Skip to content
Home » [Update] วิธีใช้ To Do List เพิ่ม Productivity ตามแนวคิด GTD Getting Things Done | การใช้ do – NATAVIGUIDES

[Update] วิธีใช้ To Do List เพิ่ม Productivity ตามแนวคิด GTD Getting Things Done | การใช้ do – NATAVIGUIDES

การใช้ do: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

หากคุณเป็นคนหนึ่งที่รู้สึกหัวหมุนกับ To Do List ของงานการที่ถาโถมเข้ามาตั้งแต่จันทร์ถึงศุกร์ (จนบางทีลุกลามไปถึงวันหยุดเสาร์อาทิตย์) รู้สึกตัวอีกทีก็พบว่า Productivity หรือประสิทธิภาพการทำงานของตัวเองนั้นตกต่ำลงทุกไปทุกวัน

งานตัวเองก็ไม่มีทีท่าว่าจะทำทัน เพื่อนในทีมก็ขอให้ “ช่วยดูตรงนี้ให้หน่อยสิ” คุณหัวหน้าก็ชอบเดินเข้ามาเงียบๆ แล้วพูดกระซิบข้างหูว่า “ฝากหน่อยนะ” (พร้อมตบไหล่เบาๆ นัยว่าสู้ๆ นะ พี่เป็นกำลังใจให้…)

หันกลับมามองขอบหน้าจอคอม ก็เต็มไปด้วยกระดาษ Post it ที่เขียน To Do List เอาไว้ตั้งแต่สองเดือนก่อน จนตอนนี้สีของเจ้า Post it แผ่นนี้มันเริ่มซีดลงไปทุกที ซึ่งบางทีก็ไม่แน่ใจว่า To Do List นี้ ฉันยังต้อง do อยู่หรือเปล่านะ?

ใน iPhone, iPad มี Note Appให้ใช้ ก็มีจดใส่ในนั้นบ้าง แต่พอไปใช้ Window ก็มีโปรแกรมโพสอิทที่เปิดทิ้งไว้ “จดๆ ไว้ในนั้นก่อนละกันเนอะ”

ที่ทำงานว่าแย่แล้ว ตกเย็นกลับบ้านไปก็หนักไม่แพ้กัน

ผ้าก็ต้องซัก บ้านก็ต้องถู แถมลืมสั่งน้ำดื่มให้มาส่ง ค่าไฟก็กะว่าจะกดจ่าย ทำไมถึงได้ลืมตลอด! แถมเต้าฮวยที่ปากซอยที่แม่ฝากให้ซื้อ ก็ลืมอีก!

คุณเริ่มสบถกร่นด่าในใจเงียบๆ คนเดียว “ชีวิตหนอชีวิต ทำไมมันช่างวุ่นวายเสียจริง”

หรือไม่ก็ “ทำไมเราถึงขี้ลืมอย่างนี้ หรือว่าเราจะเริ่มเข้าสู่วัยชราด้วยอายุแค่ 28 (โอ้ววว ไม่นะ!)”

หากคุณยิ่งอ่านยิ่งรู้สึกว่า “นี่มันชีวิตที่แสนวุ่นวายของชั้นหนิ” บทความนี้เราจะขอแนะนำให้คุณรู้จักกับการใช้ To Do List ตามแนวคิดที่เรียกว่า Getting Things Done

Getting Things Done คืออะไร?

แนวคิด Getting Things Done หรือเรียกย่อๆ ว่า GTD คือแนวคิดที่ช่วยให้เราสามารถบริหารจัดการงาน หรือสิ่งที่ต้องทำ ให้สำเร็จและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ (Productive) โดยไม่ต้องเปลืองพลังงานสมอง

โดยแนวคิดนี้ถูกคิดค้นขึ้นโดยคุณ David Allen ผู้เขียนหนังสือ Getting Things Done ซึ่งแนวคิดนี้ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในแนวคิดที่ช่วยจุดประกายเรื่องของการจัดการการทำงานให้มีประสิทธิภาพ (Productivity) เริ่มให้เป็นที่พูดถึงในวงกว้างขึ้น

หลักการของ Getting Things Done

สำหรับใครที่ไม่มีเวลาไปหาหนังสือ Getting Things Done มาอ่าน

บทความนี้ขอสรุปแนวคิดหรือปรัชญาของ Getting Things Done ซึ่งมี 5 ขั้นตอน เพื่อให้คุณเข้าใจและสามารถเอาไประยุกต์ใช้งานได้จริงในเวลาไม่เกิน 15 นาที

การเริ่มเซตอัป To Do List

ก่อนที่เราจะเริ่มการทำตามหลัก Getting Things Done จะต้องมีการตระเตรียมเครื่องมือให้พร้อมเสียก่อน

สำหรับเครื่องมือที่เราใช้กัน จะแบ่งเป็น 3 อย่างหลักๆ คือ

  1. To Do List App ใช้สำหรับใช้เป็นศูนย์กลางในการจัดการสิ่งที่ต้องทำทั้งหมด
  2. Note App ใช้สำหรับจัดเก็บข้อมูล ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เราไม่ต้องทำ แต่เก็บไว้เป็น Reference หรือใช้อ้างอิง หาความรู้ เป็นต้น
  3. Calendar ใช้สำหรับบันทึกสิ่งที่ต้องทำลงในปฏิทิน รวมถึงพวกแจ้งเตือน Event ต่างๆ

สำหรับโปรแกรม To Do List นั้นมีให้เลือกใช้เป็นสิบเป็นร้อย แต่ตัวที่แนะนำ คือ Todoist เนื่องจากสามารถใช้งานได้ฟรี มีให้ใช้งานได้ทุก Platforms ไม่ว่าจะเป็นบน Mac, PC, iOS, Android มีฟีเจอร์ครบถ้วน (แบบเสียเงินเค้าก็มีให้ซื้อ แต่ส่วนตัวคิดว่าของฟรีก็ดีเกินพอแล้ว)

Update: ขอเพิ่มโปรแกรม To Do List อีกตัวก็คือ Tick Tick ตัวนี้ฟีเจอร์จะเยอะมากๆ ไม่แพ้ Todoist

สำหรับโปรแกรม Note ส่วนตัวใช้ Evernote เพราะใช้ได้ฟรี มี Extension ต่างๆ ให้ใช้มากมาย เช่น การ Save หน้าเว็บที่มีข้อมูลที่เราต้องการอ่าน หรือเก็บไว้เป็น Reference จึงทำให้ Evernote เหมาะกับการนำมาเป็นเครื่องมือในการจัดการไฟล์ตามหลักของ Getting Things Done

ส่วน Calendar นั้น สามารถใช้ Google Calendar หรือคนที่ใช้ Mac ก็สามารถใช้ Calendar ที่มากับ Mac OS ได้เลย ไม่มีปัญหา ซึ่ง Todoist นั้นมีฟีเจอร์ที่เจ๋งสุดๆ ก็คือ หากคุณลงเวลาให้ Task บน Todoist แล้ว จะสามารถ Sync งานนั้นเข้า Google Calendar ได้เลย

ขั้นตอนที่ 1: Capture ลง To Do List

หนึ่งในแนวคิดที่สำคัญของ Getting Things Done ก็คือ “อย่าใช้สมองจำ ให้จดออกมาไว้ข้างนอกซะ!”

เพราะตามหลักแล้วการที่เราจำ หรือเก็บสิ่งที่ต้องทำเอาไว้ในหัว จะทำให้สมองเราคอยคิดถึง หรือกังวลกับเรื่องนั้นๆ ตลอดเวลา ซึ่งมันทำให้ประสิทธิภาพของสมองเราลดลง เพราะต้องถูกใช้ตลอดอย่างไม่รู้ตัว

วิธีการ Capture นั้นทำได้ง่ายๆ คือให้คุณเขียนสิ่งที่คุณต้องทำ หรือ To do list ออกมาให้หมดเป็นข้อๆ ไม่ว่าจะเรื่องเล็กเรื่องน้อยแค่ไหนก็ตาม หากคิดไม่ออกว่าจะเขียนอะไรบ้าง ก็อาจจะเริ่มจากงานที่ออฟฟิศ มีโปรเจกต์ไหนที่ต้องทำบ้าง แต่ละโปรเจกต์ มีอะไรที่ต้องทำ เพื่อให้โปรเจกต์นั้นเสร็จลุล่วงไปด้วยดี? เรื่องส่วนตัว อาจจะเป็นการจัดการเรื่องในบ้าน การดูแลคนในครอบครัว การจัดการเรื่องการเงิน การพัฒนาตัวเอง เป็นต้น

ข้อแนะนำ: การเขียนสิ่งที่ต้องทำ ควรจะต้องเป็นสิ่งที่อ่านแล้วรู้ว่าต้องทำอะไร ยกตัวอย่างเช่น แทนที่จะเขียนว่า “เตรียมอาหารเช้า” ให้เขียนว่า “ซื้อวัตถุดิบสำหรับทำสลัดมื้อเช้าที่ Super Market ตอนเดินทางกลับบ้านเย็นนี้” ก็จะทำให้คุณลงมือทำงานนั้นได้จริง แบบไม่ต้องคิดว่าต้องทำอะไรอีก

โดยเราจะเขียนสิ่งที่ต้องทำทั้งหมดนี้เอาไว้ในลิสที่เรียกว่า Inbox และต่อจากนี้ หากคุณมีงานหรือสิ่งที่ต้องทำ ก็ให้เอามาใส่ไว้ในลิส Inbox นี้ก่อน แล้วจึงค่อยนำสิ่งที่ต้องทำไป Process ต่อในขั้นตอนต่อไป

ขั้นตอนที่ 2: Process To Do List ของคุณ

พอเรารู้แล้วว่ามีอะไรที่ต้องทำบ้างอยู่ใน Inbox ก็ถึงเวลาที่ต้องมา Process จัดการงานทั้งหมดให้ไปอยู่ถูกที่ถูกทางกัน

ในการ Process งานแต่ละงาน คุณจะต้องถามตัวเองดังต่อไปนี้

  1. หากงานนั้น เป็นสิ่งที่ไม่ได้เอาไว้ให้ทำ (Not Actionable) ให้เลือกว่าจะ
  • “ทิ้งมันไปซะ!”
  • เก็บใส่ Note App เอาไว้เป็น Reference
  • ถ้าไม่แน่ใจ ให้เก็บเอาไว้ในลิสต์ Someday / Maybe
  1. หากงานนั้นเป็นงานที่ทำได้ และใช้เวลาไม่เกิน 2 นาที ให้ “ทำทันที!” [อ่านบทความ วิธีแก้โรคผัดวันประกันพรุ่งด้วย 3 เทคนิคง่ายๆ]
  2. หากงานนั้น เราไม่จำเป็นต้องเป็นคนทำ หรือให้คนอื่นทำแล้วมีประสิทธิภาพกว่า ให้ “มอบหมายให้คนอื่นทำ”
  3. หากงานนั้นเราต้องทำเอง ให้เอาใส่ไว้ในลิสต์ที่เกี่ยวข้องกับงานนั้น พร้อมระบุวันเวลาที่ต้องทำให้เสร็จให้ชัดเจน หากงานที่ทำเป็นงานที่มีหลายขั้นตอน เช่น “เตรียม Presentation สำหรับขายงานลูกค้า” คุณอาจจะแบ่ง Task ย่อยๆ ออกมาเป็น 1. หาข้อมูล 2. เขียน outline 3. ใส่ข้อมูลใน Presentation 4. หาภาพประกอบ 5. ฝึกพูด 3 ครั้ง เป็นต้น
  4. หากงานนั้นเป็นงานที่มีหลาย Tasks ที่ต้องทำ ให้สร้างเป็น Project ใหม่ขึ้นมา แล้วรวมงานเอาไว้ใน Project นั้นอีกที

หลักสำคัญในการ Process คือ

  1. ให้ Process ไล่ จากบนลงล่าง
  2. ให้ Process ทีละงาน
  3. ห้ามเอาสิ่งที่ถูก Process แล้วกลับไปอยู่ใน Inbox

ขั้นตอนที่ 3: Organize To Do List

คำถามหลังจากที่เรารู้แล้วว่ามีงานอะไรที่เราต้องทำบ้าง แล้วเราจะ Setup ลิสต์ของงานได้อย่างไร?

โดยปกติแล้ว เราจะแบ่งลิสต์งานออกเป็นเรื่องใหญ่ๆ ได้ 2 เรื่อง คือ 1. Work 2. Personal

  1. Work จะเอาไว้ใส่เรื่องที่เกี่ยวกับงาน
    1. โปรเจกต์ที่ออฟฟิศ
    2. โปรเจกต์ของลูกค้า
    3. บางคนก็อาจจะมีโปรเจกต์ส่วนตัว เช่น การทำเว็บไซต์ส่วนตัว การขายของออนไลน์
    4. การเขียนหนังสือ / blog
  2. Personal เรื่องอื่นๆ เรื่องส่วนตัว ที่นอกเหนือจากงาน
    1. การดูแลตัวเองทั่วๆ ไป เช่น การนัดทำฟัน
    2. การพัฒนาตัวเอง เช่น การอ่านหนังสือ เรียนคอร์สออนไลน์
    3. การเงินส่วนบุคคล
    4. การดูแลคนในครอบครัว
    5. การวางแผนไปเที่ยวทริปในฝันสำหรับปีหน้า

สำหรับสิ่งที่เรายังไม่แน่ใจ ว่าจะทำดีหรือไม่ดี หรือเรื่องที่อยากทำ แต่ยังไม่ทำตอนนี้ ให้เอาไว้ในลิสต์ที่เรียกว่า “Someday / Maybe” ลิสต์

ขั้นตอนที่ 4: Reflect / Review To Do List อยู่เสมอ

ทุกสัปดาห์ เราควรจะแบ่งเวลาเอาไว้สำหรับการทำ Weekly Review เพื่อที่จะจัดการ To Do List ของเราให้เข้าที่เข้าทาง และพร้อมสำหรับรับมือการทำงานในสัปดาห์ต่อไป

สิ่งที่คุณควรทำใน Weekly Review คือ

  • Capture สิ่งที่ต้องทำออกมาไว้ใน Inbox แล้ว Process ตามขั้นตอนที่ 1-2
  • Review สิ่งที่อยู่ในลิสต์ของเรา อันไหน Late ให้ Reschudule และควรจะคิดว่าทำไมยังไม่เสร็จ อาจจะเป็นเพราะงานนั้นไม่สามารถทำได้จบในทีเดียว ก็ให้แบ่งงานนั้นให้ย่อยลงมาอีก
  • Review Someday / Maybe ลิสต์ อันไหนที่อยู่มานาน หรือคิดว่าไม่ทำแล้ว ก็ให้ทิ้งไปซะ
  • Review เป้าหมายรายปี รายเดือน รายสัปดาห์ ว่าเราได้เข้าเป้าหมายบ้างหรือยัง? และเราต้องทำอะไรอีกเพื่อให้เข้าใกล้เป้าหมายนั้น?

มาเริ่มจัดการ To Do List ของเรากัน!

หลักการ Getting Things Done เป็นหนึ่งในวิธีการที่ไม่ซับซ้อนที่ช่วยทำให้เราจัดการ หรือ Organize ชีวิตที่แสนจะวุ่นวายได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เครียดน้อยลง มีเวลาทำงานมากขึ้น

ใครลองเอาเทคนิค Getting Things Done นี้ไปใช้แล้วได้ผลอย่างไร อย่าลืมคอมเมนต์มาแชร์ให้ฟังบ้างนะคะ 🙂

[NEW] การใช้ Verb to do เป็นกริยาหลัก กริยาช่วย | การใช้ do – NATAVIGUIDES

การใช้ Verb to do เป็นกริยาหลัก กริยาช่วย

การใช้ verb to do (do / does / did) การใช้ […]

การใช้ verb to do (do / does / did)

การใช้ verb to do ในภาษาอังกฤษ ผู้เรียนจะต้องรู้ก่อนเลยว่า verb to do นั้น สามารถทำหน้าที่เป็นได้ทั้ง 1. กริยาหลัก (Main verb) และ 2. กริยาช่วย (Auxiliary Verb) ซึ่งในกรณีที่เป็นกริยาช่วย verb to do มักจะใช้ในการตั้งคำถามและการทำประโยคเป็นปฏิเสธ

มาเรียนทำความเข้าใจกันไปทีละหัวข้อนะครับ

** ปัจจุบัน ใช้ do / does

การใช้ do กับปัจจุบัน จะมี do และ does (ซึ่งก็คือ do ที่เติม es)
อ่านเพิ่มเติม คลิก >> การเติม s es

1. การใช้ verb to do เป็นกริยาหลัก จะแปลว่า ทำ
เมื่อใช้กับประธานบุรุษที่ 3 เอกพจน์ จะทำการเติม s / es เข้าไป โดยคำว่า do จะต้องเติม es ดังนั้นคำว่า do จึงเปลี่ยนเป็น does

ลองดูการผันกริยา do เป็น does สำหรับประธานเอกพจน์บุรุษที่ 3 จากตัวอย่างด้านล่างนี้

I do แปลว่า ฉันทำ
You do
We do
They do
He does
She does
It does

Tony does
Peter does
Tony and Peter do

2. การใช้ do เป็นกริยาช่วย จะไม่แปลความหมาย

การทำ verb to do เป็นประโยคปฏิเสธ สามารถเติม not หลัง verb to do ได้เลย

I do not like. เขียนย่อเป็น I don’t like. แปลว่า ฉันไม่ชอบ
You do not เขียนย่อเป็น You don’t
We do not เขียนย่อเป็น We don’t
They do not เขียนย่อเป็น They don’t
He does not เขียนย่อเป็น He doesn’t
She does not เขียนย่อเป็น She doesn’t
It does not เขียนย่อเป็น It doesn’t

การใช้ verb to do เป็นประโยคคำถาม สามารถทำได้โดยนำ verb to do มาวางไว้ที่หน้าประโยค

Do I like fish? แปลว่า ฉันชอบปลาไหม
Do you like fish? แปลว่า คุณชอบปลาไหม
Do we like fish? แปลว่า พวกเราชอบปลาไหม
Do they like fish? แปลว่า พวกเขาชอบปลาไหม

Does he like fish? แปลว่า เขาผู้ชายชอบปลาไหม
Does she like fish? แปลว่า หล่อนชอบปลาไหม
Does it like fish? แปลว่า มันชอบปลาไหม

** อดีต ใช้ did กับประธานทุกตัว ทั้งประโยคคำถามในอดีต และประโยคปฏิเสธในอดีต

– ถ้า did เป็นกริยาหลัก ก็แปลว่า ทำ

I did แปลว่า ฉันทำ
You did แปลว่า คุณทำ
He did แปลว่า เขาทำ

– ถ้า did เป็นกริยาช่วย ไม่แปลความหมาย

ตัวอย่างประโยคปฏิเสธในอดีต ที่ใช้ verb to do

I did not know. เขียนย่อเป็น I didn’t know.
แปลว่า ฉันไม่รู้ (พูดถึงเวลาใดเวลาหนึ่งในอดีต)

They didn’t know.
He didn’t know.

I didn’t do. แปลว่า ฉันไม่ได้ทำ (พูดถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีต)[did ตัวหน้า เป็น กริยาช่วย ส่วน do ตัวหลังเป็นกริยาหลัก]

ตัวอย่างประโยคคำถามในอดีต ที่ใช้ verb to do

Did you leave the door open? แปลว่า คุณเปิดประตูทิ้งเอาไว้เหรอ
Did they leave the door open?
Did he leave the door open?
Did she leave the door open?

– ใช้ verb to do (do, does, did) ร่วมกับ Wh- Question หรือคำแสดงคำถาม เช่น

Why did you do that?
แปลว่า ทำไมคุณถึงทำแบบนั้น

เรื่องที่ควรอ่าน คลิก >> การใช้ Verb to be


ฝึกพูดอังกฤษกับ 30 ประโยคพื้นฐานง่ายๆ


ติดตาม Facebook Fanpage ครูเชอรี่ English Bright
https://www.facebook.com/cherry.englishbright
https://www.englishbright.net
บริการของเรา
แนะแนวทางศึกษาต่อ และวางแผนการศึกษา
ดำเนินการสมัครเรียน
ให้คำแนะนำและตรวจเอกสารและยื่นสมัครวีซ่า
จัดหาตั๋วเครื่องบินราคานักเรียน
ประสานงานจัดหาที่พัก
อบรมเตรียมตัวก่อนเดินทาง
จัดหาเจ้าหน้าที่รับส่งที่สนามบิน
ประสานงานดูแลนักเรียนในประเทศ ตลอดระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ต่างประเทศ
บริการรับจัดกลุ่ม โปรแกรมเรียนภาษาอังกฤษภาคฤดูร้อน
บริการจัดสัมมนา อบรมภาษาอังกฤษ
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษออนไลน์
บริการแปลเอกสารเพื่อการขอวีซ่า

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ฝึกพูดอังกฤษกับ 30 ประโยคพื้นฐานง่ายๆ

โปรแกรมวางแผนงานที่ต้องมีติดเครื่อง Microsoft To Do


เพื่อนๆคนไหนอยากให้ทำคลิปแบบไหนหรืออยากสอบถามเกี่ยวกับการใช้งาน Computer โปรแกรมพื้นฐานที่จำเป็นต่อการทำงาน สามารถติดต่อมาที่เพจ Facebook ได้นะครับ https://www.facebook.com/teamlife16

โปรแกรมวางแผนงานที่ต้องมีติดเครื่อง Microsoft To Do

การใช้ verb to do


การใช้ verb to do

PRICELESS TIPS FOR PARENTS || Clever Parenting Hacks And Funny Situations By 123 GO! SERIES


Being a parent can be hard sometimes, but we hope these tips help make life easier.  
Let us know your hacks for an easier lie in the comments below.
Remember to share this video with your friends and don’t forget to subscribe to our channel for more useful videos just like this one.
123GO parenting hacks comedy
This video is made for entertainment purposes. We do not make any warranties about the completeness, safety and reliability. Any action you take upon the information on this video is strictly at your own risk, and we will not be liable for any damages or losses. It is the viewer’s responsibility to use judgment, care and precautions if one plans to replicate.
The following video might feature activity performed by our actors within controlled environment please use judgment, care, and precaution if you plan to replicate.
Music by Epidemic Sound: https://www.epidemicsound.com/​
Stock materials:
https://www.depositphotos.com​
https://www.shutterstock.com​
All product and company names shown in the video are trademarks™ or registered® trademarks of their respective holders. Use of them does not imply any affiliation with or endorsement by them.

PRICELESS TIPS FOR PARENTS || Clever Parenting Hacks And Funny Situations By 123 GO! SERIES

Do you กับ Are you ใช้ต่างกันอย่างไร? เข้าใจง่ายๆ ไม่มีแกรมม่าร์ – English Tips EP.5


คำถามที่ขึ้นต้นด้วย Do you กับ Are you มักจะเป็นสิ่งที่หลายๆคนสับสนและยังไม่รู้ว่าควรใช้อันไหนกันแน่ และที่สำคัญมันต่างกันยังไง? ถ้าจะหาคำตอบก็ไม่ได้ยาก แค่ค้นหาในกูเกิลกับยูทูปก็ได้คำตอบแล้ว แต่ทุกคำตอบก็มีแต่ภาษาแกรมม่าร์ คือถ้าไม่รู้แกรมม่าร์ก็แทบจะไม่เข้าใจเลยว่าสรุปแล้วประโยคไหนใช้ Do you ประโยคไหนใช้ Are you เกร็ดความรู้ภาษาอังกฤษวันนี้ผมจะมาอธิบายให้ทุกคนใช้งานกันให้ถูกและเข้าใจง่ายๆในแบบที่คนไม่รู้แกรมม่าร์ก็ใช้ได้ มาดูกันว่ายังไง
EnglishTips
อยากฝึกพูดภาษาอังกฤษตัวต่อตัว หรือเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์แบบบุฟเฟ่ต์
สมัครได้เลย ​https://www.unfoxenglish.com/
สอบถามแอดไลน์ ​https://lin.ee/5uEdKb7h

ติดตามช่องทางอื่นๆ และพูดคุยกันได้ที่
ชุมชนคนรักภาษาอังกฤษ https://www.unfoxenglish.com
FB: https://www.facebook.com/unfoxenglish
Twitter: https://www.twitter.com/unfoxenglish
Lacta’s IG: https://www.instagram.com/lactawarakorn
Bell’s IG: https://www.instagram.com/toshiroz
ติดต่องาน
Email: [email protected]
Line: http://nav.cx/oOH1Q6T

Do you กับ Are you ใช้ต่างกันอย่างไร? เข้าใจง่ายๆ ไม่มีแกรมม่าร์ - English Tips EP.5

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ การใช้ do

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *