Skip to content
Home » [Update] GST on Disbursements | input tax คือ – NATAVIGUIDES

[Update] GST on Disbursements | input tax คือ – NATAVIGUIDES

input tax คือ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Table of Contents

GST on Disbursements

Volume No. 06-32

“Taxation of disbursements depends on whether the professional is an “Agent.”.”

Are you in a business or profession where you charge disbursements or expenses to your clients? If so, you need to understand how to treat the GST. Otherwise, you can easily end up with a costly GST assessment – or you could be cheating your clients!

When putting disbursements on your bill to a client, you must first determine whether the disbursement was incurred “as agent” of the client. This determination is crucial, and you must be clear as to the answer.

The CRA has published Policies P-209R, “Lawyers’ Disbursements”, and P-182R, “Agency”, to help with this determination. For example:

  • Travel expenses, postage, telephone, couriers and photocopying are not normally incurred as “agent”. They are your own expenses, and are inputs to the services you provide.
  • Paying an expense which is really the client’s own expense is a payment made as “agent.” For example, when a lawyer pays land transfer tax on behalf of a client who is purchasing land, that payment is made as the client’s agent.

An expense that is not incurred as an agent is considered an input to your services. You should claim any GST input tax credit yourself on such an expense. You then bill the pre-GST amount of the expense as a disbursement, added to your fee before charging GST. If you charge GST on your services, you then charge GST on the total including the (pre-GST) disbursement.

You should claim the $6 GST as an input tax credit on your own GST return, and record the disbursement as $100, not $106.

You then bill the client as follows:

Fees

$1,000.00

Disbursements: hotel

$100.00

Subtotal

$1,100.00

GST @ 6%

$66.00

Total

$1,166.00

The net result may appear to be the same as simply charging $106 to the client as the disbursement and not adding GST. However, if you do that, the CRA may well assess you for not collecting GST on the disbursement! (You may or may not be able to claim the offsetting input tax credit if that happens.)

Note also, that with this method, taxable disbursements can become non-taxable, and non-taxable disbursements can become taxable. What matters is the GST status of your fees, not the expense you incurred.

Thus, suppose in the above example you are billing a non-resident client and not charging GST on your services. Your subtotal would still be $1,100, with no GST on top for a total of $1,100. Meanwhile, you have correctly claimed the $6 input tax credit, so no net GST applied to the hotel bill you paid.

Conversely, suppose your client is in Canada, so you charge GST, but the hotel was outside Canada and did not charge GST. In this case, you paid no GST on the $100 and get no input tax credit, yet when you bill the client, you still bill $1,100 plus $66 in GST. So the hotel bill effectively becomes taxed. (For significant expenses that fall into this group, if your client cannot claim input tax credits, you may want to make other arrangements, such as having the client become directly responsible for the bill and pay it directly to the supplier.)

An expense that is incurred as agent is simply a “pass through.” You show it on your invoice all GST is calculated, and you include whatever GST was on the expense. You do not claim an input tax credit for the GST charged on the expense, because you did not incur the expense – you simply paid it as your client’s agent.

Thus, for expenses incurred as agent, the original GST status is preserved and passed through to the client.

This is a tricky area, and many businesses and professionals get it wrong. Yet if you do not properly comply, you expose yourself to assessment for up to four years of past GST,plus interest and penalties, on all your disbursements. And if you mistakenly charge GST on a disbursement when you should not be, or charge GST on top of a GST-included amount, then you are cheating your clients.

If you have been reporting GST on disbursements incorrectly in the past, it may be possible to eliminate any net GST cost by way of a Voluntary Disclosure.

TAX TIP OF THE WEEK is provided as a free service to clients and friends of the Tax Specialist Group member firms. The Tax Specialist Group is a national affiliation of firms who specialize in providing tax consulting services to other professionals, businesses and high net worth individuals on Canadian and international tax matters and tax disputes.

The material provided in Tax Tip of the Week is believed to be accurate and reliable as of the date it is written. Tax laws are complex and are subject to frequent change. Professional advice should always be sought before implementing any tax planning arrangements. Neither the Tax Specialist Group nor any member firm can accept any liability for the tax consequences that may result from acting based on the contents hereof.

TAX TIP is provided as a free service to clients and friends of Cadesky Tax.

The material provided in Tax Tip is believed to be accurate and reliable as of the date of posting. Tax laws are complex and are subject to frequent change. Professional advice should always be sought before implementing any tax planning arrangements. Cadesky Tax cannot accept any liability for the tax consequences that may result from acting based on the contents hereof.

[Update] การเขียนผังงาน | input tax คือ – NATAVIGUIDES

 

 

 

 

ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ที่ใช้เขียนแทนคำอธิบาย ข้อความ

หรือคำพูดที่ใช้ในอัลกอริทึม เพราะการที่จะเข้าใจขั้นตอนได้ง่ายและตรงกันนั้น การใช้คำพูดหรือข้อความอาจทำได้ยากกว่าการใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ผังงานสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. ผังงานระบบ (System Flowchart)

เป็นผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบงานหนึ่ง ๆ ในลักษณะของภาพกว้าง ๆ แต่จะไม่เจาะลึกลงไปว่าในระบบงานย่อย ๆ นั้นจะมีการทำงานหรือวิธีการทำงานอย่างไร ผังงานจะแสดงทิศทางการทำงานในระบบ ตั้งแต่เริ่มต้นว่าข้อมูลเกิดขึ้นครั้งแรกที่ใด เก็บอยู่ในรูปแบบใด และผ่านขึ้นตอนการประมวลผลอย่างไร อะไรบ้าง (แต่จะไม่เน้นถึงวิธีการประมวลผล) จนสุดท้ายผลลัพธ์ที่ได้เก็บอยู่ในรูปแบบใด

ตัวอย่างเช่น ผังงานระบบบริหารโรงเรียนแห่งหนึ่ง ข้อมูลทะเบียนประวัติของนักเรียนจะเริ่มขึ้นครั้งแรกเมื่อมีการับสมัครนักศึกษาใหม่ จากแผนกรับสมัคร และถือว่าเป็นข้อมูลพื้นฐานไปยังแผนกต่าง ๆ ในโรงเรียน เช่น แผนกปกครอง แผนกวัดผล หรือแผนกทะเบียน ซึ่งในส่วนของแผนกทะเบียนอาจจะมีการแก้ไขข้อมูลบางอย่าง เช่น มีการแก้ไขชื่อ ที่อยู่ของนักศึกษา ก็ได้

2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)

เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรมซึ่งจะแสดงการทำงานตั้งแต่เริ่มต้น ในส่วนของการรับข้อมูล การคำนวณหรือการประมวลผล จนถึงการแสดงผลลัพธ์ ผังงานนี้อาจสร้างจากผังงานระบบ โดยผู้เขียนผังงานอาจดึงเอาแต่ละจุดที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของคอมพิวเตอร์เพื่อนำมาวิเคราะห์ว่า ถ้าใช้คอมพิวเตอร์ทำงานตรงจุดนั้นเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ควรจะมีขั้นตอนในการเขียนผังงานอย่างไร เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงาน ซึ่งการเขียนผังงานนี้จะช่วยเพิ่มความสะดวกในการเขียนโปรแกรมของผู้เขียนโปรแกรมได้มาก เพราะสามารถดูได้ง่ายว่าในแต่ละขั้นตอนการทำงานควรใช้คำสั่งอย่างไร

 

ประโยชน์ของผังงาน

1. ทำให้เข้าใจและแยกแยะปัญหาต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น

2. ผู้เขียนโปรแกรมมองเห็นลำดับการทำงาน รู้ว่าสิ่งใดควรทำก่อน สิ่งใดควรทำหลัง

3. สามารถหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย

4. ทำให้ผู้อื่นเข้าใจการทำงานได้ง่ายกว่าการดูจาก source code

 5. ไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ผู้อื่นสามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย การเขียนผังงาน

ผู้เขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมเขียนผังงานก่อนการเขียนโปรแกรม เพราะเห็นว่าเสียเวลา นอกจากนี้แล้ว ยังมีข้อจำกัดอื่น ๆ อีก คือ

1. ผังงานเป็นการสื่อความหมายระหว่างบุคคลกับบุคคลมากกว่าที่สื่อความหมายระหว่างบุคคลกับเครื่อง เพราะผังงานไม่ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ทำให้เครื่องไม่สามารถรับและเข้าใจได้ว่าในผังงานนั้นต้องการให้ทำอะไร

2. ในบางครั้ง เมื่อพิจารณาจากผังงาน จะไม่สามารถทราบได้ว่า ขั้นตอนการทำงานใดสำคัญกว่ากัน เพราะทุก ๆ ขั้นตอนจะใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ในลักษณะเดียวกัน

3. การเขียนผังงานเป็นการสิ้นเปลือง เพราะจะต้องใช้กระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อประกอบการเขียนภาพ ซึ่งไม่สามารถเขียนด้วยมืออย่างเดียวได้ และในบางครั้ง การเขียนผังงานอาจจะต้องใช้กระดาษมากกว่า 1 แผ่น หรือ 1 หน้า ซึ่งถ้าเป็นข้อความอธิบายอาจะใช้เพียง 2-3 บรรทัดเท่านั้น

การเขียน Flowchart แบบโครงสร้างมีประโยชน์คือทำให้การไล่ขั้นตอนการทำงานทำได้ง่ายและเป็นระเบียบ ซึ่งมีหลักการเขียนอยู่ สามข้อ คือ
• Sequence
• Selection
• Iteration|

SEQUENCE
คือ เป็นการทำงานแบบเรียงลำดับ ตั้งแต่ต้นจนจบ เป็นรูปแบบง่าย ๆ ไม่มีการเปรียบเทียบใด ๆ มีทิศทางการไหลของข้อมูลเพียงทางเดียว ซึ่งอาจจะเป็นแบบบนลงล่าง หรือ จากซ้ายไปขวาก็ได้ ดังรูปที่ 1. ไม่ใช่เขียนข้ามไปข้ามมาดังรูปที่ 2.
          
เช่น การให้คำนวณหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า จะเขียนเป็นผังงานได้ดังรูป

SELECTION
เป็นทางเลือกของโปรแกรมซึ่ง จะต้องมีเพียงสองทางเลือกเท่านั้น และ หลังจากนั้นทางเลือกทั้งสองต้องมาพบกัน และทำงานในขั้นตอนต่อไป

เช่น การคำนวณว่าตัวเลขที่รับมานั้นเป็นจำนวนคี่หรือคู่ จะเขียนเป็นผังงานได้ดังรูป

ITERATION
คือการทำซ้ำ เป็นการเขียน flowchart ให้กลับมาทำงานในขั้นตอนอย่างเก่า จะเห็นว่า flowchart มีลักษณะวน ซึ่งเรียกว่า loop และจะสังเกตุว่า การวน loop ดัง รูปที่ 4 จะไม่มีทางออกไปทำงานในขั้นตอนต่อไปได้เลย เพื่อที่จะทำให้ออกจาก loop ได้จะต้องมีการ เช็คเพื่ออกจาก loop ดังจะได้กล่าวต่อไป

ในการเขียน flowchart จะมี loop ให้เลือกใช้ได้สองประเภทคือ DO WHILE และ DO UNTIL
• DO WHILE จะ ทำการเช็คเพื่อที่จะออกจาก loop ก่อนที่จะทำงานตามคำสั่งใน loop และ เงื่อนไขเพื่อที่จะออกจาก loop จะต้องเป็นเท็จ ดังรูปที่ 5.

• DO UNTIL จะ ทำการเช็คเพื่อที่จะออกจาก loop ณ ตำแหน่งสุดท้ายของ loop และ เงื่อนไขเพื่อที่จะออกจาก loop จะต้องเป็นจริง ดังรูปที่ 6.

เช่น การหาผลบวกของตัวเลข ตั้งแต่ 1-10 จะเขียนเป็นผังงานได้ดังรูป

Go to Top

เทคนิคการเขียนผังงาน
เราต้องการเขียน Flowchart เพื่อคำนวณภาษีที่พนักงานต้องชำระ อัตราภาษี 10%
Flowchart ดังกล่าวกำหนดให้ผู้ใช้ป้อนค่าเงินเดือน (salary) แล้วเครื่องจะทำการคำนวณ ภาษี (tax) 10% ให้โดยอัตโนมัติ และจะพิมพ์ค่า salary กับ tax Output ที่เราต้องการก็คือ salary และ tax ( การสั่งพิมพ์ขึ้นอยู่ที่เราว่าเราต้องการให้พิมพ์อะไร ไม่จำเป็นต้องพิมพ์ salary, tax ตามตัวอย่างก็ได้ เราอาจสั่งพิมพ์ tax อย่างเดียวก็ได้

Input คือสิ่งที่ผู้ใช้ต้องป้อนให้ระบบ จากตัวอย่างก็คือ salary เพราะหากผู้ใช้ไม่ป้อน salary ระบบจะคำนวณ tax ไม่ได้ ส่วนอัตราภาษี 10% ผู้ใช้ไม่ต้องป้อนเพราะมีการกำหนดมาอยู่แล้วว่าภาษีคือ 10% ระบบไม่จำเป็นต้องถามผู้ใช้ เพราะฉะนั้นอัตราภาษี 10% จึงไม่ใช่ input หากจะสรุปง่ายๆ input ก็คือสิ่งที่เราต้องถามผู้ใช้ ส่วนอัตราภาษีคือ ค่าคงที่ ซึ่งเราจะกำหนดไว้ในโปรแกรมเลย โดยผู้ใช้ไม่ต้องป้อน

หากเราต้องการเขียน Flowchart ให้บวกเลข 1 ถึง 10 จะพบว่า Flowchart ดังกล่าวไม่มี input เลยเพราะ flow ดังกล่าวไม่จำเป็นต้องถามผู้ใช้ ดังรูปที่ 8. แต่หากเราต้องการเขียน Flowchart ให้บวกเลขจำนวนที่หนึ่ง ถึง เลขจำนวนที่สอง เราจะพบว่าผู้ใช้จำเป็นต้องบอกเราว่า จำนวนที่หนึ่ง คือเลขอะไร และ จำนวนที่สอง คือเลขอะไร เพราะฉนั้น input คือ first ( เลขจำนวนที่หนึ่ง) และ last ( เลขจำนวนที่สอง) ดังรูปที่ 9

Iteration ( การทำซ้ำ)
Flowchart ดังแสดงในรูปที่ 7 จะคำนวณภาษีสำหรับพนักงานหนึ่งคน หากเราต้องการให้คำนวณคนที่สอง สาม สี่ … เราจะต้องสั่งให้กลับมาทำงานดังแสงในรูปที่ 10 ให้สังเกตว่า flowchart ดังกล่าวไม่มีทางออกจาก loop ได้เลย นั่นหมายถึงหลังจากคำนวณภาษีเสร็จเครื่องจะรอรับค่า salary คนต่อไปไม่มีวันสิ้นสุด

คำถามที่เกิดขึ้นก็คือ เมื่อไหร่ที่เราต้องการออกจาก loop คำตอบก็คือ เมื่อคำนวณภาษีให้พนักงานทุกคนครบแล้ว วิธีการที่เราจะบอกระบบว่าพนักงานหมดแล้วเราสามารถบอกได้โดย “ ถ้าเรา input ค่า salary เป็น 0 หมายถึงพนักงานหมดแล้ว นั่นคือให้ออกจาก loop” ( ที่ใช้เป็น 0 เพราะไม่มีพนักงานคนใดที่มีเงินเดือนเท่ากับ 0 บาท) ซึ่งเราเรียกค่าดังกล่าวว่าค่า dummy ดังได้กล่าวไว้ต้นแล้วว่าการเลือกใช้ loop มีให้เลือกใช้สองชนิดคือ DO WHILE และ DO UNTIL ซึ่ง DO WHILE จะทำการเช็คเพื่อออกจาก loop ที่ต้น loop ในขณะที่ DO UNTIL เช็คปลาย loop

ให้สังเกตว่า การเช็ค ณ ต้น loop คือ การเช็คก่อนมี process ใดๆทั้งสิ้น (DO WHILE) ในขณะที่การเช็ค ณ ปลาย loop คือให้มี process ทุกอย่างก่อนแล้วค่อยเช็ค (DO UNTIL) โดยปกติแล้วเราจะใช้ DO WHILE หรือ DO UNTIL ก็ได้ ( แต่มีบางกรณีที่จำเป็นต้องใช้ DO WHILE หรือ DO UNTIL) จาก flowchart รูปที่ 11 หากเราใช้ DO UNTIL จะได้ flowchart ดังรูปที่ 12

จะเห็นว่าเงื่อนไขออกจาก loop จะต้องเป็นจริง และการเช็คออกจาก loop จะอยู่ ณ ตำแหน่งสุดท้ายของ loop นอกจากนี้การที่ต้องมี input salary เพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่ง process และไว้อยู่หน้าการเช็คเพื่อออกจาก loop เพราะว่า เมื่อ ผู้ใช้ใส่ค่า 0 มา ระบบจะทำการออกจาก loop ทันที เพราะหากไว้ตำแหน่งอื่นระบบอาจจะมีการ print หรือคำนวณ tax ซึ่งเราไม่ต้องการให้ทำ

Flowchart รูปที่ 13 แสดงการใช้ DO WHILE loop ให้สังเกตุว่า การเช็คเพื่อที่จะออกจาก loop อยู่ต้น loop และเงื่อนไขเพื่อที่จะออกจาก loop จะเป็นเท็จ ( เพราะฉนั้น เงื่อนไขจึงต้องเป็น salary > 0)

ใน flowchart จะมีการ input Salary อยู่สองตำแหน่งคือบนสุด และใน loop ณ ตำแหน่งล่างสุด input Salary ซึ่งอยู่บนสุดมีไว้เพื่อ input ค่า salary คนแรก เท่านั้น สำหรับค่า salary คนต่อๆมา จะถูก input จาก input salary ที่อยู่ใน loop สาเหตุที่เราไม่สามารถเขียน flowchart ให้วนกลับไป input salary คนต่อๆมาดังรูปที่ 14 แม้ว่าจะสามารถทำงานได้ถูกต้อง เนื่องจากจะผิดกฏ DO WHILE ซึ่งกำหนดไว้ว่า การเช็คเพื่อออกจาก loop จะต้องอยู่ต้น loop

 

คำบรรยายภาพแบบสี่เหลี่ยมมุมมน: ไม่ได้อยู่ต้น loop

 

ACCUMULATION (การสะสมค่า)
ในการเขียน flowchart ทางธุรกิจส่วนใหญ่จะต้องการให้หายอดรวม เช่นหายอดรวมเงินเดือนของพนักงานทุกคน หายอดรวมของเงินภาษี ฯลฯ ในการเขียน flowchart เราจะใช้วิธีสะสมค่า โดยกำหนด ตัวแปรที่ไว้สำหรับเก็บค่าสะสม = ตัวแปรที่ไว้สำหรับเก็บค่าสะสม + ตัวแปรที่ต้องการสะสม เช่น
T_SAL = T_SAL + SALARY    

สมมติเราต้องการหายอดรวมของ salary เราสามารถเขียนการทำงานดังกล่าวได้ดังนี้
T_SAL = T_SAL + SALARY
จากตัวอย่าง หากเราต้องการหายอดรวมของ salary และ tax จะได้ process ดังนี้
T_SAL = T_SAL + SALARY
T_TAX = T_TAX + TAX
การวางตำแหน่งของ process ดังกล่าวจะต้องวางในตำแหน่งที่ salary, และ tax ของทุกคนวิ่งผ่าน (เนื่องจากเราจะหาค่าสะสมของทุกคน) นั่นก็คือจะต้องวาง process ทั้งสองใน loop แต่นั่นมิได้หมายความว่าทุกตำแหน่งภายใน loop จะสามารถวางได้

อ้างอิง

http://web.sansai.ac.th/c++/ex2.html

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…


Recoverable Input Tax | Can you Claim Input Tax for Missed Invoices? | CA. Manu – CEO, EmiratesCA


Recoverable Input Tax, In this video CA. Manu will explain about Recoverable Input Tax for Missed Invoices with an example.
When you file your VAT Return sometimes we may miss considering some purchase invoices?
For this kind of miss invoices to consider for Input Tax, can you consider while filing the subsequent VAT Return?
Follow us Emirates Chartered Accountants Group
Facebook https://www.facebook.com/EmiratesCharteredAccountantsGroup/
Twitter https://twitter.com/emiratescagroup

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

Recoverable Input Tax | Can you Claim Input Tax for Missed Invoices? | CA. Manu - CEO, EmiratesCA

Bitcoin ปรับตัวหลุด EMA50 วางแผนอย่างไรต่อ ? l Quick Bitcoin Update วันที่ 19 พ.ย. 64


Bitcoin ปรับตัวหลุด EMA50 วางแผนอย่างไรต่อ ? l Quick Bitcoin Update วันที่ 19 พ.ย. 64

⚠️ คำเตือน คลิปนี้ไม่ได้เป็นการแนะนำการลงทุน เป็นการทำขึ้นเพื่อการศึกษาเท่านั้น

🙏 สนับสนุนช่องโดยการเป็นสมาชิก คลิ๊ก 👇 เพื่อดูรายละเอียด :
https://www.youtube.com/channel/UCfrnd2qfsGwOxn_TRYH39A/join
✍️ รีวิวคอร์สเรียน Trend Following \u0026 Trade Setup by I Learn A Lot
https://youtu.be/Z11hSmrftKU
Bitcoin Crypto ILearnALot

📚 สารบัญความรู้
📌 Playlist ความรู้พื้นฐานเกี่ยว Bitcoin และ Blockchain: https://bit.ly/38R9pV8
📌 Playlist บทวิเคราะห์กราฟบิดคอยน์ (Bitcoin) : https://bit.ly/38WubmF
📌 Playlist สอนเทรดบิดคอยน์ (Bitcoin) : https://bit.ly/3o3KMsV
📌 Playlist สอน Elliott Wave : http://bit.ly/3s8KZOs

🏃‍♂️ ติดตามเพิ่มเติมได้ที่
📌 Facebook Page I Learn A Lot : https://www.facebook.com/ILearnALotAboutBitcoin/
📌 Youtube Channel I Learn A Lot : https://bit.ly/32aKs48
📌 Twitter I Learn A Lot : 📌 Twitter I Learn A Lot : https://twitter.com/ilearnalot_btc
📌 กลุ่มเพื่อนพิ่งพายามดอย Bitcoin OpenChat Line (ตอนนี้เต็มแล้วครับ) : https://bit.ly/3tgz4il
📌 กลุ่มเพื่อนพิ่งพายามดอย Bitcoin (สาขา 2) Telegram : https://t.me/joinchat/HriVJHm97JkzZTRl

วิเคราะห์ราคาBitcoin BTC ILearnALot Bitcoin บิดคอยน์ DogeCoin ทำไมDogeCoinราคาขึ้นแรง ElonMusk Ethereum อีเธอร์เลียม วิเคาระห์กราฟ ราคา XRP ETH ADA Cardano BAND BNB Binance Bitkub NEAR DOGE XLM Stallar Tesla ElonMusk ElliottWaveคืออะไร ฺElliottWave ILearnALot สอนElliottWave Impulsewave แชมป์

Bitcoin ปรับตัวหลุด EMA50  วางแผนอย่างไรต่อ ? l Quick Bitcoin Update วันที่ 19 พ.ย. 64

Input Tax Credit Mechanism | Raj K Agrawal | Unacademy CA Aspire


In this video, the educator will be discussing Input Tax Credit Mechanism
Keep watching the channel for more updates.
Watch the first class by clicking the following link :
https://studio.youtube.com/video/5L6H…
Attend Free special classes (Free Live interactive class) by clicking the following link: https://unacademy.com/plus/goal/BBKWG…
SUBSCRIBE to Unacademy PLUS at https://unacademy.com/plus/goal/BBKWG
Use Special Code: \”STUDYATHOMEYT \”
(To avail 10% DISCOUNT)
Profile link: https://unacademy.com/@caagrawalraj
Talk to us on TELEGRAM App (First Install the Telegram App)
Enter the group using the link on your BROWSER: https://t.me/unacademyca

Input Tax Credit Mechanism

Unacademy Plus Subscription Benefits:
1. Learn from your favorite teacher
2. Dedicated DOUBT sessions
3. One Subscription, Unlimited Access
4. Realtime interaction with Teachers
5. You can ask doubts in the live class
6. Limited students
7. Download the videos \u0026 watch offline

Input Tax Credit Mechanism | Raj K Agrawal | Unacademy CA Aspire

Input tax Credit (ITC) – Part 1


lecture_32

¶ Input tax credit
• input tax (section 2(62))
• meaning of input tax credit (section 2(63))
• example of ITC
¶ Eligibility And conditions for taking input tax credit (section 16)
i) Eligibility for taking input tax credit (section 16(1))
• Registered person
• supply used in business
• credit Availment through electronic credit ledger
ii) conditions for availing input tax credit (section 16(2))
• Possession of tax paying documents
• receipt of supply by recipient
• payment of tax to the government
• furnishing of the return
• on receipt of last lot of the inputs
• payment to supplier within 180 days
• recipient shall be entitled to avail of the credit of input tax which is reversed
• No depreciation

¶ Documents required to claim ITC (section 16(3))
• Invoice by supplier
• Invoice by recipient
• Debit note
• other taxpaying documents

Valuation of taxable supply (Part5) (Lecture 31) : https://youtu.be/JiEzluMPUg

Valuation of taxable supply (Part4) (Lecture 30) : https://youtu.be/pNoMQZhIcOs
Valuation of taxable supply (Part3) (Lecture 29) : https://youtu.be/lBm1VKnG96c
Valuation of taxable supply (Part2) (Lecture 28) : https://youtu.be/i6ULZBqdlQ

Valuation of taxable supply (Part1) (Lecture 27) :
https://youtu.be/ayYLadYaLxE
Determination of place of supply Part2 (lecture 26) : https://youtu.be/1wYnyECTYyM
Determination of place of supply Part1 (lecture 25) :
https://youtu.be/znw8o7VQL_w
Nature of supplies : Intrastate \u0026 Interstate (lecture 24) : https://youtu.be/9MBWEAKDM
Integrated goods and services Act / IGST Act Part 2 / levy and collection of tax in IGST (lecture 23) : https://youtu.be/q0vXk7j3dxs

Integrated goods and services Act / IGST Act Part 1 (lecture 22) : https://youtu.be/prAP6aMB06s

Time of supply Part 3 (lecture 21) :
https://youtu.be/4cCvv6IPxj4

Time of supply Part 2 (lecture 20) :
https://youtu.be/3IjjzeOdnO8

Time of supply Part 1 (Lecture 19) :
https://youtu.be/LIINGMDQu6E

composition scheme Part 4 (lecture 18) :
https://youtu.be/10l6UWWZ3Ak

composition scheme Part 3 (lecture 17) :
https://youtu.be/JGLcvpEWJ4

composition scheme Part 2 (lecture 16) :
https://youtu.be/10l6UWWZ3Ak

Composition scheme Part 1 (Lecture 15) :
https://youtu.be/E5niVkzl_ck

Levy and collection of tax in GST Part 2 (lecture 14) :https://youtu.be/sQHEJT4sIzg

Levy and collection of tax in GST Part 1 (lecture 13) :
https://youtu.be/9M5mhwN9XOM

Composite and mixed supply / taxable event and scope of supply party (lecture 12) :
https://youtu.be/1ojEzlBM3Aw

Taxable event and scope of supply part 2 (lecture 11) : https://youtu.be/kFtFR_yQNI

Taxable event and scope of supply (lecture 10) : https://youtu.be/b5e6yyItpbU

Administration of GST part 2 (lecture 9) :
https://youtu.be/44XbF6tJzRI

Administration of GST part 1 (lecture 8) : https://youtu.be/38aXJ5XxCMI

Implementation of gst in India (lecture 7) : https://youtu.be/2YsN8IaRoKE

gst meaning and features part2 (lecture 6):
https://youtu.be/EcoxcDNZL0

gst meaning and features part1 (lecture 5): https://youtu.be/¶ concept of Gst ||

overview of gst (lecture 4) : https://youtu.be/fsvtts0LJhQ

Tax structure before \u0026 After implementation of GST (lecturer 3 ): https://youtu.be/TNnHq2GWys0

for direct vs indirect tax (lecture 2) : https://youtu.be/ozyCRruJm4Q

For Meaning, Features \u0026 objectives of tax and difference between duty, fee, penalty \u0026 tax ( lecture 1 ): https://youtu.be/DIvYoL6e2E

Input_tax_credit
what_is_ITC
input_tax
credit
eligibility_for_input_tax_credit
conditions_for_Itc
documents_to_claim_Itc
gst
bcom_5th_sem
bcom_bba_mcom_mba
ca_cma_cs
hindi
net_jrf

Input tax Credit (ITC) - Part 1

What Is INPUT TAX CREDIT Under Gst? || Simple meaning of ITC || GST Lectures for CA/CMA/B.com/M.com


inputtaxcredit gst gstlectures

What Is INPUT TAX CREDIT Under Gst? || Simple meaning of ITC || GST Lectures for CA/CMA/B.com/M.com

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ input tax คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *