ะ ไม่จำเป็นต้องพูดอังกฤษได้ดีค่ะ แค่สื่อสารได้ รู้เรื่องก็พอแล้วค่ะ ยิ่งถ้าได้ภาษาของประเทศที่เราเลือกด้วยแล้วเนี่ย ยิ่งดีเลยค่ะ

                             จากที่เราได้บอกไปก่อนหน้านี้ว่ามีคนมาสัมภาษณ์ปารากวัยคนเดียว ทุกคนคงคิดว่าโชคดีจังได้เลยแน่ๆ ตอนนั้นเรากับทุกคนในห้องก็คิดอย่างงั้นเหมือนกันค่ะ แต่ว่าทุกอย่างเกิดขึ้นได้ค่ะ มีการโยกย้ายเด็กที่เลือกอาร์เจนติน่าคนนึงไปแทน ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ใช่ว่ามันจะเกิดขึ้นตลอดนะคะ เพียงแต่อยากให้ทราบไว้ว่าต่อให้เราเป็นเพียงคนเดียวที่ได้สัมภาษณ์เราก็ต้องทำให้ดีที่สุดค่ะ เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้จริงๆ

เตรียมสอบสัมภาษณ์
                               
                               สิ่งที่เราทำบ่อยๆเลยนะคะคือการพูดกับตัวเองหน้ากระจกค่ะ โดยเราก็จะลองสวมบทบาทตัวเองเป็นกรรมการ แล้วคิดว่าถ้าเราเป็นกรรมการจะถามคำถามอะไรบ้าง หลังจากนั้นก็พยายามตอบคำถามพวกนั้นค่ะ แต่ไม่แนะนำให้จำคำตอบนะคะ แค่คิดไปก่อนเป็นแนวก็พอ แล้วก็ไม่ควรประดิษฐ์คำพูดให้สวยหรูค่ะ ควรตอบให้เป็นตัวเองและตามความคิดตัวเองที่สุด
                               
                                 สิ่งนึงที่ต้องเตรียมไปค่ะ คือการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษ คนที่เลือกประเทศที่ใช้ภาษาของตัวเอง ก็อาจจะลองแนะนำตัวเป็นภาษานั้นๆซัก 2 ประโยค แล้วก็แปลเป็นภาษาอังกฤษ เช่น เราต้องการมาประเทศไทยเราก็อาจจะทำแบบนี้

รีวิวการเตรียมสอบ+ประสบการณ์การสอบจากนักเรียนแลกเปลี่ยนทุนเต็มจำนวน โครงการ YFU แบบเนื้อหาอัดแน่น การไปแลกเปลี่ยนดีจริงหรือเปล่า? สนใจแต่ไม่มีเงินทำอย่างไร?สวัสดีค่ะเพื่อนๆบอร์ดเรียนต่อนอก ตอนนี้ก็วนกลับมากันอีกครั้งแล้วนะคะ สำหรับการรับสมัครนักเรียนแลกเปลี่ยนของโครงการต่างๆ ซึ่งแน่นอนว่าในเวลาแบบนี้คงมีคนรู้สึกใจแป้วอยู่แน่ๆเลยใช่ไหมล่ะคะ ก็การไปแลกเปลี่ยนนั้นใช้เงินมหาศาลเลยล่ะ บางบ้านพ่อแม่อยากสนับสนุนแต่กลับไม่มีกำลังทรัพย์ซะนี่ บางบ้านพร้อมแต่ก็อย่างว่าเนอะ เราก็อยากแบ่งเบาภาระกันใช่ไหมล่ะคะ ไม่เป็นไรค่ะ! เพราะวันนี้เรานำทริคการเตรียมตัวสอบทุนเต็มจำนวนของโครงการ YFU มาฝากกันค่ะ!เราเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนของปี 2019-2020 นี้เองค่ะ (ไปประเทศฮังการีค่ะ) หมายความว่า เราสอบตั้งแต่เมื่อปี 2018 ค่ะ และเนื่องจากบล็อกนี้เป็นบล็อกแรกของเรา หากมีจุดไหนบกพร่องก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ จะพยายามปรับปรุงสำหรับครั้งต่อไปนะคะ ถ้ายังอยากติดตามอ่านน่ะนะคะ (ฮา)ทุนเต็มจำนวนสำหรับการไปแลกเปลี่ยนเนี่ย จริงๆแล้วมีทุกโครงการเลยนะ ไม่เฉพาะ YFU แต่ขึ้นชื่อว่าทุนเต็มจำนวน ก็รู้ได้เลยนะคะว่ายากแน่ๆ และรับน้อยมากๆด้วยค่ะ แต่ก็ใช่ว่าเราจะทำไม่ได้นะคะ! ลองก่อนไม่เสียหายน้า อย่าพึ่งกลัวกันไปก่อนน้า ใดๆก็หวังว่าบล็อกนี้จะช่วยทุกคนได้ไม่มากก็น้อยนะคะทุนนี้เป็นทุนที่สงวนไว้ให้โรงเรียนในเครือ สพฐ. เท่านั้นนะคะ และเพราะว่าเป็นทุนเต็ม เราจึงไม่สามารถเลือกได้ทุกประเทศ จะได้แค่ 4 ประเทศเท่านั้นเอง ซึ่งในปีของเรา มี ประเทศญี่ปุ่น ฮังการี อาร์เจนติน่า แล้วก็ ปารากวัยค่ะ จากที่เราสอบถามมาดูเหมือนว่าประเทศที่ให้เลือกจะมีการเปลี่ยนแปลงในทุกๆปีนะคะ ฉะนั้นลองศึกษาข้อมูลกันดูก่อนน้าตอนเราสมัครต้องระบุให้เรียบร้อยนะคะว่าต้องการไปประเทศไหน และแน่นอนค่ะ เค้ารับแค่ประเทศละคนเท่านั้น (เศร้ามาก) เวลาเราไปสอบข้อเขียนและสัมภาษณ์ เราก็จะแข่งเฉพาะกับคนที่อยากไปประเทศเดียวกันกับเราค่ะ และประเทศที่คนเลือกกันเยอะมากกกกก นั่นก็คือ ญี่ปุ่นนั่นเองค่ะสมัครที่โรงเรียนในพื้นที่ที่มีศูนย์ YFU ค่ะ สำหรับเรา โรงเรียนเรามีคุณครูที่ดูแลเรื่องนี้อยู่แล้ว เราเลยสมัครที่โรงเรียนเราเลยค่ะ (เราเรียนอยู่หาดใหญ่วิทยาลัย ขอเสียงเด็กหาดใหญ่หน่อย5555)แต่สำหรับโรงเรียนไหนที่ไม่มีคุณครูตัวแทนให้ลองสอบถามไปทางเว็บเพจ ไม่ก็ลองสอบถามคุณครูที่โรงเรียนดูก็ได้ค่ะว่าศูนย์ YFU ในพื้นที่อยู่ที่ไหนหลังจากสมัครกับโรงเรียนแล้ว ทางโรงเรียนจะคัดเลือกนักเรียนมา 3 คน เพื่อไปสอบข้อเขียนที่กรุงเทพค่ะ ซึ่งวิธีการคัดเลือกนี่ก็ขึ้นอยู่กับโรงเรียนเลยค่ะ อาจจะมีการให้ทำข้อสอบ หรืออาจจะแค่สัมภาษณ์ หรือไม่ก็ไม่มีใครสมัครเลย เลยต้องส่งคนที่สมัครโดยไม่ต้องคัดเลือก ซึ่งของเราเป็นกรณีสุดท้ายค่ะ ครูโรงเรียนเราขู่เด็กค่ะ ว่ายากมากกกกกกกกก เลยไม่มีใครกล้าสมัครเลย เราก็กลัวค่ะ แต่คิดว่าถ้าลอง มันก็มีโอกาสได้อยู่ อาจจะไม่เยอะแต่ก็มีเยอะกว่าไม่ลองแน่นอน ถ้าได้ก็ดี ไม่ได้ก็ถือว่าไปลองทำข้อสอบดูเล่นๆนักเรียนที่มาสอบก็จะเยอะอยู่นะคะ แต่อย่าพึ่งตกใจไป เพราะไม่ใช่ทุกคนที่จะแข่งกับเรา เฉพาะคนที่เลือกประเทศเดียวกับเราเท่านั้นค่ะ ซึ่งถ้าใครเลือกประเทศที่คนเลือกน้อยๆ นี่บอกได้เลยค่ะว่าพาร์ทนี้หวานหมูเลย แต่เราจะชะล่าใจไม่ได้นะคะ ต้องเตรียมตัวไปดีๆด้วยเมื่อถึงเวลาสอบ (ซึ่งเป็นช่วงเช้าของวันที่ 1) เค้าจะเชิญเราเข้าห้องสอบค่ะ เป็นห้องใหญ่เลย ไม่ว่าจะสมัครประเทศอะไรก็จะอยู่ในห้องนี้ทั้งหมดเลย แต่จะแบ่งเป็นโซนค่ะ ว่าโซนไหนประเทศอะไร (แต่เนื่องด้วยสถานการณ์โควิด ส่วนนี้อาจจะมีความเปลี่ยนแปลงนะคะ) หลังจากนั้นก็มาแล้วค่ะสิ่งที่น่ากลัวที่สุดในการสอบ ข้อสอบค่ะ ข้อสอบจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับข้อสอบค่ะ เรื่องเวลาในการทำ เราไม่ค่อยมั่นใจเท่าไหร่ เพราะมันนานมากมาแล้ว แต่ก็น่าจะให้เวลา 60 นาทีเหมือนข้อสอบทั่วไปค่ะ จำนวนข้อไม่เยอะมากแต่ก็ต้องบริหารเวลาดีๆไม่งั้นอาจจะทำไม่ทันได้เหมือนกันเนื่องจากเป็นข้อสอบแนวเดียวกับ GAT ฉะนั้นก็ซื้อหนังสือเตรียมสอบ GAT มาอ่านเลยค่ะ ช่วงแรกๆจะยากหน่อย ทำไม่ค่อยได้ แต่ถ้าทำไปเรื่อยๆ จะจับจุดข้อสอบได้ค่ะ แล้วคะแนนมันจะมาเอง ต้องขยันทำค่ะ ไม่แนะนำให้ซื้อมาเยอะๆนะคะ แต่อยากให้ทำชุดเดิมซ้ำๆไปก่อน ถ้าทำจนจำคำตอบได้แล้วค่อยไปซื้อเล่มอื่นมาทำต่อ ส่วนตัวจะไม่เขียนลงในหนังสือค่ะ แต่จะหาเศษกระดาษมาจดคำตอบแล้วตรวจในเศษกระดาษค่ะ แบบนี้ก็จะได้ไม่ต้องลบรอยดินสอทุกครั้งที่กลับมาทำใหม่ค่ะ ทำข้อสอบวนไปค่ะสำหรับใครที่ทำเท่าไหร่ๆก็ยังผิด ให้สังเกตตัวเองค่ะว่าผิดตรงไหนบ่อยๆ แล้วลองถามตัวเองว่าทำไมถึงผิด เราเข้าใจอะไรผิดหรือเปล่า ถ้ารู้จุดแล้วก็ลองเปิดหนังสือแกรมม่า หรือ โวแคบดูเลยค่ะ อ่านจนเข้าใจแล้วลองมาทำใหม่สำหรับใครที่พื้นฐานไม่แน่น แนะนำให้เริ่มจากหนังสือเรียนภาษาอังกฤษตอนประถมเลยค่ะ เพราะถ้าเราเริ่มจากพื้นฐานเราจะรู้ทันทีเลยค่ะว่าเราไม่เข้าใจตรงไหนอยู่ และการเข้าใจพื้นฐานอย่างลึกซึ้งจะทำให้เราต่อยอดขึ้นมาในระดับแอดวานซ์ง่ายขึ้นด้วยค่ะ เพราะภาษามันเชื่องโยงกันค่ะ พอเข้าใจแกรมม่า และ โวแคบพื้นฐานและแอดวานซ์เรียบร้อยแล้วก็ลุยโจทย์เลยค่ะที่เคยทำและไม่แนะนำสุดๆ ก็คือการต้มหนังสือกินค่ะ ไม่อร่อยแล้วก็ไม่เข้าหัวด้วย แถมยังได้โรคท้องร่วงแถมมาด้วย อีกอย่างที่ไม่แนะนำแต่ถ้าอยากทำก็ทำได้นะคะ คือการลูบหนังสือแล้วเอามาลูบหัว หรือเอาหนังสือวางใต้หมอนตอนนอน ไม่เข้าสมองเลยค่ะ แต่ได้ความอุ่นใจอยู่นะคะ ^_^จากเด็ก 100-200 คน อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าแล้วแต่ประเทศ ก็จะถูกคัดเลือกให้เหลือเพียง 10 คนในแต่ละประเทศ (มี 4 ประเทศ ก็ 40 คน) แต่ก็อาจจะมีไม่ครบ 10 คนได้เหมือนกันนะคะ อย่างในปีเราค่ะ เด็กที่เลือกปารากวัยได้สัมภาษณ์แค่ คนเดียวเองค่ะ ซึ่งก็ไม่ทราบได้เหมือนกันว่าเพราะเลือกคนเดียว หรือคนที่เหลือไม่ผ่านเกณฑ์ โดยเค้าจะโทรหาคนที่ผ่านการคัดเลือกในช่วงบ่ายของวัน เพื่อเตรียมตัวไปสอบสัมภาษณ์ในช่วงเช้า หรือช่วงบ่ายของวันถัดไปค่ะจากการสังเกตของตัวเราเอง ซึ่งเราก็ไม่รู้นะคะว่าจริงหรือเปล่า ดูเหมือนเค้าจะจัดเด็กต่างจังหวัด และเด็กเตรียมอุดมไว้ช่วงเช้าของวัน ส่วนช่วงบ่ายจะเป็นเด็กกรุงเทพโรงเรียนอื่นค่ะ เพราะเราได้เห็นใบลงทะเบียนของทั้งภาคเช้าและภาคบ่าย ภาคบ่ายจะไม่มีเด็กต่างจังหวัดเลยค่ะ ส่วนเหตุผลที่เค้าจัดเด็กเตรียมมาภาคเช้าด้วยก็น่าจะเพราะว่าเด็กเตรียมทุกคนที่มาสอบ กลับไปเรียนตอนช่วงบ่ายทุกคนเลยค่ะ เรายังตกใจเลยค่ะ เพราถ้าเป็นเราคงไปเดินเล่นอยู่สยามแล้วแน่ๆ (ฮา)กลับมาที่เรื่องสอบค่ะ ลงทะเบียนเสร็จ เด็กนักเรียนและผู้ปกครองจะได้เข้าไปนั่งคุยกับหัวหน้าโครงการครู่นึง (จำไม่ได้แล้วค่ะว่าเรื่องอะไร) หลังจากนั้นก็จะแยกเด็กไปห้องเก็บตัวค่ะ ในระหว่างนี้ก็จะถูกเรียกไปสัมภาษณ์รันไปตามคิวเลยค่ะ จะแบ่งเป็น 20 20 ค่ะ ฉะนั้นเราจะได้มีโอกาสเจอเด็กที่สมัครทุกประเทศเลยค่ะ ในระหว่างรอเรียก แนะนำว่าให้คุยกับเพื่อนที่นั่งรออยู่เหมือนกัน ไม่งั้นบรรยากาศจะเครียดค่ะ ปีเรา เราทำความรู้จักทุกคนเลย ได้เพื่อนใหม่เพียบ ถือเป็นข้อดีของการมาสอบแบบนี้อีกข้อนึงค่ะ เนื่องจากทุกคนมีความตั้งใจเดียวกัน มีเหตุผลคล้ายคลึงกันว่าทำไมอยากไปแลกเปลี่ยน ทำให้หาเรื่องคุยไม่ยากเลยค่ะ ลองเริ่มจากถามเพื่อนข้างๆก่อนก็ได้ว่าเพื่อนสมัครประเทศอะไรเมื่อถึงคิวเรานะคะ ซึ่งจะมีพี่เค้ามาเรียกตลอดนะคะ เราก็จัดการตัวเองให้เรียบร้อยค่ะ ดูว่าแต่งตัวเรียบร้อยแล้วยัง หลังจากนั้นก็เคาะประตูห้องสัมภาษณ์แล้วก็เปิดเข้าไปเลยค่ะ การสัมภาษณ์จะมี 2 ช่วงค่ะ ช่วงภาษาอังกฤษกับภาษาไทยค่ะ จะเริ่มด้วยการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษค่ะ หลังจากนั้นจะมีการถามคำถามเป็นภาษาอังกฤษเล็กน้อยเพื่อดูความเข้าใจค่ะ ก่อนจะถามคำถามส่วนใหญ่เป็นภาษาไทยเพื่อดูทัศนคติค่ะ ไม่จำเป็นต้องพูดอังกฤษได้ดีค่ะ แค่สื่อสารได้ รู้เรื่องก็พอแล้วค่ะ ยิ่งถ้าได้ภาษาของประเทศที่เราเลือกด้วยแล้วเนี่ย ยิ่งดีเลยค่ะจากที่เราได้บอกไปก่อนหน้านี้ว่ามีคนมาสัมภาษณ์ปารากวัยคนเดียว ทุกคนคงคิดว่าโชคดีจังได้เลยแน่ๆ ตอนนั้นเรากับทุกคนในห้องก็คิดอย่างงั้นเหมือนกันค่ะ แต่ว่าทุกอย่างเกิดขึ้นได้ค่ะ มีการโยกย้ายเด็กที่เลือกอาร์เจนติน่าคนนึงไปแทน ทั้งนี้ทั้งนั้นไม่ใช่ว่ามันจะเกิดขึ้นตลอดนะคะ เพียงแต่อยากให้ทราบไว้ว่าต่อให้เราเป็นเพียงคนเดียวที่ได้สัมภาษณ์เราก็ต้องทำให้ดีที่สุดค่ะ เพราะอะไรก็เกิดขึ้นได้จริงๆสิ่งที่เราทำบ่อยๆเลยนะคะคือการพูดกับตัวเองหน้ากระจกค่ะ โดยเราก็จะลองสวมบทบาทตัวเองเป็นกรรมการ แล้วคิดว่าถ้าเราเป็นกรรมการจะถามคำถามอะไรบ้าง หลังจากนั้นก็พยายามตอบคำถามพวกนั้นค่ะ แต่ไม่แนะนำให้จำคำตอบนะคะ แค่คิดไปก่อนเป็นแนวก็พอ แล้วก็ไม่ควรประดิษฐ์คำพูดให้สวยหรูค่ะ ควรตอบให้เป็นตัวเองและตามความคิดตัวเองที่สุดสิ่งนึงที่ต้องเตรียมไปค่ะ คือการแนะนำตัวเป็นภาษาอังกฤษ คนที่เลือกประเทศที่ใช้ภาษาของตัวเอง ก็อาจจะลองแนะนำตัวเป็นภาษานั้นๆซัก 2 ประโยค แล้วก็แปลเป็นภาษาอังกฤษ เช่น เราต้องการมาประเทศไทยเราก็อาจจะทำแบบนี้

   
“สวัสดีค่ะ ฉันชื่อเอมม่า วัตสัน ฉันอายุ 18 ปี มาจากเมืองลอนดอน ประเทศอังกฤษค่ะ Good Morning. My name is Emma Watson. I am an 18-year-old girl from London, Great Britain.”

                               ถ้าเราเลือกญี่ปุ่นเราก็แทนประโยคภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นเลยค่ะ แต่แทนที่จะบอกว่ามาจากประเทศอะไร ให้บอกว่าเรียนโรงเรียนอะไร ในจังหวัดอะไรดีกว่าค่ะ อย่าลืมแปลที่เราพูดเป็นภาษาอังกฤษด้วยนะคะ เพราะกรรมการไม่เข้าใจภาษานั้นๆค่ะ
                                 
                                 การแนะนำตัวนะคะ ควรจะบอกว่าชื่ออะไร อายุเท่าไหร่ เรียนที่ไหน ชั้นอะไร บอกว่าตัวเองเป็นคนยังไงสั้นๆ แล้วก็เหตุผลที่อยากได้ทุนค่ะ แน่นอนว่าต้องเป็นภาษาอังกฤษนะคะ ลองไปซ้อมให้ออกมาดูธรรมชาติกันดูนะคะ
                               
                                 ส่วนพวกคำถาม (เราเองก็ไม่มั่นใจนะคะ) ก็จะเป็นประมาณ ทำไมอยากไปประเทศที่เราเลือก คิดว่าจะปรับตัวได้ไหม ทำไมอยากได้ทุน แล้วก็คำถามเกี่ยวกับตัวเราเล็กน้อยค่ะ ซึ่งคำถามพวกนี้สามารถมาได้ทั้งในภาษาอังกฤษและภาษาไทยนะคะ เตรียมคำตอบคร่าวๆไว้เผื่อๆทั้งสองภาษาเลยนะคะ

ไปแลกเปลี่ยนดียังไง?
                               
                                  ดีมากค่ะ เราพูดเลย มันทำให้เรารู้เลยจริงๆอ่ะว่าเราเป็นแค่จุดเล็กๆของโลกนี้เองอ่ะ มันมีอะไรให้เราสำรวจ ให้เราไปสัมผัสอีกเยอะมาก มันเปิดกว้างการมองโลกของเรามากๆ เปรียบเทียบให้เห็นภาพ คือเหมือนเราเคยมองว่าโลกแบน แต่เพราะการเดินทางออกมาทำให้เราได้รู้ว่าจริงๆโลกมันกลมอ่ะ
การไปแลกเปลี่ยนทำให้เราได้รู้จักผู้คนมากขึ้น ได้เข้าใจในความแตกต่าง ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ วัฒนธรรมแปลกๆ อาหารที่เราไม่เคยกิน สถาปัตยกรรมแปลกๆแบบที่ไม่เคยเห็น ถ้าไปแถบยุโรปก็เหมือนหลุดไปในเทพนิยายกรีก หรือพวก โรมิโอกับจูเลียตอ่ะ  ในขณะเดียวกันเราก็ได้ทำให้เค้ารู้จักตัวเรา รู้จักวัฒนธรรมบ้านเรา ได้รู้จักอาหารการกินของเรา ทำให้เค้าอยากมาบ้านเรา
                             
                                   ในแง่ของตัวเอง มันทำให้เราโตขึ้นมากๆ ได้เรียนรู้จะอยู่ด้วยตัวเอง แก้ปัญหาด้วยตัวเอง (แน่นอนว่ามีคนช่วยเรา เราไม่ได้อยู่คนเดียว แต่ในเวลาส่วนมากเราก็ต้องตัดสินใจอะไรเอง) ทำให้เราตัดสินอะไรเด็ดขาดขึ้น พึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น ข้อเสียมีอย่างเดียวคือพอกลับมาจะงงนิดหน่อย อย่างที่เป็นกันบ่อยๆคือเรื่องข้ามถนน เด็กนักเรียนแลกเปลี่ยนที่พึ่งกลับมาทุกคนจะต้องท่องไว้ในใจเสมอว่าต้องดูรถ ไม่งั้นตาย ไม่เหมือนที่นู่นที่เค้าจอดให้เราข้าม (ฮา) นอกจากด้านนิสัย ยังมีกิจกรรมเข้าพอร์ตเกร๋ๆด้วย ไม่ใช่แค่เกียตริบัตรแลกเปลี่ยน แต่พวกกิจกรรมที่ไปทำที่นู่นด้วย เพราะไปแลกเปลี่ยนคือได้ทำกิจกรรมเยอะมากจริงๆ

                             
                                      การไปแลกเปลี่ยนมันคือประสบการณ์ชีวิตที่ให้ตายยังไงก็ลืมไม่ลง มีทุกข์บ้างสุขบ้างปนๆกันไปแต่ก็เป็นความทรงจำที่ดีสุดความทรงจำนึงเลย ขอบคุณทุกๆคนที่อ่านมาถึงตรงนี้นะ หวังว่าจะได้ความรู้ไปไม่มากก็น้อย สู้ๆน้าทุกคนที่กำลังพยายามอยู่ ความพยายามไม่เคยทรยศคนที่พยายามจริงๆ ต่อให้เราไม่ได้ทุนนี้ก็อย่าพึ่งหมดหวังน้า อย่างเราก็สอบตั้ง 4 ทุนกว่าจะได้ สิ่งที่เราเตรียมตัวไป ในอนาคตยังไงเราก็ได้ใช้ ไม่เสียเปล่าแน่นอน เพราะฉะนั้น อย่าพึ่งหมดหวังตั้งแต่ยังไม่ทันได้ลองนะ เป็นกำลังใจให้ทุกๆคนค่ะ ^_^
 

 
 
 
ปล. ถ้ามีใครอยากรู้ประสบการณ์การไปแลกเปลี่ยนที่ฮังการี ก็คอมเมนต์บอกกันมานะคะ เราจะได้รู้สึกฮึกเหิมอยากเขียนอีก 55555
ปล.2  ใครอยากรู้สึกไม่อยากอ่านยาวๆ  สามารถไปกดติดตามได้ที่ช่อง Mr.Nothing  ใน YouTube  ได้เลยนะคะ  เป็ฯช่องที่เราเอาไว้ลงวีดีโอเกี่ยวกับการไปแลกเปลี่ยนทั้งหมดเลย   ฝากกดติดตามกันด้วยนะคะ  ^_^

ถ้าเราเลือกญี่ปุ่นเราก็แทนประโยคภาษาไทยเป็นภาษาญี่ปุ่นเลยค่ะ แต่แทนที่จะบอกว่ามาจากประเทศอะไร ให้บอกว่าเรียนโรงเรียนอะไร ในจังหวัดอะไรดีกว่าค่ะ อย่าลืมแปลที่เราพูดเป็นภาษาอังกฤษด้วยนะคะ เพราะกรรมการไม่เข้าใจภาษานั้นๆค่ะการแนะนำตัวนะคะ ควรจะบอกว่าชื่ออะไร อายุเท่าไหร่ เรียนที่ไหน ชั้นอะไร บอกว่าตัวเองเป็นคนยังไงสั้นๆ แล้วก็เหตุผลที่อยากได้ทุนค่ะ แน่นอนว่าต้องเป็นภาษาอังกฤษนะคะ ลองไปซ้อมให้ออกมาดูธรรมชาติกันดูนะคะส่วนพวกคำถาม (เราเองก็ไม่มั่นใจนะคะ) ก็จะเป็นประมาณ ทำไมอยากไปประเทศที่เราเลือก คิดว่าจะปรับตัวได้ไหม ทำไมอยากได้ทุน แล้วก็คำถามเกี่ยวกับตัวเราเล็กน้อยค่ะ ซึ่งคำถามพวกนี้สามารถมาได้ทั้งในภาษาอังกฤษและภาษาไทยนะคะ เตรียมคำตอบคร่าวๆไว้เผื่อๆทั้งสองภาษาเลยนะคะดีมากค่ะ เราพูดเลย มันทำให้เรารู้เลยจริงๆอ่ะว่าเราเป็นแค่จุดเล็กๆของโลกนี้เองอ่ะ มันมีอะไรให้เราสำรวจ ให้เราไปสัมผัสอีกเยอะมาก มันเปิดกว้างการมองโลกของเรามากๆ เปรียบเทียบให้เห็นภาพ คือเหมือนเราเคยมองว่าโลกแบน แต่เพราะการเดินทางออกมาทำให้เราได้รู้ว่าจริงๆโลกมันกลมอ่ะการไปแลกเปลี่ยนทำให้เราได้รู้จักผู้คนมากขึ้น ได้เข้าใจในความแตกต่าง ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ วัฒนธรรมแปลกๆ อาหารที่เราไม่เคยกิน สถาปัตยกรรมแปลกๆแบบที่ไม่เคยเห็น ถ้าไปแถบยุโรปก็เหมือนหลุดไปในเทพนิยายกรีก หรือพวก โรมิโอกับจูเลียตอ่ะ ในขณะเดียวกันเราก็ได้ทำให้เค้ารู้จักตัวเรา รู้จักวัฒนธรรมบ้านเรา ได้รู้จักอาหารการกินของเรา ทำให้เค้าอยากมาบ้านเราในแง่ของตัวเอง มันทำให้เราโตขึ้นมากๆ ได้เรียนรู้จะอยู่ด้วยตัวเอง แก้ปัญหาด้วยตัวเอง (แน่นอนว่ามีคนช่วยเรา เราไม่ได้อยู่คนเดียว แต่ในเวลาส่วนมากเราก็ต้องตัดสินใจอะไรเอง) ทำให้เราตัดสินอะไรเด็ดขาดขึ้น พึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น ข้อเสียมีอย่างเดียวคือพอกลับมาจะงงนิดหน่อย อย่างที่เป็นกันบ่อยๆคือเรื่องข้ามถนน เด็กนักเรียนแลกเปลี่ยนที่พึ่งกลับมาทุกคนจะต้องท่องไว้ในใจเสมอว่าต้องดูรถ ไม่งั้นตาย ไม่เหมือนที่นู่นที่เค้าจอดให้เราข้าม (ฮา) นอกจากด้านนิสัย ยังมีกิจกรรมเข้าพอร์ตเกร๋ๆด้วย ไม่ใช่แค่เกียตริบัตรแลกเปลี่ยน แต่พวกกิจกรรมที่ไปทำที่นู่นด้วย เพราะไปแลกเปลี่ยนคือได้ทำกิจกรรมเยอะมากจริงๆการไปแลกเปลี่ยนมันคือประสบการณ์ชีวิตที่ให้ตายยังไงก็ลืมไม่ลง มีทุกข์บ้างสุขบ้างปนๆกันไปแต่ก็เป็นความทรงจำที่ดีสุดความทรงจำนึงเลย ขอบคุณทุกๆคนที่อ่านมาถึงตรงนี้นะ หวังว่าจะได้ความรู้ไปไม่มากก็น้อย สู้ๆน้าทุกคนที่กำลังพยายามอยู่ ความพยายามไม่เคยทรยศคนที่พยายามจริงๆ ต่อให้เราไม่ได้ทุนนี้ก็อย่าพึ่งหมดหวังน้า อย่างเราก็สอบตั้ง 4 ทุนกว่าจะได้ สิ่งที่เราเตรียมตัวไป ในอนาคตยังไงเราก็ได้ใช้ ไม่เสียเปล่าแน่นอน เพราะฉะนั้น อย่าพึ่งหมดหวังตั้งแต่ยังไม่ทันได้ลองนะ เป็นกำลังใจให้ทุกๆคนค่ะ ^_^ปล. ถ้ามีใครอยากรู้ประสบการณ์การไปแลกเปลี่ยนที่ฮังการี ก็คอมเมนต์บอกกันมานะคะ เราจะได้รู้สึกฮึกเหิมอยากเขียนอีก 55555ปล.2 ใครอยากรู้สึกไม่อยากอ่านยาวๆ สามารถไปกดติดตามได้ที่ช่อง Mr.Nothing ใน YouTube ได้เลยนะคะ เป็ฯช่องที่เราเอาไว้ลงวีดีโอเกี่ยวกับการไปแลกเปลี่ยนทั้งหมดเลย ฝากกดติดตามกันด้วยนะคะ ^_^


USA🇺🇸 EP0 |บินไปอเมริกาครั้งแรก!! 36ชม. เจอนักกีฬาโอลิมปิก เกือบตกเครื่อง😭 | นักเรียนแลกเปลี่ยน


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

USA🇺🇸 EP0 |บินไปอเมริกาครั้งแรก!! 36ชม. เจอนักกีฬาโอลิมปิก เกือบตกเครื่อง😭 | นักเรียนแลกเปลี่ยน

อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน ทำยังไง?


อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน ทำยังไง?

อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทำไง ข้อดีของการมา กำลังจะไปแลกเปลี่ยนต้องดู!! |vapassachol


ใครอยากไปแลกเปลี่ยนหรือกำลังตัดสินใจจะไปแลกเปลี่ยนลองดูวิดีโอนี้ดูน้า
ขั้นตอนการเริ่มต้น การเตรียมตัว และอื่นๆ หวังว่าวิดีโอนี้จะเป็นประโยชน์ให้กับหลายๆคนน้า 🙂

อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนทำไง ข้อดีของการมา กำลังจะไปแลกเปลี่ยนต้องดู!! |vapassachol

แนวข้อสอบ+วิธีเตรียมตัวสอบไปแลกเปลี่ยน!! l Sasa’s


Eltis practice test:
https://www.eltistest.com/practicetest/

UDictionary:
https://udthai.onelink.me/HTWN/sasa
•My social media
Instagram: Sa_tnp
Facebook: Sasa’s
•Contact me
Email: [email protected]
•Camera
Canon G7x mark ii
•Editing
Macbook pro 13’’
Final cut pro
Songs
1.MarshmallowLukrembo
https://youtu.be/y7KYdqVND4o
2.MugLukrembo
https://youtu.be/x_mkUB4J38
3.CloudLukrembo
https://youtu.be/v1XgHCIdDc8

แนวข้อสอบ+วิธีเตรียมตัวสอบไปแลกเปลี่ยน!! l Sasa's

How to เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน


สวัสดีค่า วันนี้มาแปลก คือมาแชร์ประสบการณ์การเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน ในเวอร์ชั่นของเชอรี่ บางคนอยากรู้ว่าจะเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยนจะเป็นยังไง . ทำไมต้องเป็นด้วย เป็นแล้วดียังไง? มาฟังทางนี้ มีอะไร ถามมาได้เลยจ้า

How to เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ อยากเป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *