Skip to content
Home » UPDATE ล่าสุด!! ปี 2563 #ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร | โอนเงินเกิน 3000 ครั้งต่อปี

UPDATE ล่าสุด!! ปี 2563 #ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร | โอนเงินเกิน 3000 ครั้งต่อปี

UPDATE ล่าสุด!! ปี 2563 #ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

อัพเดทล่าสุดสำหรับปี 2563 กรณีธนาคารส่งข้อมูลบัญชีเราให้กรมสรรพากร เงื่อนไขแบบไหน ยังไง และมีอะไรต้องเตรียมตัวรับมือบ้าง พรี่หนอมสรุปทุกอย่างให้เข้าใจในคลิปนี้คลิปเดียวครับ
แนะนำอ่านบทความเพิ่มเติมที่นี่ https://taxbugnoms.co/banksubmitinfotorevenuedepartment/
เล่าก่อนว่า… เรื่องของธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากรนั้น ไม่ได้อยู่ๆก็มา แต่มันมีที่มาจากกฎหมาย ชื่อว่า พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 21 มีนาคม 2562 เป็นต้นไป
กฎหมายฉบับนี้มีข้อมูลสรุปตามนี้
1. ข้อมูลทั้งหมดจะรวบรวมแล้วส่งเป็นรายปี โดยดูเป็นรายธนาคาร ซึ่งแต่ละธนาคารไม่ได้เชื่อมโยงข้อมูลกัน
2. การส่งข้อมูลจะดูยอดเงินที่เข้าบัญชี โดยดูทุกบัญชีในธนาคารนั้นๆ ซึ่งเงื่อนไขในการส่งข้อมูลมีอยู่ 2 กรณี คือ
จำนวนครั้งตั้งแต่ 400 ครั้งและจำนวนเงินถึง 2 ล้านบาท (อันนี้ต้องมาทั้งสองกรณีพร้อมกัน คือ จำนวนครั้งถึง และจำนวนเงินถึงเกณฑ์)
และอีกกรณีหนึ่ง คือ นับแค่จำนวนครั้ง ถ้าถึง 3,000 ครั้งเมื่อไร ถูกส่งทันทีโดยที่ไม่ต้องสนใจจำนวนเงิน
ป.ล.กฎหมายจะเรียกกรณีนี้ว่า \”ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ\” โดยคำว่า “ยอดเงินเข้า” ในทางกฎหมาย คือ “ฝากหรือรับโอนเงิน” และนอกจากนั้น คำว่า “ธนาคาร” ยังหมายความถึง ผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์หรือ ผู้ให้บริการ Ewallet ต่างๆ ด้วย
กฎหมายนี้บังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2562 ที่ผ่านมา แต่วันนี้ คือ 23 ธันวาคม 2562 เพิ่งมีกฎหมายลูกออกตามมาชื่อว่า กฎกระทรวงฉบับที่ 355 มาขยายความเพิ่มเติม คือ
ข้อมูลที่ถูกส่งให้สรรพากรจะประกอบด้วย 5 รายการต่อไปนี้
1) เลขประจำตัวประชาชน / เลขนิติบุคคล
2) ชื่อนามสกุล / ชือห้างหุ้นส่วนสามัญ / ชื่อคณะบุคคล / ชื่อนิติบุคคล
3) จำนวนครั้งของการฝาก หรือ รับโอนเงิน ทุกบัญชีรวมกัน
4) จำนวนเงินของการฝาก หรือ รับโอนเงิน ทุกบัญชีรวมกัน
5) เลขที่บัญชีทุกบัญชีที่มีการฝากหรือรับโอนเงิน
การนับจำนวนครั้งและจำนวนเงิน จะเป็นดังนี้ คือ นับจำนวนครั้งและจำนวนเงินทุกครั้งที่มีการเข้าบัญชี (ถ้าเป็น Ewallet ก็นับทุกครั้งที่มียอดเงินเข้าเช่นกัน)
สำหรับการบังคับใช้จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม 2562 เป็นต้นไป โดยธนาคารจะส่งข้อมูลของปี 2562 ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2563 ซึ่งเป็นเวลา 8 วันเท่านั้น
อย่ามัวแต่ดีใจว่ากฎหมายไม่มีผลกระทบในปีนี้ เพราะปีหน้าเจอกันแน่ๆอยู่ดี ดังนั้นเตรียมตัวให้พร้อมเสียดีกว่าครับผม
ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ขายของออนไลน์ ธนาคารส่งข้อมูล 3000ครั้ง สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคาร พรบขายของออนไลน์ ภาษีขายของออนไลน์ ขายของออนไลน์ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษี วางแผนภาษี กระจายบัญชีธนาคาร เงินสด เลี่ยงภาษี หนีภาษี
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

UPDATE ล่าสุด!! ปี 2563 #ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร

UPDATE ปี 2563 สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคารอย่างไร และ ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร แบบไหน?


อัพเดทล่าสุดสำหรับปี 2563 กรณีธนาคารส่งข้อมูลบัญชีเราให้กรมสรรพากร เงื่อนไขแบบไหน ยังไง และมีอะไรต้องเตรียมตัวรับมือบ้าง พรี่หนอมสรุปทุกอย่างให้เข้าใจในคลิปนี้คลิปเดียวครับ
ประเด็นที่ต้องทำความเข้าใจ ธนาคารส่งข้อมูล กับ สรรพากรตรวจสอบบัญชี แบบไหนยังไงดี
1. ธนาคาร ไม่ใช่หมายถึง ธนาคารอย่างเดียว แต่ยังหมายถึง สถาบันการเงิน และ ผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิคส์
\”สถาบันการเงิน\” ตรวจสอบรายชื่อได้ที่
http://bit.ly/FINUP_BUGNOMS
\”ผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิคส์\” ตรวจสอบรายชื่อได้ที่
http://bit.ly/ThaiEwalletฺBUGNOMS
2. ส่งข้อมูลไม่ใช่ตรวจสอบบัญชีเพื่อเสียภาษี แต่หมายถึงส่งข้อมูลเมื่อเข้าเงื่อนไขต่อไปนี้
2.1 จำนวนครั้ง ถ้าถึง 3,000 ครั้งเมื่อไร ถูกส่งทันทีโดยที่ไม่ต้องสนใจจำนวนเงิน
2.2 จำนวนครั้งตั้งแต่ 400 ครั้งและจำนวนเงินถึง 2 ล้านบาท (อันนี้ต้องมาทั้งสองกรณีพร้อมกัน คือ จำนวนครั้งถึง และจำนวนเงินถึงเกณฑ์)
ข้อมูลนับเป็นรายปี แยกเป็นรายธนาคาร แต่ไม่ได้เชื่อมโยงข้อมูลกัน
กฎหมายนี้บังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2562 ที่ผ่านมา แต่เริ่มเก็บข้อมูลจริงตามกฎหมายลูก คือ วันที่ 24 ธันวาคม 2562 แต่สำหรับปี 2563 เก็บข้อมูลทั้งปี ตั้งแต่ 1 มกราคม 31 ธันวาคม 2563
ข้อมูลที่ถูกส่งให้สรรพากรจะประกอบด้วย 5 รายการต่อไปนี้
1) เลขประจำตัวประชาชน / เลขนิติบุคคล
2) ชื่อนามสกุล / ชือห้างหุ้นส่วนสามัญ / ชื่อคณะบุคคล / ชื่อนิติบุคคล
3) จำนวนครั้งของการฝาก หรือ รับโอนเงิน ทุกบัญชีรวมกัน
4) จำนวนเงินของการฝาก หรือ รับโอนเงิน ทุกบัญชีรวมกัน
5) เลขที่บัญชีทุกบัญชีที่มีการฝากหรือรับโอนเงิน
เตรียมตัวให้พร้อมกับเรื่องนี้ เพราะคนที่ปรับตัวและทำความเข้าใจได้ไวกว่า คือ ผู้ที่จะอยู่รอดในเกมส์ภาษี 🙂
ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ขายของออนไลน์ ธนาคารส่งข้อมูล 3000ครั้ง สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคาร พรบขายของออนไลน์ ภาษีขายของออนไลน์ ขายของออนไลน์ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษี วางแผนภาษี กระจายบัญชีธนาคาร เงินสด เลี่ยงภาษี หนีภาษี
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

UPDATE ปี 2563 สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคารอย่างไร และ ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร แบบไหน?

ใช้โครงการคนละครึ่ง แบบไม่ต้องเติมเงินเข้าแอพเป๋าตัง 💵💲💴


เป๋าตัง คนละครึ่ง ไม่ต้องเติมเงิน
ใช้โครงการคนละครึ่งในแอพเป๋าตังแบบไม่เติมเงินเข้าเป๋าตัง ใช้ง่ายๆ และสะดวกมากๆ ทำยังไงลองชมและทำตามคลิปได้เลย ง่ายนิดเดียว เรียบร้อยในไม่กี่นาที

ใช้โครงการคนละครึ่ง แบบไม่ต้องเติมเงินเข้าแอพเป๋าตัง 💵💲💴

22 พ.ย.จ่ายเงินชาวนา#แผนจ่ายเงินชาวนาจังหวัด#เงินชาวนาจ่าย#ตารางจ่ายเงินชาวนา#ค่าเก็บเกี่ยวไร่ละ1000


22 พ.ย.จ่ายเงินชาวนาแผนจ่ายเงินชาวนาจังหวัดเงินชาวนาจ่ายตารางจ่ายเงินชาวนาค่าเก็บเกี่ยวไร่ละ1000
เงินชาวนางวด6 ข้าววันจ่ายเงินชาวนางวด6ค่าเก็บเกี่ยวไร่ละ1000ธกส.นัดจ่ายเงินชาวนาแผนจ่ายเงินชาวนา

ความคืบหน้า “โครงการประกันรายได้ข้าว” นับตั้งแต่ ครม.มีมติ เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2564 ทาง เกษตรกร หรือ ชาวนา ให้ความสนใจ และติดตาม ถึงการจ่ายเงินส่วนต่างของรัฐบาล อย่างต่อเนื่อง ผ่านการเคาะราคามาแล้ว 5 งวด ล่าสุดถึง งวดที่ 6 นั้น กลุ่มเกษตรกรที่แจ้ง เก็บเกี่ยว วันที่ 12 18 พฤศจิกายน 2564 นั้น

ทม์ไลน์ เงินเยียวยาเกษตรกร 2564 หลังจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ได้เห็นชอบหลักการ โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2564/65 ตามมติ คณะกรรมการนโยบายและบริหารจัดการข้าว (นบข.) รวมวงเงินทั้งสิ้น 54,972,72 ล้านบาท โดยจ่ายเงินช่วยเหลือให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าว โดยล่าสุด ได้เปิดให้มีการเช็คสิทธิแล้ว มีขั้นตอนดังนี้
เข้าเว็บไซต์ chongkho.inbaac.com กรอกเลขบัตรประจำตัวประชาชน พร้อมกดค้นหา ในส่วนของผู้ที่ได้รับเงิน ระบบจะขึ้นข้อมูลว่า \”โอนเงินเรียบร้อยแล้ว\” โดยจะแสดงชื่อโครงการ, เลขที่บัญชี, วันที่โอน, สาขา ธ.ก.ส. และสถานะ

แจกเงินชาวนา ล่าสุด,ไร่ละ500 ธกส,ธกส แจกเงิน,ไร่ละ1000,ไร่ละ1000ล่าสุด,ประกันรายได้ข้าว,ประกันรายได้เกษตร,คุณพ่อแชร์ข่าว,ชาวนา,ธกส,จ่ายเงินชาวนา,เงินชาวนาล่าสุด,เงินชาวนาจ่ายวันไหน,ค่าบริหารจัดการข้าว,เงินช่วยชาวนา,เกษตรกร,ข้าว,แจกเงินชาวนา,เงินชาวนาออก,วันไหน,ข่าว,ข่าวเกษตรกร,familynewsคุณพ่อแชร์ข่าว,ธกส แจกเงิน30000,แจกเงินชาวนา20000,เงินชาวนาเข้าวันไหน,เงินออกวันไหน,เงินช่วยเหลือเกษตรกรล่าสุดได้วันไหน,เงินชาวนาไร่ละ 1 000 บาท,เงินไร่ละ 1 000 บาท,เงินชาวนาไร่ละ 1000 เข้าวันไหน

22 พ.ย.จ่ายเงินชาวนา#แผนจ่ายเงินชาวนาจังหวัด#เงินชาวนาจ่าย#ตารางจ่ายเงินชาวนา#ค่าเก็บเกี่ยวไร่ละ1000

[อัพเดทปี 64] ธนาคารให้ส่งข้อมูลสรรพากร แล้วสรรพากรตรวจสอบข้อมูลเราได้ไหม ?


อัพเดทข้อมูลปี 2564 ที่หลายคนถามเข้ามาบ่อย ๆ เรื่อง ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ว่ามีหลักการแบบไหนยังไง พรี่หนอมสรุปให้ฟังในคลิปนี้ทั้งหมดครับ
กฎหมาย ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ เรื่องการโอนเงิน 400 ครั้ง 2 ล้านบาท หรือ โอนเงิน 3,000 ครั้ง มีผลกับการส่งข้อมูลให้สรรพากรอย่างไร แบบไหนถูกส่งหรือไม่ถูกส่ง
อัพเดทเพิ่มเติม ตัวอย่างการส่งข้อมูล รวมถึง กรณี คนละครึ่ง กับการตรวจสอบภาษีที่ต้องรู้ เงินเข้าแบบนี้โดนคิดภาษีเลยได้ไหม ไปจนถึงรายละเอียดของข้อมูลที่ธนาคารส่งให้สรรพากรมีอะไรบ้าง
รวมถึงการส่งตอนไหน แบบไหน เก็บข้อมูลเป็นรายปีแบบไหน รวมทุกบัญชีหรือเปล่า รายการระหว่างกันนับไหม พรี่หนอมสรุปประเด็นสำคัญต่าง ๆ ที่ควรรู้ไว้ในคลิปนี้ครับผม
นอกจากนั้นยังมีการอัพเดทอำนาจการตรวจสอบของกรมสรรพากรที่เราต้องรู้ เพื่อให้เข้าใจในการยื่นและเสียภาษีได้อย่างถูกต้องอีกด้วยครับ

[อัพเดทปี 64] ธนาคารให้ส่งข้อมูลสรรพากร แล้วสรรพากรตรวจสอบข้อมูลเราได้ไหม ?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE A WEBSITE

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *