Skip to content
Home » [Update] หลักการเติม s และ es หลังคำนาม พร้อมตัวอย่าง | tooth พหูพจน์ – NATAVIGUIDES

[Update] หลักการเติม s และ es หลังคำนาม พร้อมตัวอย่าง | tooth พหูพจน์ – NATAVIGUIDES

tooth พหูพจน์: คุณกำลังดูกระทู้

ในภาษาอังกฤษ การเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ เรามักจะเติม s หรือ es ต่อท้าย อย่างเช่น boy เป็น boys, cat เป็น cats, dish เป็น dishes

แต่ก็มีบางคำที่ต้องเปลี่ยนตัวอักษรก่อนแล้วค่อยเติม es อย่างเช่น candy เป็น candies, fly เป็น flies หรือบางคำก็เปลี่ยนตัวอักษรอย่างเดียว โดยที่ไม่ต้องเติม s หรือ es อย่างเช่น foot เป็น feet, man เป็น men

จากที่เขียนมานี้ หลายๆคนก็คงสงสัยว่า แล้วเราจะรู้ได้ยังไง ว่าคำไหนต้องใช้รูปพหูพจน์แบบไหน

สำหรับใครที่ยังไม่รู้ก็ขอให้วางใจได้ เพราะในบทความนี้ ชิววี่ได้เรียบเรียงเนื้อหาเกี่ยวกับกฏการเติม s และ es หลังคำนาม มาให้ได้เรียนรู้กันแบบง่ายๆแล้ว ถ้าเพื่อนๆพร้อมแล้ว เราไปดูกันเลย

ทบทวนความรู้
คำนามเอกพจน์ คือคำนามที่แสดงถึงสิ่งที่มีจำนวนหนึ่งหน่วย ซึ่งก็คือคำนามรูปปกติทั่วไป เช่น friend, pen, bus, foot, ox
คำนามพหูพจน์ คือคำนามที่แสดงถึงสิ่งที่มีจำนวนตั้งแต่สองหน่วยขึ้นไป มักจะเป็นคำนามรูปที่เติม s หรือ es ต่อท้าย เช่น friends, pens, buses แต่ก็มีบางคำที่ใช้การเปลี่ยนหรือเติมตัวอักษรอื่นแทน เช่น feet, oxen

หลักการเติม s และ es หลังคำนาม

การเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ หลักๆแล้วจะแบ่งได้เป็น 5 แบบ คือ

  1. เติม s ได้เลย เช่น cat เป็น cats, girl เป็น girls
  2. เติม es ได้เลย เช่น dish เป็น dishes, potato เป็น potatoes
  3. เปลี่ยนตัวอักษรท้ายคำแล้วค่อยเติม es เช่น wolf เป็น wolves, enemy เป็น enemies
  4. เปลี่ยนหรือเพิ่มตัวอักษรบางตัวหรือเปลี่ยนทั้งคำ เช่น tooth เป็น teeth, ox เป็น oxen, person เป็น people
  5. บางคำก็ใช้รูปพหูพจน์เหมือนเอกพจน์ เช่น deer, sheep

ซึ่งถ้าเจาะรายละเอียด จะแบ่งได้เป็นหลักการ 10 ข้อดังนี้

1. คำนามทั่วไปเติม s ต่อท้ายได้เลย

คำนามที่ไม่เข้าข่ายหลักการข้ออื่น เราสามารถเติม s ต่อท้ายตรงๆได้เลย ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAntAntsมดBookBooksหนังสือGirlGirlsเด็กผู้หญิงHouseHousesบ้านTableTablesโต๊ะ, ตารางTreeTreesต้นไม้

2. คำนามที่ลงท้ายด้วย s, ss, sh, ch, x หรือ z ให้เติม es ต่อท้าย

คำนามที่ลงท้ายด้วย s, ss, sh, ch, x หรือ z เราจะต้องเติม es ต่อท้ายแทน s ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBusBusesรถโดยสารประจำทางLensLensesเลนส์ClassClassesชั้นเรียน, คาบเรียนDressDressesชุดเดรสBrushBrushesแปรงDishDishesจานBeachBeachesชายหาดWatchWatchesนาฬิกาBoxBoxesกล่องFoxFoxesสุนัขจิ้งจอกBlitzBlitzesการโจมตีแบบสายฟ้าแลบBuzzBuzzesความรู้สึกตื่นเต้น, เสียงหึ่ง เช่น เสียงผึ้ง

3. คำนามบางคำที่ลงท้ายด้วย s หรือ z ต้องซ้ำ s หรือ z แล้วค่อยเติม es

คำนามที่ลงท้ายด้วย s หรือ z ปกติแล้วจะเติม es ได้เลย แต่ก็มีบางคำที่เราจะต้องซ้ำ s หรือ z ก่อน แล้วค่อยเติม es ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายGasGassesแก๊สQuizQuizzesแบบทดสอบWhizWhizzesผู้มากความสามารถในบางด้าน

4. คำนามที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe ให้เปลี่ยน f หรือ fe เป็น v แล้วค่อยเติม es

คำนามที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe เราจะเปลี่ยน f หรือ fe เป็น v ก่อน แล้วค่อยเติม es ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายLeafLeavesใบไม้ShelfShelvesชั้นวางของWolfWolvesหมาป่าKnifeKnivesมีดLifeLivesชีวิตWifeWivesภรรยา

แต่บางคำที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe ก็จะเติม s โดยที่ไม่ต้องเปลี่ยน f หรือ fe เป็น v

คำพวกนี้ส่วนใหญ่มักจะเป็นคำที่หน้า f เป็นสระ 2 ตัวติดกัน (a, e, i, o, u) แต่บางคำก็ไม่ใช่ อย่างเช่น chef, safe

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBeliefBeliefsความเชื่อChefChefsเชฟทำอาหารProofProofsหลักฐานReefReefsแนวหินโสโครกใต้ทะเลRoofRoofsหลังคาSafeSafesตู้เซฟ

5. คำนามที่ลงท้ายด้วย y ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es ยกเว้นถ้าหน้า y เป็นสระ (a, e, i, o, u) ให้เติม s ได้เลย

คำนามที่ลงท้ายด้วย y เราจะเปลี่ยน y เป็น i แล้วค่อยเติม es ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBabyBabiesเด็กทารกCityCitiesเมืองขนาดใหญ่EnemyEnemiesศัตรูFlyFliesแมลงวันLibraryLibrariesห้องสมุดPuppyPuppiesลูกสุนัข

แต่ถ้าหน้า y เป็นสระ (a, e, i, o, u) เราจะเติม s ได้เลย

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBoyBoysเด็กผู้ชายDayDaysวันMonkeyMonkeysลิงToyToysของเล่นTrayTraysถาดWayWaysหนทาง, วิธี

6. คำนามที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es

คำนามที่ลงท้ายด้วย o เราจะเติม es ต่อท้าย ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายDominoDominoesโดมิโน่EchoEchoesเสียงสะท้อนHeroHeroesฮีโร่MosquitoMosquitoesยุงPotatoPotatoesมันฝรั่งTomatoTomatoesมะเขือเทศ

แต่ก็มีบางคำที่ใช้การเติม s แทน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคำที่หน้า o เป็นสระ (a, e, i, o, u) แต่บางคำก็ไม่ใช่ อย่างเช่น piano

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAudioAudiosเสียงBambooBamboosต้นไผ่, ไม้ไผ่PianoPianosเปียโนStudioStudiosสตูดิโอVideoVideosวิดีโอZooZoosสวนสัตว์

นอกจากนี้ ยังมีบางคำที่สามารถเติมได้ทั้ง s และ es คือใช้ได้ทั้ง 2 แบบเลย อย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายBuffalo*Buffalos
BuffaloesควายCargoCargos
Cargoesสินค้าที่บรรทุกโดยยานพาหนะขนาดใหญ่ เช่น เรือ เครื่องบินMangoMangos
Mangoesมะม่วงMottoMottos
Mottoesคติพจน์TornadoTornados
Tornadoesพายุทอร์นาโดVolcanoVolcanos
Volcanoesภูเขาไฟ

*คำว่า buffalo สามารถใช้รูปพหูพจน์ได้หลายแบบ ทั้ง buffalos (แบบเติม s), buffaloes (แบบเติม es) และ buffalo (เหมือนรูปเอกพจน์)

7. คำนามที่มาจากภาษาอื่น บางคำจะมีรูปพหูพจน์เฉพาะ

คำนามที่มาจากภาษากรีกที่ลงท้ายด้วย sis เมื่อเป็นรูปพหูพจน์ เราจะเปลี่ยนให้เป็น ses ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAnalysisAnalysesการวิเคราะห์, ผลวิเคราะห์BasisBasesหลักสำคัญ, ส่วนประกอบหลักCrisisCrisesช่วงวิกฤติNeurosisNeurosesโรคประสาทOasisOasesโอเอซิส, แหล่งน้ำกลางทะเลทรายThesisThesesวิทยานิพนธ์

คำนามที่มาจากภาษาลาตินที่ลงท้ายด้วย us เราจะเปลี่ยนให้เป็น i ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAlumnusAlumniศิษย์เก่าCactusCacti (หรือ cactuses)ต้นกระบองเพชรFungusFungiเห็ด, เชื้อรา

แต่คำที่มาจากภาษาอื่นบางคำก็ใช้รูปพหูพจน์ได้หลายแบบ อย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAppendixAppendices
AppendixesภาคผนวกCactusCacti
Cactusesต้นกระบองเพชรCurriculumCurricula
CurriculumsหลักสูตรFormulaFormulae
Formulasสูตร เช่น สูตรคณิตฯStadiumStadia
Stadiumsสนามกีฬาขนาดใหญ่ThesaurusThesauri
Thesaurusesพจนานุกรมคำพ้อง

นอกจากตัวอย่างเหล่านี้แล้ว ยังมีคำต่างประเทศลักษณะอื่นอีก ที่มีรูปพหูพจน์เฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะเป็นคำที่พบเจอได้ไม่บ่อย หรือไม่ก็เป็นคำที่มักจะใช้รูปพหูพจน์เป็นปกติอยู่แล้ว (เช่น data, criteria ซึ่งเป็นรูปพหูพจน์ของ datum และ criterion ตามลำดับ)

8. คำนามบางคำใช้การเปลี่ยนหรือเติมตัวอักษรบางตัว โดยที่ไม่ต้องเติม s หรือ es

คำนามบางคำจะใช้การเปลี่ยนตัวอักษรที่เป็นสระ (a, e, i, o, u) เช่น เปลี่ยนจาก o เป็น e หรือเปลี่ยนจาก a เป็น e ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายFiremanFiremenพนักงานดับเพลิงFootFeetเท้าGooseGeeseห่านManMenผู้ชายToothTeethฟันWomanWomenผู้หญิง

และบางคำก็ใช้การเติมตัวอักษรอื่นที่ไม่ใช่ s หรือ es อย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายChildChildrenเด็กOxOxenวัว

9. คำนามบางคำจะเปลี่ยนแทบทั้งคำ โดยที่ไม่ได้เติม s หรือ es

คำนามบางคำจะมีรูปพหูพจน์ที่แตกต่างจากเดิมมาก เหมือนเป็นคนละคำกันเลย ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายMouseMiceหนูPersonPeopleคน

10. คำนามบางคำมีรูปเอกพจน์และพหูพจน์เหมือนกัน

คำนามบางคำจะมีรูปเอกพจน์และพหูพจน์เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAircraftAircraftอากาศยานDeerDeerกวางDiceDiceลูกเต๋าFish*FishปลาSheepSheepแกะSpeciesSpeciesสายพันธุ์

*คำว่า fish จริงๆแล้วมีรูปพหูพจน์ 2 แบบ คือ fish และ fishes แต่ในกรณีทั่วไป เช่นการบอกว่ามีปลาหลายตัว เราจะนิยมใช้ fish มากกว่า ส่วน fishes นั้นมักจะใช้เมื่อพูดถึงปลาหลายๆสายพันธุ์

เป็นยังไงบ้างครับกับกฏการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ ทีนี้เพื่อนๆก็คงจะเข้าใจและสามารถเปลี่ยนพจน์ของคำนามได้ถูกต้องมากขึ้นแล้วนะครับ

อย่าลืมนะครับ ภาษาอังกฤษยิ่งเรียนรู้ ยิ่งฝึก ก็ยิ่งเก่ง สำหรับบทความนี้ ชิววี่ต้องขอตัวลาไปก่อน See you next time

[NEW] คำนามเอกพจน์ (Singular Noun) และคำนามพหูพจน์ (Plural Noun) ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย | tooth พหูพจน์ – NATAVIGUIDES

คำนามเอกพจน์ คือ คำนามที่แสดงถึงสิ่งของเพียงชิ้นเดียว คนๆเดียว หรือสัตว์ตัวเดียว เช่น กระเป๋า 1 ใบ (a bag) ผู้ชาย 1 คน (a man) พูดง่ายๆเลยก็คือ อะไรก็ตามที่มีเพียงหนึ่งหน่วย

คำนามพหูพจน์ คือ คำนามที่แสดงถึงสิ่งของที่มีมากกว่า 1 ชิ้น เช่น กระเป๋า 2 ใบ (2 bags) ผู้ชาย 4 คน (4 men) เป็นต้น

อย่างที่เรารู้กันดีว่า ในภาษาอังกฤษเวลาที่เราต้องการเปลี่ยน “คำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์” เพื่อบอกปริมาณสิ่งของที่เพิ่มขึ้นนั้นสามารถทำได้หลายวิธี มาดูกันว่ามีวิธีการใดบ้าง
วิธีการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์มีทั้งหมด 7 วิธีด้วยกัน

1. เติม –s ท้ายคำนามได้เลย

       ได้ยินกันบ่อยมากกก เรื่องของการ เติม –s เวลาที่เราต้องการพูดถึงคำนามที่มีมากกว่าหนึ่ง ส่วนมากเราสามารถเติม –s ไปหลังคำนามได้เลย เช่น ห้างสรรพสินค้า 3 แห่ง จากเดิมที่ใช้ Mall ก็ให้เติม –s ลงไป เป็น Malls แทน

ตัวอย่าง I heard that Central will renovate three of their shopping malls this year.

2. หากคำนามลงท้ายด้วย ch, s, ss, sh, x, และ z ต้องเติม -es ท้ายคำนั้นๆ

Singular
Plural
คำแปล

bush (บุช)
bushes (บุช-เชส)
พุ่มไม้

bus (บัส)
buses (บัส-เซส)
รถเมล์

dress (เดรส)
dresses (เดรส-เซส)
ชุดกระโปรง

church (เชิร์ช)
churches (เชอร์-เชส)
โบสถ์

3. คำนามที่ลงท้ายด้วย O แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ เติม –s หรือ เติม –es
– ส่วนมากแล้วคำนามที่ลงท้ายด้วย –o มักจะเติม –s ได้เลย เช่น Studio (สตูดิโอ) เปลี่ยนเป็น studios (สตูดิโอส) , Zoo (ซู) เปลี่ยนเป็น zoos (ซูส)
– บางคำที่ลงท้ายด้วย –o จะต้องเติม –es เช่น

Singular
Plural
คำแปล

buffalo (บัฟ-ฟา-โลว์)
buffaloes (บัฟ-ฟา-โลว์ส)
ควาย

domino (ดอ-มิ-โนว์)
dominoes (ดอ-มิ-โนว์ส)
โดมิโน่

hero (ฮี-โรว์)
heroes (ฮี-โรว์ส)
ฮีโร่

echo (เอ็ค-โคว์)
echoes (เอ็ค-โคว์ส)
เสียงก้อง

mosquito (มอส-กี-โทว์)
mosquitoes (มอส-กี-โทว์ส)
ยุง

potato (เพอะ-เท-โทว์)
potatoes (เพอะ-เท-โทว์ส)
มันฝรั่ง

tomato (โท-เม-โทว์)
tomatoes (โท-เม-โทว์ส)
มะเขือเทศ

 

4.

คำนามที่ลงท้ายด้วย –y แบ่งเป็น 2 ประเภท คือเติม-s หรือเติม –es

    ถ้าหน้า –y เป็นสระ –a, -e, -i, -o, -u คำนามตัวนั้นจะต้องเติม –s เช่น

Singular
Plural
คำแปล

monkey (มัง-คิ)
monkeys (มัง-คิส์)
ลิง

birthday (เบิร์ธ-เดย์)
birthdays (เบิร์ธ-เดย์ส)
วันเกิด

key (คีย์)
keys (คีย์ส)
กุญแจ

way (เวย์)
ways (เวย์ส)
เส้นทาง

chimney (ชิม-นีย์)
chimneys (ชิม-นีย์ส)
ปล่องไฟ

 สระในภาษาอังกฤษมีอยู่ 5 ตัว คือ a, e, i, o, u

    ถ้าหน้า –y เป็นพยัญชนะ เราต้องตัด y เป็น i แล้วเติม –es เช่น

Singular
Plural
คำแปล

enemy (เอเน-มิ่)
enemies (เอเนมิ่ส์)
ศัตรู

berry (เบร์-ริ่)
berries (เบร์ริ่ส์)
ลูกเบอร์รี่

duty (ดิว-ทิ่)
duties (ดิว-ทิ่ส์)
หน้าที่

spy (สปาย)
spies (สปายส์)
สายลับ

library (ไล-แบร-ริ่)
libraries (ไล-แบร-ริ่ส์)
ห้องสมุด

5. คำนามที่ลงท้ายด้วย –f หรือ –fe ให้เปลี่ยนตัว –f หรือ –fe เป็น –v แล้วเติม –es เช่น

Singular
Plural
คำแปล

 life (ไลฟ)
lives (ลายฟส์)
ชีวิต

 shelf (เชลฟ์)
shelves (เชลฟส์)
ชั้นวางของ

 loaf (โลฟ)
loaves (โลฟส์)
ก้อนขนมปัง

 thief (ธีฟ)
thieves (ธีฟส์)
โจร

 wife (ไวฟ)
wives (ไวฟส์)
ภรรยา

6. คำนามบางคำ เวลาทำให้เป็นพหูพจน์ เราต้องเปลี่ยนรูปคำนั้นทันที
อันนี้เรามักจะพบเห็นกันอยู่บ่อยๆ เช่น

Singular
Plural
คำแปล

child (ชายลด์)
children (ชิล-เดริน)
เด็ก

tooth (ทูธ)
teeth (ทีธ)
ฟัน

foot (ฟุท)
feet (ฟีท)
เท้า

mouse (เมาส์)
mice (ไมส์)
หนู

man (แมน)
men (เม็น)
ผู้ชาย

7. คำนามบางคำ สามารถใช้รูปเดิมได้ทั้งเวลาเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์

        อันนี้ไม่ต้องเปลี่ยนรูป หรือเติมอะไรเลย ส่วนมากก็จะเป็นคำที่เกี่ยวกับสัตว์ทั้งนั้น มาดูกันว่ามีคำไหนบ้าง เช่น

  • fish 

  • deer  

  • sheep  

8. คำนามบางคำเป็นพหูพจน์อยู่เสมอ
คือต้องมี –s หรือ –es ต่อท้ายตลอด ไม่มีไม่ได้ เช่น

  • scissors

  • pants    

  • clothes    

  • jeans    

  • glasses   

  • noodles    

  • goods    

หลักการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์

1. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย s, ss, x, sh, ch, zz, และ z ให้เติม es ง่ายเวลาออกเสียง

  • bus – buses (รถประจำทาง)

  • kiss – kisses (จูบ)

  • fox – foxes (สุนขจิ้งจอก)

  • brush – brushes (แปรง)

  • witch – witches (แม่มด)

  • buzz – buzzes (เสียงของผึ้ง)

2. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย  o และหน้า o เป็นพยัญชนะ ให้เติม es

  • buffalo – buffaloes (ควาย)

  • mango – mangoes (มะม่วง)

  • tomato – tomatoes (มะเขือเทศ)

  • potato – potatoes (มันฝรั่ง)

*Remark* …ยกเว้นบางคำที่ข้างหน้า o เป็นพยัญชนะสามารถเติม s ได้เลย นักเรียนจะต้องสังเกตและจดจำคำศัพท์และการใช้ s และ es จากตัวอย่างที่ให้

ตัวอย่าง การเติม s หลังคำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย  o และหน้า o เป็นพยัญชนะ ให้เติม s ได้เลย

  • piano – pianos (เปียโน)

  • memo – memos (บันทึกข้อความ)

  • solo – solos (การบันเลงเพลงเดี่ยว)

  • photo – photos (รูปถ่าย)

3. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย o และหน้า o เป็นสระ ให้เติม s ได้เลย

  • radio – radios (วิทยุ)

  • bamboo – bamboos (ไม้ไผ่)

4. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย y และหน้า y เป็นพยัญชนะให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es

  • baby – babies (เด็กทารก)

  • copy – copies (สำเนา)

  • lady – ladies (สุภาพสตรี/คุณผู้หญิง)

  • candy – candies (ลูกกวาด/ลูกอม)

5. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย y และหน้า y เป็นสระ ให้เติม s ได้เลย

  • toy – toys (ของเล่น)

  • boy – boys (เด็กผู้ชาย)

  • day – days (วัน)

  • monkey – monkeys (ลิง)

6. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe  ให้เปลี่ยน f หรือ fe เป็น v แล้วเติม es

  • knife – knives (มีด)

  • leaf – leaves (ใบไม้)

  • half – halves (ครึ่งหนึ่ง)

  • shelf – shelves (ชั้นวางของ)

  • wife – wives (ภรรยา)

  • thief – thieves (ขโมย)

*Remark* …ยกเว้นบางคำที่ข้างหน้า f เป็นพยัญชนะ ให้เติม s ได้เลย โดยที่ไม่ต้องเปลี่ยน f หรือ ef เป็น v ก่อน

  • gulf – gulfs (อ่าว)

  • cliff – cliffs (หน้าผา)

  • scarf – scarfs หรือ scarves (ผ้าพันคอ) เมื่อเปลี่ยนเป็นพหูพจน์จะใช้ได้ทั้งสองแบบ

7. คำนามเอกพจน์ที่ลงท้ายด้วย f หรือ fe และหน้า f หรือ fe เป็นสระ ให้เติม s ได้เลย

  • roof – roofs (หลังคา)

  • belief – beliefs (ความเชื่อ)

  • chief – chiefs (หัวหน้า)

  • proof – proofs (หลักฐาน/พิสูจน์)

  • grief – griefs (ความเศร้าโศก)

  • fife – fifes (ขลุ่ย)

  • safe – safes (ตู้นิรภัย)

8. คำนามเอกพจน์เปลี่ยนรูปไปเลย เมื่อเป็นพหูพจน์

  • man – men (ผู้ชาย)

  • woman – women (ผู้หญิง)

  • tooth – teeth (ฝัน)

  • ox – oxen (วัวตัวผู้)

  • louse -lice (เหา/หมัด)

  • child – children (เด็ก)

  • mouse – mice (หนู)

  • person – people (คน/ประชาชน)

*Remark* …ยกเว้นบางคำที่มาจากภาษาลาตินหรือกรีก จะมีรูปเป็นพหูพจน์ตามภาษษเดิม

  • crisis – crises (เหตุฉุกเฉิน)

  • basis – bases (หลักสำคัญ/หลักเกณฑ์)

  • thesis – theses (ข้อสมมติ/วิทยานิพนธ์)

  • analysis – analyses (การวิเคราะห์)

9. คำนามมีรูปเหมือนกันทั้งคำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์

  • dear – dear (กวาง)

  • fish* – fish (ปลา)

  • sheep – sheep (แกะ)

  • salmon – salmon (ปลาแซลมอน)

  • cod – cod (ปลาคอด)

  • trout -trout (ปลาเทราท์)

*Remark* …เราสามารถเติม es หลัง fish เมื่อต้องการจะสื่อ หรือบอกว่ามี ปลาหลายสายพันธุ์

10. คำนามต่อไปนี้เป็นรูปพหูพจน์ แต่ต้องใช้เป็นเอกพจน์เสมอ

  • tactics (กลวิธี)

  • news (ข่าว)

  • headquarters (กองบัญชาการ)

  • means (วิธี)

  • statistics (สถิติ)

  • alms (การให้ทาน)

  • folks (สมาชิกในครอบครัว)

  • United Nations (สหประชาชาติ)


คำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

คำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์

Grammar ไม่น่าเบื่อ EP06 : คำนามเอกพจน์และพหูพจน์


เล่า Grammar แบบเข้าใจง่าย ไม่น่าเบื่อ ได้ฝึกฝนจริงจัง
ติดตามผลงานอื่นๆ ของทีมเราได้ที่
http://www.proudbookshop.com
IG : https://www.instagram.com/proudbook
Facebook : https://www.facebook.com/proudbook
twitter : https://www.twitter.com/proudbook

Grammar ไม่น่าเบื่อ EP06 : คำนามเอกพจน์และพหูพจน์

Singular and Plural I Learning the Grammar


Learning the Grammar, will only enable the students to acquire mastery over the Language. In communication usage of Grammar is important for any language. Explaining grammar with stories and passages makes a better understanding. In this DVD session we have explained basic English grammar using stories and passages which will improve your spoken and written English.

Singular and Plural I Learning the Grammar

Irregular plurals in English


Learn Irregular plural forms of the nouns with our video
Additional materials are here https://www.patreon.com/posts/41704104
Subscribe and learn English with us

Irregular plurals in English

[2021.11.13] \”ไม่เคย\” Ost. ส้มป่อย cover by ตี๋ ธนพล #TEeThanapon #ตี๋ธนพล #ส้มป่อย


[2021.11.13] งาน ToyotaFestival2021xTEE
\”ไม่เคย\” Ost. ส้มป่อย cover by ตี๋ ธนพล
First time on stage มันก็จะเกร็งๆหน่อย 🙂
ไม่เคย(เพลงประกอบภาพยนตร์ ส้มป่อย) ไม้เมือง 【MUSIC VIDEO】
https://youtu.be/tnkPPRhfRvE
Cr. Facebook Live : โตโยต้าสระบุรี
TEeThanapon ตี๋ธนพล ส้มป่อย
____________________________________
ติดตาม \”ตี๋ ธนพล\” ได้ทาง
Twitter : @TEe_Jaruji
https://twitter.com/Tee_Jaruji?s=20
Instagram : @TEe_Jaruji
https://www.instagram.com/tee_jaruji/
Weibo : TEe_Jaruji
https://weibo.com/u/6186540338
Tiktok : TEe_Jaruji
https://www.tiktok.com/@tee_jaruji
หรือ แฮชแท็ก TEeThanapon ตี๋ธนพล ทั้งทวิตเตอร์และไอจี

[2021.11.13] \

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ tooth พหูพจน์

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *