Skip to content
Home » [Update] e-PaySLF : กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา อัพเดทฉบับ 2021 | กยศ.หักเงินเดือน – NATAVIGUIDES

[Update] e-PaySLF : กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา อัพเดทฉบับ 2021 | กยศ.หักเงินเดือน – NATAVIGUIDES

กยศ.หักเงินเดือน: คุณกำลังดูกระทู้

 e-PaySLF

ระบบ e-PaySLF เปิดให้องค์กรนายจ้างพิมพ์ใบ Pay In Slip เพื่อนำไปชำระเงินฯ ได้ตามช่องทางดังนี้

  1. กรณีชำระด้วยเงินสด ชำระได้ที่สาขาของ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารทหารไทย และธนาคารกรุงเทพ
  2. กรณีชำระด้วยเช็ค ต้องเป็นเช็คของ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารกสิกรไทย และ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยใช้เช็คของสาขาที่เปิดบัญชี และใช้บริการชำระ ณ สาขาที่เปิดบัญชี
  3. กรณีชำระเป็นแคชเชียร์ ต่างธนาคาร องค์กรนายจ้างสามารถนำแคชเชียร์เช็คของทุกธนาคาร สาขาในกรุงเทพ และปริมณฑล ไปชำระเงิน ณ สาขาของธนาคารกรุงไทย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนเวลา 14:00 น.
  4. กรณีชำระด้วยตั๋วแลกเงินของทุกธนาคาร ชำระได้ที่สาขาของธนาคารกรุงไทย ที่อยู่ในเขตจังหวัดเดียวกันกับสาขาธนาคารที่ออกตั๋วแลกเงินก่อนเวลา 14:00 น.
  5. กรณีชำระเงินด้วย Mobile banking และ ATM สามารถชำระได้ผ่านบริการของธนาคารทหารไทย
  6. กรณีชำระด้วยการชำระเงินผ่านอิเล็กทรอนิกส์ สามารถชำระผ่านบริการของธนาคารกรุงไทย (KTB-Corporate Online คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ), ธนาคารออมสิน, ธนาคารกสิกรไทย คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ, ธนาคารทหารไทย (TMB Business Click คลิกเพื่อดาวน์โหลดคู่มือ)

กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
– จะมีค่าธรรมเนียมการชำระเงิน 5 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารกสิกรไทย
    – ชำระด้วยเงินสด หรือเช็ค จะมีค่าธรรมเนียม 15 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
– ชำระผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ จะมีค่าธรรมเนียม 15 บาท ต่อ 1 Pay In Slip
กรณีที่ชำระ ณ ธนาคารกรุงเทพ
    – รายการชำระในเขตมีค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่อ 1 รายการ
– รายการชำระนอกเขตมีค่าธรรมเนียม 10 บาท ต่อ 1 รายการ (ส่วนที่เกิน 200,000บาท คิด 0.1% สูงสุด 1000 บาท)
* หมายเหตุ ค่าธรรมเนียมเป็นไปตามที่แต่ละธนาคารกำหนด โปรดตรวจสอบกับธนาคาร ก่อนการชำระเงิน

[Update] กยศ. เอาจริง! เตรียมหักหนี้ผู้กู้ที่เป็นลูกจ้างเอกชนผ่านบัญชีเงินเดือน | กยศ.หักเงินเดือน – NATAVIGUIDES

By using this website, you agree to our
cookie policy.


ep 1การหักเงินเดือนตามพรบ กยศ 2560


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ep 1การหักเงินเดือนตามพรบ กยศ 2560

กยศ บังคับนายจ้างหักหนี้ #กยศ #ชำระหนี้กยศ #หักเงินเดือน #m_peerapat199


กยศ บังคับนายจ้างหักหนี้ กยศ ชำระหนี้กยศ หักเงินเดือน m_peerapat199
ข้อมูลจาก : ข่าวกยศ
เนื้อหาสาระสำคัญของกฏหมายฉบับนี้ (แบบย่อ)
ผู้กู้ยืมเงินมีหน้าที่
(1) ให้ความยินยอมในขณะทำสัญญากู้ยืมเงิน เพื่อให้ผู้มีหน้าที่จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1)
แห่งประมวลรัษฎากร หักเงินได้พึงประเมินของตนตามจำนวนที่กองทุนแจ้งให้ทราบเพื่อชำระเงินกู้ยืม
เพื่อการศึกษาคืนกองทุน
(2) แจ้งสถานะการเป็นผู้กู้ยืมเงินต่อหัวหน้าหน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชนที่ตนทำงานด้วยภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่เริ่มปฏิบัติงาน และยินยอมให้หักเงินได้พึงประเมินของตนเพื่อดำเนินการตามมาตรา 51
(3) ยินยอมให้กองทุนเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของตนที่อยู่ในครอบครองของบุคคลอื่น รวมทั้งยินยอม
ให้กองทุนเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน และการชำระเงินคืนกองทุน

นายจ้างของลูกจ้างผ้ที่กู้ยืมเงินของ กยศ. ทั้งภาครัฐและเอกชน มีหน้าที่
หักเงินได้พึงประเมินของผู้กู้ยืมเงินซึ่งเป็นพนักงาน หรือลูกจ้างของผู้จ่ายเงินได้พึงประเมินดังกล่าว
เพื่อชำระเงินกู้ยืมคืนตามจำนวนที่กองทุนแจ้งให้ทราบ โดยให้นำส่งกรมสรรพากรภายในกำหนดระยะ
เวลานำส่งภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

เนื้อหาสาระสำคัญของกฏหมายฉบับนี้ (แบบเต็ม)
พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2560 ได้มีผลบังคับใช้แล้ว เมื่อวันที่ 27 มกราคมที่ผ่านมา สาระสำคัญระบุให้ยกเลิกพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2541 นอกจากนี้ ยังมีมาตรการเข้มงวดในการชำระคืนเงินกู้เพื่อการศึกษา หลังจากที่ผ่านมาประสบปัญหาผู้กู้ไม่ยอมใช้คืนคิดเป็นวงเงินมหาศาล
พ.ร.บ.กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ.2560 ในหมวด 4 การให้เงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา
มาตรา 42 ผู้กู้ยืมเงินมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามสัญญากู้ยืมเงินโดยเคร่งครัดเพื่อประโยชน์ในการบริหารกองทุนและการติดตามการชำระเงินคืนกองทุน ผู้กู้ยืมเงินมีหน้าที่ ดังนี้
(1) ให้ความยินยอมในขณะทำสัญญากู้ยืมเงิน เพื่อให้ผู้มีหน้าที่จ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร หักเงินได้พึงประเมินของตนตามจำนวนที่กองทุนแจ้งให้ทราบเพื่อชำระเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาคืนกองทุน
(2) แจ้งสถานะการเป็นผู้กู้ยืมเงินต่อหัวหน้าหน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชนที่ตนทำงานด้วยภายใน 30 วันนับแต่วันที่เริ่มปฏิบัติงาน และยินยอมให้หักเงินได้พึงประเมินของตนเพื่อดำเนินการตามมาตรา 51
(3) ยินยอมให้กองทุนเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของตนที่อยู่ในครอบครองของบุคคลอื่น รวมทั้งยินยอมให้กองทุนเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการกู้ยืมเงิน และการชำระเงินคืนกองทุน
นอกจากนี้ ในหมวด 5 มาตรา 44 เมื่อผู้กู้ยืมเงินสำเร็จการศึกษาหรือเลิกการศึกษาแล้ว มีหน้าที่ต้องชำระเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ได้รับไปตามสัญญากู้ยืมเงินคืนให้กองทุน ตามจำนวน ระยะเวลา และวิธีการที่กองทุนแจ้งให้ทราบ
ผู้จัดการอาจผ่อนผันให้ผู้กู้ยืมเงินชำระเงินคืนกองทุนแตกต่างไปจากจำนวนระยะเวลา หรือวิธีการที่กำหนดไว้ตามวรรคหนึ่ง หรือลดหย่อนหนี้ หรือระงับการชำระเงินคืนกองทุน ตามที่ผู้กู้ยืมเงินร้องขอเป็นรายบุคคล หรือเป็นการทั่วไปก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกำหนดตามมาตรา 19 (11) ในกรณีที่ผู้กู้ยืมเงินผู้ใดผิดนัดการชำระเงินคืนกองทุน และไม่ได้รับอนุญาตให้ผ่อนผันตามวรรคสาม คณะกรรมการจะกำหนดให้ผู้กู้ยืมเงินต้องเสียเงินเพิ่มอีกไม่เกินร้อยละ 1.5 ต่อเดือนก็ได้

กยศ บังคับนายจ้างหักหนี้ #กยศ #ชำระหนี้กยศ #หักเงินเดือน #m_peerapat199

กยศ.ช่วยลูกหนี้ หักเงินเดือนขั้นต่ำเพียง 10 บาท ผ่อนหนี้สูงสุด 30 ปี


กยศ.ปรับเงื่อนไขการผ่อนชำระ ผู้กู้ยืมที่อยู่ในระบบหักเงินเดือนขั้นต่ำเพียง 10 บาทต่อเดือน เพื่อช่วยเหลือผู้กู้ยืมที่ได้รับผลกระทบจากโควิด19

นายชัยณรงค์ กัจฉปานันท์ ผู้จัดการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หรือ กยศ. เปิดเผยว่า คณะกรรมการกองทุนฯ ได้มีมติเห็นชอบแนวทางการปรับโครงสร้างหนี้ ปรับเปลี่ยนลำดับตัดชำระหนี้ และเปลี่ยนเงื่อนไขการผ่อนชำระ สำหรับผู้กู้ยืมกลุ่มก่อนฟ้องคดี เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ค้างชำระ และลดปัญหาหนี้ค้างชำระของกองทุน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด19

โดยขยายระยะเวลาผ่อนได้สูงสุด 30 ปี ปรับเงื่อนไขการผ่อนชำระเงินคืน สำหรับผู้กู้ยืมรายใหม่ และผู้กู้ยืมที่อยู่ระหว่างปลอดหนี้ และยังไม่ครบกำหนดชำระหนี้ จากเดิมที่ผ่อนชำระเป็นรายปี ปรับให้ผ่อนชำระเป็นรายเดือน ในอัตราเท่ากันทุกเดือน และเพิ่มระยะเวลาการผ่อนชำระจาก 15 ปี เป็น 30 ปี ส่วนผู้ที่อยู่ในระบบหักเงินเดือน สามารถขอปรับลดจำนวนเงินที่หักเหลือเพียง 10 บาทต่อเดือน มีผลตั้งแต่เดือนสิงหาคม ถึงมิถุนายน 65

อ่านข่าวเพิ่มเติมที่ : https://ch3plus.com/news/program/250000

รายการ เรื่องเด่นเย็นนี้​ วันที่ 22 ส.ค.2564
ออกอากาศ ทุกวันจันทร์ ศุกร์
ทางช่อง 33 HD เวลา 16.30 น. 18.00 น.
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารก่อนใครได้ที่นี่
ch3plus : https://ch3plus.com/news/programs/ruangden
facebook : https://www.facebook.com/Ch3ThailandNews​
Twitter : https://twitter.com/Ch3ThailandNews​
YouTube : https://www.youtube.com/Ch3ThailandNews

กยศ.ช่วยลูกหนี้ หักเงินเดือนขั้นต่ำเพียง 10 บาท ผ่อนหนี้สูงสุด 30 ปี

เมื่อโดนยึดทรัพย์ โดนบังคับคดี ขายทอดตลาดทำไงดี


เมื่อโดนบังคับคดี โดนยึดทรัพย์ ยึดบ้าน ยึดที่ดินออกขายทอดตลาด
จะทำยังไงดีครับคุณทนาย ???
กฎหมายเพื่อความสุขมีทางออกให้คุณดังต่อไปนี้
๑.ติดต่อขอชำระหนี้ ขอผ่อนชำระ ไกล่เกลี่ยกับเจ้าหนี้ ตกลงกันได้ จ่ายครบถอนการยึดบ้าน ยึดที่ดิน ฯลฯ
๒.ตกลงไม่ได้ เจ้าหนี้ไม่ยอม เงื่อนไขไปกันไม่ได้ ก็ใช้วิธีหาเงินมาจ่ายหนี้ ปิดหนี้ จ่ายครบ ก็ขอถอนการยึดบ้านที่ดินได้
๓.ตกลงกันไม่ได้ ไม่มีเงินไปปิดหนี้ บ้านที่ดินถูกนำออกขายทอดตลาดแล้ว
ก็ให้ญาติไปยกป้ายสู้ราคาแทน…บ้านยังเป็นของคุณ แต่มีชื่อญาติเป็นเจ้าของ
๔.ตกลงไม่ได้ ไม่มีเงินปิดหนี้ ไม่มีเงินซื้อบ้านคืน ก็คงต้องตัดใจ ประกาศขายให้คนอื่น..
๕.โดนยึดทรัพย์แล้ว ไม่มีเงินปิดหนี้ ไม่มีเงินซื้อบ้านคืน ขายก็ไม่ได้ ก็แนะนำให้ไปสำนักงานบังคับคดีในวันที่มีการประกาศขายทอดตลาดบ้านของคุณ เพื่อไปคัดค้านราคา ให้ขายได้ในราคาที่สูงขึ้นไป…
๖.โดนบังคับคดี โดยยึดทรัพย์ยึดบ้าน ยึดที่ดินแล้ว ขายก็ไม่ได้ คัดค้านราคาขายทอดตลาดแล้ว หมดสิทธิคัดค้านแล้ว ก็ต้องทำใจครับ…หาใหม่ เริ่มต้นใหม่ได้ครับ…
สุดท้ายอย่าลืมกดไลค์ กดแชร์ กดติดตามด้วยนะครับ
และอย่าลืมกดติดตามเพจ กฎหมายเพื่อความสุข ได้ที่นี้ครับ..
https://www.facebook.com/TheerawatLaw/
Line ID: theerawat.555
แล้วพบกันใหม่ที่คลิปต่อไปครับ
กฎหมายเพื่อความสุข เนรมิตชีวิตที่ดีกว่า

เมื่อโดนยึดทรัพย์ โดนบังคับคดี ขายทอดตลาดทำไงดี

กยศ.เตรียมหักเงินเดือนผู้กู้ชำระหนี้ผ่านเงินเดือน


หักหนี้กยศ หักหนี้กยศผ่านเงินเดือน กยศ หักเงินเดือนของกยศ

กยศ.เตรียมหักเงินเดือนผู้กู้ชำระหนี้ผ่านเงินเดือน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ กยศ.หักเงินเดือน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *