Skip to content
Home » [Update] วิธีการใช้เครื่องหมาย colon ( : ) แบบละเอียดยิบ! | เครื่องหมายภาษาไทย – NATAVIGUIDES

[Update] วิธีการใช้เครื่องหมาย colon ( : ) แบบละเอียดยิบ! | เครื่องหมายภาษาไทย – NATAVIGUIDES

เครื่องหมายภาษาไทย: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

หลายคนคงเคยเห็นและได้ยินชื่อเรียกของเครื่องหมาย “โคลอน” (colon) ที่มีหน้าตาแบบนี้  : “ กันอยู่บ้างนะคะ แต่จะมีซักกี่คนที่รู้หลักการ วิธีใช้เครื่องหมายโคลอนนี้ว่าสามารถใช้ตอนไหน ใช้กับอะไรได้บ้าง

วันนี้พวกเรา DailyEnglish จะพาทุกคนมาเรียนรู้หลักการใช้เครื่องหมาย Colon ( : ) กัน เพราะจริงๆแล้วไอ้เครื่องหมายนี้มีวิธีการใช้จริงๆ ไม่กี่อย่างเท่านั้นเองค่ะ รับรองว่าไม่ยากอย่างที่ทุกคนคิด

colonusage

กฎข้อที่ 1a  ใช้เพื่อแจกแจงสิ่งต่างๆ เพื่ออธิบายว่ามีสิ่งใดบ้างที่ต้องการพูดถึง จำไว้อย่างหนึ่งว่า อย่าเขียนตัวแรกสุดเป็นพิมพ์ใหญ่นะคะ หลังเครื่องหมายโคลอน ( : ) ให้ใช้พิมพ์เล็กอย่างเดียวโลด  (ยกเว้น เป็นนามชี้เฉพาะ ชื่อสถานที่ คน อะไรแบบนี้)

ตัวอย่างเช่น

You may be required to bring many things: sleeping bags, pans, utensils, and warm clothing. (คุณอาจจำเป็นต้องนำของไปหลายอย่าง นั่นก็คือ ถุงนอน, กระทะ, เครื่องใช้ต่างๆ และ เสื้อผ้าที่ให้ความอบอุ่น)
I want the following items: butter, sugar, and flour. (ฉันต้องการสิ่งของต่อไปนี้ ได้แก่ เนย น้ำตาล และแป้ง)
I need an assistant who can do the following: input data, write reports, and complete tax forms. (ฉันต้องการผู้ช่วยที่สามารถทำสิ่งดังต่อไปนี้ กรอกข้อมูล เขียนรายงาน และกรอกข้อมูลภาษี)

กฎข้อที่ 1b   หลังจากเครื่องหมายโคลอน ( : )  จะไม่ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ ไม่ว่าจะตามด้วยคำ (word) วลี (phrase) หรือประโยคไม่สมบูรณ์ (incomplete sentences) ยกเว้นเป็นคำนามชี้เฉพาะ

ตัวอย่างเช่น

He got what he worked for: a promotion (= คำ)
He got what he worked for: a promotion that paid a higher wage. (= วลี)

กฎข้อที่ 2 หลีกเลี่ยงการใช้เครื่องหมายโคลอน ( : )  ถ้าเราต้องการไล่รายชื่อบางสิ่ง ในกรณีที่มีกริยา หรือบุพบทบอกตำแหน่งอยู่ด้านหลัง

ตัวอย่างเช่น

อย่าใช้  I want: butter, sugar, and flour.
ให้ใช้เป็น  I want butter, sugar, and flour. จะเหมาะสมกว่า

แต่ถ้าอยากใช้ : จริงๆ ให้เปลี่ยนเป็น
       Here is what I want: butter, sugar, and flour.

หรืออีกหนึ่งตัวอย่าง

อย่าใช้ I’ve seen the greats, including: Barrymore, Guinness, and Streep.
ให้ใช้ว่า I’ve seen the greats, including Barrymore, Guinness, and Streep.

แต่ถ้าอยากใช้ : จริงๆ ให้เปลี่ยนเป็น
        I’ve seen the greats: Barrymore,Guinness and Streep.

กฎข้อที่ 3 สามารถใช้เครื่องหมายโคลอน( : ) แล้วตามด้วยลิสท์รายชื่อของบางสิ่งทีละอัน โดยเรียงเป็นข้อๆทีละบรรทัด มีตัวอักษร ตัวเลข หรือจุดนำหน้าได้

*** การใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่นำหน้าหรือจบด้วยเครื่องหมายแสดงการจบประโยคต่างๆก็แล้วแต่กรณีไป อย่าง ถ้าในข้อนั้นๆเป็นประโยคก็ขึ้นต้นด้วยพิมพ์ใหญ่ก็อาจตามด้วยจุดฟูลสต็อป หรือเป็นเครื่องหมายอื่นๆก็ได้  ไม่ได้มีกฎบังคับที่ตายตัวขนาดนั้นในเรื่องนี้

ตัวอย่างเช่น

I want an assistant who can do the following:

  1. input data
  2. write reports
  3. complete tax forms

หรือ

The following are requested:

  • Wool sweaters for possible cold weather.
  • Wet suits for snorkeling.
  • Introductions to the local dignitaries.

หรือ

These are the pool rules:

  1. Do not run.
  2. If you see unsafe behavior, report it to the lifeguard.
  3. Did you remember your towel?
  4. Have fun!

 

กฎข้อที่ 4 ใช้เครื่องหมายโคลอน ( : ) แทนที่เซมิโคลอน ( ; )ได้ระหว่าง independent clause และ independent clause ด้วยกัน ในกรณีที่ independent clause อันที่สองนั้นทำหน้าที่อธิบาย ขยายความ ให้ตัวอย่างประกอบ หรือ ถอดความ independent clause ด้านหน้า

ตัวอย่างเช่น

He got what he worked for: he really earned that promotion. (เขาได้รับในสิ่งที่เขาทำไป นั่นคือ เขาได้รับการเลื่อนตำแหน่ง)

**** เรื่องของการใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หลังเครื่องหมายโคลอน นักเขียนและบรรณาธิการหลายคนเห็นสมควรว่าการใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่เป็นสิ่งที่ควรกระทำหากสิ่งที่ตามหลังเครื่องหมายโคลอนเป็นเรื่องทั่วไป หรือคำกล่าวที่เป็นจริง

ตัวอย่างเช่น

Remember the old saying: Be careful what you wish for. (ให้จำคำโบราณที่ว่า ระวังในสิ่งที่คุณหวังอยากจะได้)

กฎข้อที่ 5 ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ในคำแรกของประโยคหรือคำพูดที่สมบูรณ์ที่ดึงมาจากที่อื่นหลังเครื่องหมายโคลอน ( : )

ตัวอย่างเช่น            The host made an announcement: “You are all staying for dinner.”

 

กฎข้อที่ 6 ใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หลังเครื่องหมายโคลอนในกรณีที่หลังเครื่องหมายโคลอน ( : ) มีประโยคที่สมบูรณ์มากกว่าหนึ่งประโยค

ตัวอย่างเช่น       Dad gave us these rules to live by: Work hard. Be honest. Always show up on time.

กฎข้อที่ 7 ถ้าข้อความที่อ้างมามีมากกว่าหนึ่งประโยคขึ้นไป นักเขียนและบรรณาธิการหลายคนมักใช้เครื่องหมายโคลอน ( : ) นำหน้าแทนเครื่องหมายคอมมา (,)

ตัวอย่างเช่น       Dad often said to me: “Work hard. Be honest. Always show up on time.”

กฎข้อที่ 8 เพื่อขยายข้อความที่คัดมาจากแหล่งอื่น โดยขึ้นต้นด้วยเครื่องหมายโคลอน ( : )  รูปแบบหนึ่งคือย่อหน้าไปประมาณหนึ่งนิ้วครึ่งทั้งทางด้านซ้ายและขวาจากขอบกระดาษ หรือเว้นวรรคเฉพาะทางด้านซ้ายก็ได้ โดยทั้งสองแบบไม่ต้องใส่เครื่องหมายคำพูด (“ “)

ตัวอย่างเช่น

The author of Touched, Jane Straus, wrote in the first chapter:

Georgia went back to her bed and stared at the intricate patterns of burned moth wings in the translucent glass of the overhead light. Her father was in “hyper mode” again where nothing could calm him down.

กฎข้อที่ ใช้เครื่องหมายโคลอน( : ) แทนเครื่องหมายคอมมา (,) ตามหลังคำขึ้นต้นในจดหมายธุรกิจ แม้แต่ตอนเขียนถึงใครก็ตามโดยใช้ชื่อจริงของเขาหรือเธอเฉยๆ บางคนอาจเห็นการใช้เครื่องหมายคอมมา ก็ใช้ได้นะคะ แต่ใช้ในงานที่ไม่เป็นทางการมากนัก

ตัวอย่างเช่น

Dear Ms. Rodriguez: (แบบเป็นทางการมาก)
Dear Dave, (แบบไม่เป็นทางการ)

ขอบคุณข้อมูลจาก  http://www.grammarbook.com/punctuation/colons.asp

[NEW] Punctuation Marks หรือ เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาอังกฤษ ใช้อย่างไร | เครื่องหมายภาษาไทย – NATAVIGUIDES

    หรือในภาษาไทยเรียกว่า อัฒภาค คือเครื่องหมาย ; ซึ่งมีการใช้งาน 2 แบบคือ

    Dorothy is friendly; however, she does not like to talk to strangers.

    Those sneakers were so expensive; they are also old.

    Emanuel has been to New Delhi, India; Wisconsin, USA and Jakarta, Indonesia when he was young.

    หรือในภาษาไทยเรียกว่า ทวิภาค คือเครื่องหมาย : เพื่อใช้บอกว่าจะมีลิสต์ตามมาหลังจากเครื่องหมาย

    เช่น 

    There are many provinces in Thailand that have beautiful beaches: Phuket, Krabi, Trang, etc.

    I learned how to bake many kinds of cake today: carrot cake, chocolate cake, and tiramisu.

    หรือในภาษาไทยเรียกว่า จุลภาค คือเครื่องหมาย , ซึ่งสามารถใช้ได้ในหลายกรณีเช่น

    1. ในประโยคความรวม เราจะต้องใส่เครื่องหมาย , หน้าคำเชื่อม FANBOYS เช่น

  • We were staying at a hotel by the beach, but they were camping in the forest.

  • She missed the first part of the show, for she was sick.

  • They could not participate in the show, nor they could show up on the day of the performance.


เครื่องหมายวรรคตอน – ภาษาไทย ป.3


เรามาเรียนรู้ เรื่อง เครื่องหมายวรรคตอนกันเถอะ
วิชา ภาษาไทย ป.3
ครูชมพู่ อยู่นี่จ้า^^

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เครื่องหมายวรรคตอน - ภาษาไทย ป.3

เครื่องหมายวรรคตอน


เรื่อง \”เครื่องหมายวรรคตอน\”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย
ครูผู้สอน ครูสุณิสา ถาปันแก้ว (ครูแจน)

เครื่องหมายวรรคตอน

045C+4100757+ท+เครื่องหมายวรรคตอน+thaip4+dl57t1


045C+4100757+ท+เครื่องหมายวรรคตอน+thaip4+dl57t1

เด็กจิ๋วช้อปปิ้งอุปกรณ์การเรียน Back To School


ใกล้เปิดเทอมกันแล้วนะคะ ใครยังเตรียมอุปกรณ์การเรียนไม่พร้อม รีบไปหาซื้อให้เรียบร้อยนะคะ
Subscribe หรือสมัครสมาชิกเพื่อติดตามช่องเด็กจิ๋วได้ที่ https://www.youtube.com/user/DekJewChillOut
ติดตามเรื่องราวของเด็กจิ๋วเพิ่มเติมได้จาก https://www.facebook.com/DekJewChillOut และ http://www.dekjew.com/
dekjew dekjewchillout เด็กจิ๋ว น้องพริม N’Prim เด็กจิ๋วชิลเอาท์

เด็กจิ๋วช้อปปิ้งอุปกรณ์การเรียน Back To School

เครื่องหมายต่างๆ ตอนที่ 1 – สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3


ครูโอ๋ สื่อการเรียนการสอน
webpage : http://www.kruao.com
fanpage : https://goo.gl/O22C3X
google+ : https://goo.gl/OBu7ia
youtube : https://goo.gl/bZlYwE
วีดีโอนี้จะสอนเกี่ยวกับ
เรียนรู้เรื่อง เครื่องหมายต่างๆ ตอนที่ 1
เรียนรู้ ชื่อของเครื่องหมาย แต่ละแบบ เช่น เครื่องหมาย ไม้ยมก, ไปยาลน้อย, ไปยาลใหญ่, อัญประกาศ และ นขลิขิต
วิธีเขียนเครื่องหมาย ที่ถูกต้อง
ตัวอย่างประโยค ที่ใช้เครื่องหมาย
บทเรียนอิเล็กทรอกนิกส์ วิชา ภาษาไทย ป.3 ชุดนี้
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
http://www.otpchelp.com

เครื่องหมายต่างๆ ตอนที่ 1 - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ เครื่องหมายภาษาไทย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *