Skip to content
Home » [Update] รู้ไหม?? รายงาน 1 เล่ม ต้องมีอะไรบ้าง..ถึงจะออกมาดี | คำนำคือ – NATAVIGUIDES

[Update] รู้ไหม?? รายงาน 1 เล่ม ต้องมีอะไรบ้าง..ถึงจะออกมาดี | คำนำคือ – NATAVIGUIDES

คำนำคือ: คุณกำลังดูกระทู้

 

                                          ส่วนประกอบตอนต้น                                          

 

  
           ปกนอก (Cover หรือ Binding)
เป็นส่วนที่หุ้มรายงานทั้งเล่ม ประกอบด้วย ปกหน้า ปกหลัง รวมถึงสันด้วยนะคะ ส่วนนี้ควรใช้กระดาษที่มีความหนาหรือแข็งพอสมควร และสีก็ควรเหมาะกับเนื้อหาภายในเล่มหรืออาจะใช้ปกของโรงเรียนน้องๆ ตามแบบฟอร์มที่โรงเรียนกำหนดก็สะดวกเหมือนกันค่ะ อาจจะมีภาพหรือไม่มีก็ได้ค่ะ แต่ถ้าภาพต้องเหมาะกับเนื้อหาด้วยนะคะ ซึ่งข้อความที่ปรากฏบนปกนอก ประกอบด้วย

           แต่หากคุณครูกำหนดรูปแบบของรายงานให้มีรายละเอียดเพิ่มเติม ก็ใส่ให้ครบนะคะ

 แต่ถ้าคุณครูไม่เข้มงวดมาก ก็โชว์ไอเดียเก๋ๆไปเลย งั้นพี่เมษ์ขอเอาไอเดียของรูปหน้าปกรายงาน แล้วก็หนังสือแบบที่น่าสนใจมาให้ชมกัน มาดูกันดีกว่าค่ะ

  
           
หน้าปกใน (Title Page) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากปกนอก ข้อความเช่นเดียวกับปกนอก ตามลำดับต่อไปนี้ค่ะ

โดยส่วนนี้ให้บรรทัดสุดท้ายอยู่ห่างจากขอบล่างประมาณ 1 นิ้ว

           สรุปง่ายๆ ปกในกับปกนอกคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนจากปกแข็ง หรือกระดาษแข็ง เป็นกระดาษธรรมดาเท่านั้นเองค่ะ

  
           
คำนำ (Preface) คือส่วนที่น้องๆ สามารถเล่าที่มา วัตถุประสงค์ ความสำคัญ และขอบเขตของเนื้อหา รวมถึงใส่คำขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือให้รายงานของน้องๆ สำเร็จ เขียนให้เหมาะสมกับเนื้อหา ไม่ยาวหรือสั้นเกินไป 2-3 ย่อหน้าก็ได้ค่ะ เพื่ออธิบายคร่าวๆว่า รายงงานของน้องๆ ทำขึ้นเพื่ออะไร ทำไมถึงทำรายงงานนี้ รายงานเล่มนี้มีความสำคัญอย่างไรบ้างนั่นเองค่ะ

           โดยส่วนนี้ให้พิมพ์คำว่า “คำนำ” ด้วยอักษรขนาดใหญ่ ไว้กลางหน้ากระดาษโดยไม่ต้องขีดเส้นใต้ และเว้นระยะให้ห่างจากขอบบน 2 นิ้ว ส่วนเนื้อหาให้พิมพ์ข้อความในบรรทัดถัดลงมา และเมื่อจบข้อความแล้วให้น้องๆ ลงชื่อ และ นามสกุลของผู้เขียน แต่ถ้าเป็นงานกลุ่มให้ลงท้ายด้วยคำว่า “คณะผู้จัดทำ” แล้วจึงจบด้วยการลงวันที่ เดือน (เขียนแบบย่อ) ปี (ไม่ต้องมี พ.ศ.) ไว้ด้วยค่ะ

  
           
สารบัญ (Table of Contents) ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่ต่อจากคำนำ โดยส่วนนี้ ขึ้นต้นด้วยด้วยคำว่า “สารบัญ” ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่กลางหน้ากระดาษโดยเว้นห่างจากขอบบนลงมา 2 นิ้ว

           จากนั้นน้องๆ สามารถบอกชื่อตอน บท หัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยนั้นๆ โดยเรียงตามลำดับในเนื้อหาของรายงานของน้องๆ ด้านซ้ายของหน้าเป็นชื่อตอน บท หัวข้อต่างๆ ที่ต้องการ โดยเว้นห่างจากขอบซ้ายของกระดาษ 1.5 นิ้ว และให้มีเลขหน้าที่ตรงกับส่วนนั้นกำกับไว้ด้านขวา โดยตัวเลขหน้า เว้นห่างจากขอบกระดาษด้านขวา 1 นิ้ว
   

   

                                                 เนื้อหา                                                        

  
           
บทนำ (Introduction)  เป็นส่วนเริ่มต้นของความน่าใจในรายงานของน้องๆ จึงเป็นอีกส่วนที่สำคัญที่ทำให้คนอ่านอยากอ่านรายงานของเรามากขึ้น จึงควรเขียนให้ชัดเจน น่าติดตาม เพื่อชี้แจงให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมของเนื้อเรื่องที่น้องๆ ได้ค้นคว้ามานั่นเอง โดยอาจจะเขียนแค่ 1 ย่อหน้าก็ได้ค่ะ ขึ้นอยู่กับว่าเนื้อหามากน้อยแค่ไหน

           การวางรูปแบบหน้าเหมือนกับบทอื่นๆ โดยเขียนบรรทัดแรกด้วยคำว่า “บทที่ 1” และบรรทัดถัดมาก็ใช้คำว่า “บทนำ” เพื่อเข้าสู่บทนำของน้องๆ  หรืออาจจะตั้งชื่อตามความเหมาะสม โดยวางไว้กลางหน้ากระดาษค่ะ แต่ถ้าส่วนเนื้อหาแบ่งเป็นบทแล้ว อาจใช้คำว่า “ความนำ” เพื่อนำผู้อ่านเข้าสู่เนื้อเรื่องแทนก็ได้ค่ะ

  
           
ส่วนเนื้อหา (Body of Paper) สามารถแบ่งเป็นตอน เป็นบท ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมค่ะ โดยอาจจะเน้นประเด็นสำคัญๆ เพื่อให้เข้าใจประเด็นได้ง่าย เป็นลำดับ ต่อเนื่อง และสอดคล้องกัน แต่ถ้ารายงานของน้องๆ เป็นแบบสั้นๆ อาจจะแบ่งเป็นหัวข้อก็ได้ค่ะ ไม่จำเป็นต้องแบ่งเป็นบทค่ะ

  

  
           
บทสรุปหรือสรุป (Conclusion) ส่วนสุดท้ายของเนื้อหา เพื่อเน้นย้ำผลของการค้นคว้าในหัวข้อรายงานของน้องๆ โดยน้องๆ อาจจะเขียนสรุปประเด็นสำคัญจากการค้นคว้า ถ้าเนื้อหาในส่วนนี้เยอะ น้องๆ อาจจะแยกออกมาเป็นอีกหนึ่งบท แต่ถ้ามีเนื้อหาไม่มากนัก อาจจะสรุปไว้ในย่อหน้าสุดท้ายของเนื้อหาก็ได้ค่ะ
  

  

 

                                         ส่วนประกอบตอนท้าย                                           

 

  
           
บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง (Bibliography หรือ References)

ซึ่งก็คือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทุกชนิด ทั้งหนังสือ อินเตอร์เน็ต เอกสาร ข่าว ฯลฯ ซึ่งการเขียนบรรณานุกรมต้องเขียนให้มีแบบแผนชัดเจน ตามรูปแบบการอ้างอิงบรรณานุกรมแบบต่างๆ เช่น

*** การเขียนบรรณานุกรมทุกชนิด หากเขียนไม่จบใน 1 บรรทัด บรรทัดถัดไปให้ย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 อักษร

    

  • หนังสือ (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ)

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / ครั้งที่พิมพ์. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

สุภาพรรณ ณ บางช้าง.  ขนบธรรมเนียมประเพณี : ความเชื่อและแนวการปฏิบัติใน
         สมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง.กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยศึกษา
         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2535.

Herren, Ray V.  The Science of Animal Agriculture.
         Albany, N.Y. : Delmar Publishers,  1994.

 

  • หนังสือแปล

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / แปลโดย ผู้แปล. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

สตีเวนสัน, วิลเลียม.  นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ.  ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จ
         พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ.  กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง
         แอนด์พับลิชชิ่ง,  2536.

Grmek, Mirko D.  History of AIDS : Emerging and Origin of a Modern Pandemic.
         Translated by Russell C. Maulitz, and Jacalyn Duffin.  Princeton, N.J. :
         University Press,  1990.

 

  • บทความ / บทความในหนังสือ

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / ใน / ชื่อบรรณาธิการ หรือ ผู้รวบรวม. / /
         ชื่อเรื่อง, / เลขหน้า. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

จุลลดา ภักดีภูมินทร์.  ศักดินาและฐานันดรศักดิ์. ใน เลาะวัง,
         2: 315-322.  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โชคชัยเทเวศร์,
         2535.

 

  • บทความในวารสาร

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / / ชื่อวารสาร / ปีที่, / ฉบับที่(ปีพิมพ์): / เลขหน้า.

ตัวอย่าง

เจตน์ เจริญโท.  การท่องเที่ยวกับสิ่งแวดล้อมไทย ทำอย่างไรจึงจะยั่งยืน.
         นิตยสารโลกสีเขียว 2, 4(2536): 16-20.
Swazey, Judith P.; Anderson, Melissa S.; and Lewis, Karen Seashore.
         Ethical Problems in Academic Research.  American Scientist
         81, 6(1993): 542-553.

 

  • บทความในหนังสือพิมพ์

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / / ชื่อหนังสือพิมพ์, / (วันที่ / เดือน / ปี): / เลขหน้า.

ตัวอย่าง

ประสงค์ วิสุทธิ์.  สิทธิของเด็ก.มติชน (19 มีนาคม 2537): 18.

Vitit Muntarbhorn.  The Sale of Children as a Global Dilemma.
         Bangkok Post (21 March 1994): 4.
  

 

  • สัมภาษณ์

ผู้ให้สัมภาษณ์. / / ตำแหน่ง (ถ้ามี). / / สัมภาษณ์, / วันที่ / เดือน / ปี.

ตัวอย่าง

แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง.  นายกสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
         สัมภาษณ์, 11 มีนาคม 2537.
Kent, Allen.  Interview, 31 January 1994.
  

 

  • อินเตอร์เน็ต

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / [ประเภทของสื่อที่เข้าถึง]. / / เข้าถึงได้จาก: / แหล่งข้อมูล/ 

สารนิเทศ. / ปี.

ตัวอย่าง

“ยาม้า ยาบ้า.”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: http://www.au.ac.th/Newabac/special/
         E/index.html  2540.

“Informedia : Researching Digital Video Libraries at Carnegie Mellom University.”
         [Online].  Available: http://informedia.cs.cmu.edu/html/main.html
         1998.
 

           ภาคผนวก (Appendix) เป็นส่วนเพิ่มเติมของเล่มรายงานค่ะ เนื้อหาส่วนนี้เป็นการเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของเนื้อหาตามความเหมาะสม แต่จริงๆ แล้ว ภาคผนวกไม่จำเป็นต้องมีเสมอไปค่ะ ยกตัวอย่างเช่น หากน้องๆ ทำรายงานที่ต้องเก็บข้อมูลมาจากการสัมภาษณ์หรือแบบสอบถาม อาจจะมีแบบสอบถามใส่ไว้ในภาคผนวกก็ทำให้รายงานสมบูรณ์ขึ้นค่ะ

  

           

หวังว่าคงจะได้รู้จักกับการทำรายงานกันมาขึ้นและมีแบบแผนมากขึ้นแล้วนะคะ น่าจะช่วยให้น้องๆ ทำรายงานกันได้ง่ายขึ้นนะคะ อย่าลืมว่ารูปแบบของรายงานตั้งแต่ปกนอก ปกใน เนื้อหา จนถึงสรุป บรรณานุกรมและภาคผนวก ทุกอย่างมีผลต่อความน่าสนใจ และคะแนนที่น้องๆ จะได้จากคุณครูนะคะ ขอให้ตั้งใจทำให้ดีเพราะคะแนนเก็บมีมากถึง 70% เลยนะคะ

 

           ถ้าน้องๆ มีข้อแนะนำอื่นๆ หรือแนวทางการทำรูปแบบรายงานที่แหวกๆแนว ก็เอามาแบ่งปันกันไว้เลยนะคะ จะได้มีไอเดียในการทำรายงานมากขึ้นยังไงล่ะ

ขอบคุณแหล่งอ้างอิงจาก

http://61.7.230.236/ULIBM//web/_files//20111128234442_3441.pdf

http://www.car.chula.ac.th/readerweb/web/reference_format.html  

[Update] รู้ไหม?? รายงาน 1 เล่ม ต้องมีอะไรบ้าง..ถึงจะออกมาดี | คำนำคือ – NATAVIGUIDES

 

                                          ส่วนประกอบตอนต้น                                          

 

  
           ปกนอก (Cover หรือ Binding)
เป็นส่วนที่หุ้มรายงานทั้งเล่ม ประกอบด้วย ปกหน้า ปกหลัง รวมถึงสันด้วยนะคะ ส่วนนี้ควรใช้กระดาษที่มีความหนาหรือแข็งพอสมควร และสีก็ควรเหมาะกับเนื้อหาภายในเล่มหรืออาจะใช้ปกของโรงเรียนน้องๆ ตามแบบฟอร์มที่โรงเรียนกำหนดก็สะดวกเหมือนกันค่ะ อาจจะมีภาพหรือไม่มีก็ได้ค่ะ แต่ถ้าภาพต้องเหมาะกับเนื้อหาด้วยนะคะ ซึ่งข้อความที่ปรากฏบนปกนอก ประกอบด้วย

           แต่หากคุณครูกำหนดรูปแบบของรายงานให้มีรายละเอียดเพิ่มเติม ก็ใส่ให้ครบนะคะ

 แต่ถ้าคุณครูไม่เข้มงวดมาก ก็โชว์ไอเดียเก๋ๆไปเลย งั้นพี่เมษ์ขอเอาไอเดียของรูปหน้าปกรายงาน แล้วก็หนังสือแบบที่น่าสนใจมาให้ชมกัน มาดูกันดีกว่าค่ะ

  
           
หน้าปกใน (Title Page) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากปกนอก ข้อความเช่นเดียวกับปกนอก ตามลำดับต่อไปนี้ค่ะ

โดยส่วนนี้ให้บรรทัดสุดท้ายอยู่ห่างจากขอบล่างประมาณ 1 นิ้ว

           สรุปง่ายๆ ปกในกับปกนอกคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนจากปกแข็ง หรือกระดาษแข็ง เป็นกระดาษธรรมดาเท่านั้นเองค่ะ

  
           
คำนำ (Preface) คือส่วนที่น้องๆ สามารถเล่าที่มา วัตถุประสงค์ ความสำคัญ และขอบเขตของเนื้อหา รวมถึงใส่คำขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือให้รายงานของน้องๆ สำเร็จ เขียนให้เหมาะสมกับเนื้อหา ไม่ยาวหรือสั้นเกินไป 2-3 ย่อหน้าก็ได้ค่ะ เพื่ออธิบายคร่าวๆว่า รายงงานของน้องๆ ทำขึ้นเพื่ออะไร ทำไมถึงทำรายงงานนี้ รายงานเล่มนี้มีความสำคัญอย่างไรบ้างนั่นเองค่ะ

           โดยส่วนนี้ให้พิมพ์คำว่า “คำนำ” ด้วยอักษรขนาดใหญ่ ไว้กลางหน้ากระดาษโดยไม่ต้องขีดเส้นใต้ และเว้นระยะให้ห่างจากขอบบน 2 นิ้ว ส่วนเนื้อหาให้พิมพ์ข้อความในบรรทัดถัดลงมา และเมื่อจบข้อความแล้วให้น้องๆ ลงชื่อ และ นามสกุลของผู้เขียน แต่ถ้าเป็นงานกลุ่มให้ลงท้ายด้วยคำว่า “คณะผู้จัดทำ” แล้วจึงจบด้วยการลงวันที่ เดือน (เขียนแบบย่อ) ปี (ไม่ต้องมี พ.ศ.) ไว้ด้วยค่ะ

  
           
สารบัญ (Table of Contents) ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่ต่อจากคำนำ โดยส่วนนี้ ขึ้นต้นด้วยด้วยคำว่า “สารบัญ” ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่กลางหน้ากระดาษโดยเว้นห่างจากขอบบนลงมา 2 นิ้ว

           จากนั้นน้องๆ สามารถบอกชื่อตอน บท หัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยนั้นๆ โดยเรียงตามลำดับในเนื้อหาของรายงานของน้องๆ ด้านซ้ายของหน้าเป็นชื่อตอน บท หัวข้อต่างๆ ที่ต้องการ โดยเว้นห่างจากขอบซ้ายของกระดาษ 1.5 นิ้ว และให้มีเลขหน้าที่ตรงกับส่วนนั้นกำกับไว้ด้านขวา โดยตัวเลขหน้า เว้นห่างจากขอบกระดาษด้านขวา 1 นิ้ว
   

   

                                                 เนื้อหา                                                        

  
           
บทนำ (Introduction)  เป็นส่วนเริ่มต้นของความน่าใจในรายงานของน้องๆ จึงเป็นอีกส่วนที่สำคัญที่ทำให้คนอ่านอยากอ่านรายงานของเรามากขึ้น จึงควรเขียนให้ชัดเจน น่าติดตาม เพื่อชี้แจงให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมของเนื้อเรื่องที่น้องๆ ได้ค้นคว้ามานั่นเอง โดยอาจจะเขียนแค่ 1 ย่อหน้าก็ได้ค่ะ ขึ้นอยู่กับว่าเนื้อหามากน้อยแค่ไหน

           การวางรูปแบบหน้าเหมือนกับบทอื่นๆ โดยเขียนบรรทัดแรกด้วยคำว่า “บทที่ 1” และบรรทัดถัดมาก็ใช้คำว่า “บทนำ” เพื่อเข้าสู่บทนำของน้องๆ  หรืออาจจะตั้งชื่อตามความเหมาะสม โดยวางไว้กลางหน้ากระดาษค่ะ แต่ถ้าส่วนเนื้อหาแบ่งเป็นบทแล้ว อาจใช้คำว่า “ความนำ” เพื่อนำผู้อ่านเข้าสู่เนื้อเรื่องแทนก็ได้ค่ะ

  
           
ส่วนเนื้อหา (Body of Paper) สามารถแบ่งเป็นตอน เป็นบท ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมค่ะ โดยอาจจะเน้นประเด็นสำคัญๆ เพื่อให้เข้าใจประเด็นได้ง่าย เป็นลำดับ ต่อเนื่อง และสอดคล้องกัน แต่ถ้ารายงานของน้องๆ เป็นแบบสั้นๆ อาจจะแบ่งเป็นหัวข้อก็ได้ค่ะ ไม่จำเป็นต้องแบ่งเป็นบทค่ะ

  

  
           
บทสรุปหรือสรุป (Conclusion) ส่วนสุดท้ายของเนื้อหา เพื่อเน้นย้ำผลของการค้นคว้าในหัวข้อรายงานของน้องๆ โดยน้องๆ อาจจะเขียนสรุปประเด็นสำคัญจากการค้นคว้า ถ้าเนื้อหาในส่วนนี้เยอะ น้องๆ อาจจะแยกออกมาเป็นอีกหนึ่งบท แต่ถ้ามีเนื้อหาไม่มากนัก อาจจะสรุปไว้ในย่อหน้าสุดท้ายของเนื้อหาก็ได้ค่ะ
  

  

 

                                         ส่วนประกอบตอนท้าย                                           

 

  
           
บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง (Bibliography หรือ References)

ซึ่งก็คือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทุกชนิด ทั้งหนังสือ อินเตอร์เน็ต เอกสาร ข่าว ฯลฯ ซึ่งการเขียนบรรณานุกรมต้องเขียนให้มีแบบแผนชัดเจน ตามรูปแบบการอ้างอิงบรรณานุกรมแบบต่างๆ เช่น

*** การเขียนบรรณานุกรมทุกชนิด หากเขียนไม่จบใน 1 บรรทัด บรรทัดถัดไปให้ย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 อักษร

    

  • หนังสือ (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ)

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / ครั้งที่พิมพ์. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

สุภาพรรณ ณ บางช้าง.  ขนบธรรมเนียมประเพณี : ความเชื่อและแนวการปฏิบัติใน
         สมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง.กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยศึกษา
         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2535.

Herren, Ray V.  The Science of Animal Agriculture.
         Albany, N.Y. : Delmar Publishers,  1994.

 

  • หนังสือแปล

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / แปลโดย ผู้แปล. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

สตีเวนสัน, วิลเลียม.  นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ.  ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จ
         พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ.  กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง
         แอนด์พับลิชชิ่ง,  2536.

Grmek, Mirko D.  History of AIDS : Emerging and Origin of a Modern Pandemic.
         Translated by Russell C. Maulitz, and Jacalyn Duffin.  Princeton, N.J. :
         University Press,  1990.

 

  • บทความ / บทความในหนังสือ

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / ใน / ชื่อบรรณาธิการ หรือ ผู้รวบรวม. / /
         ชื่อเรื่อง, / เลขหน้า. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

จุลลดา ภักดีภูมินทร์.  ศักดินาและฐานันดรศักดิ์. ใน เลาะวัง,
         2: 315-322.  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โชคชัยเทเวศร์,
         2535.

 

  • บทความในวารสาร

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / / ชื่อวารสาร / ปีที่, / ฉบับที่(ปีพิมพ์): / เลขหน้า.

ตัวอย่าง

เจตน์ เจริญโท.  การท่องเที่ยวกับสิ่งแวดล้อมไทย ทำอย่างไรจึงจะยั่งยืน.
         นิตยสารโลกสีเขียว 2, 4(2536): 16-20.
Swazey, Judith P.; Anderson, Melissa S.; and Lewis, Karen Seashore.
         Ethical Problems in Academic Research.  American Scientist
         81, 6(1993): 542-553.

 

  • บทความในหนังสือพิมพ์

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / / ชื่อหนังสือพิมพ์, / (วันที่ / เดือน / ปี): / เลขหน้า.

ตัวอย่าง

ประสงค์ วิสุทธิ์.  สิทธิของเด็ก.มติชน (19 มีนาคม 2537): 18.

Vitit Muntarbhorn.  The Sale of Children as a Global Dilemma.
         Bangkok Post (21 March 1994): 4.
  

 

  • สัมภาษณ์

ผู้ให้สัมภาษณ์. / / ตำแหน่ง (ถ้ามี). / / สัมภาษณ์, / วันที่ / เดือน / ปี.

ตัวอย่าง

แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง.  นายกสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
         สัมภาษณ์, 11 มีนาคม 2537.
Kent, Allen.  Interview, 31 January 1994.
  

 

  • อินเตอร์เน็ต

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / [ประเภทของสื่อที่เข้าถึง]. / / เข้าถึงได้จาก: / แหล่งข้อมูล/ 

สารนิเทศ. / ปี.

ตัวอย่าง

“ยาม้า ยาบ้า.”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: http://www.au.ac.th/Newabac/special/
         E/index.html  2540.

“Informedia : Researching Digital Video Libraries at Carnegie Mellom University.”
         [Online].  Available: http://informedia.cs.cmu.edu/html/main.html
         1998.
 

           ภาคผนวก (Appendix) เป็นส่วนเพิ่มเติมของเล่มรายงานค่ะ เนื้อหาส่วนนี้เป็นการเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของเนื้อหาตามความเหมาะสม แต่จริงๆ แล้ว ภาคผนวกไม่จำเป็นต้องมีเสมอไปค่ะ ยกตัวอย่างเช่น หากน้องๆ ทำรายงานที่ต้องเก็บข้อมูลมาจากการสัมภาษณ์หรือแบบสอบถาม อาจจะมีแบบสอบถามใส่ไว้ในภาคผนวกก็ทำให้รายงานสมบูรณ์ขึ้นค่ะ

  

           

หวังว่าคงจะได้รู้จักกับการทำรายงานกันมาขึ้นและมีแบบแผนมากขึ้นแล้วนะคะ น่าจะช่วยให้น้องๆ ทำรายงานกันได้ง่ายขึ้นนะคะ อย่าลืมว่ารูปแบบของรายงานตั้งแต่ปกนอก ปกใน เนื้อหา จนถึงสรุป บรรณานุกรมและภาคผนวก ทุกอย่างมีผลต่อความน่าสนใจ และคะแนนที่น้องๆ จะได้จากคุณครูนะคะ ขอให้ตั้งใจทำให้ดีเพราะคะแนนเก็บมีมากถึง 70% เลยนะคะ

 

           ถ้าน้องๆ มีข้อแนะนำอื่นๆ หรือแนวทางการทำรูปแบบรายงานที่แหวกๆแนว ก็เอามาแบ่งปันกันไว้เลยนะคะ จะได้มีไอเดียในการทำรายงานมากขึ้นยังไงล่ะ

ขอบคุณแหล่งอ้างอิงจาก

http://61.7.230.236/ULIBM//web/_files//20111128234442_3441.pdf

http://www.car.chula.ac.th/readerweb/web/reference_format.html  


นะจ๊ะพ่อมึ_สิ – พร จันทพร Ft. จุ๊บแจง เจนจิรา [OFFICIAL MV]


เพลง : นะจ๊ะพ่อมึ_สิ
ศิลปิน : พร จันทพร Ft. จุ๊บแจง เจนจิรา
\rคำร้อง/ทำนอง : นิค สะเลอปี้
\rเรียบเรียง : ห่มสามสาเร็คคอร์ด
ติดต่องาน โทร.0887473659 พี่หนุ่ย พีอาร์พอดีม่วน
ติดต่องานโชว์ โทร.0837899325 พ่อเปิ้ล นาแก
ดนตรี https://drive.google.com/file/d/1wuAHX5_kf_HrxGUts25IVKS8aakJyH/view?usp=drivesdk
_________________________________________
บ่มีหยังดี จักแนว จัก สิทนไปเพื่อหยังแล่ว
วันๆเธอหาแต่แนว ให้ฉันซัง จักสิทนเฮ็ดหยัง อยากมีชีวิตใหม่
เธอบอกเธอขอเวลา ปรับปรุงทำความเข้าใจ
เธอแก้ตัวมันไปวันๆ บ่แก้ไข ฉันกะเลยสิไป หนีไกลจากเธอ
หลายปีที่อยู่กับเธอ บ่เคยเจอเรื่องดีสักอย่าง
ดีแนแต่เว้า เพื่อให้ความหวัง วันๆไป
เลิกกันเถาะ ขอจบจากกัน สิฝากความฝันกับคนฮักใหม่
แต่เธอยังมาขอโอกาสใจ บอกทนอีกที นะจ๊ะ
นะจ๊ะ
นะจ๊ะพ่อมึ_สิ ให้ทนอีกทีก็ไม่ไหว
โอกาสที่เคย ให้ ก็ไม่เคยได้อะไรคืนมา
ก็ทนมาหลายปี จบกันสักทีดีกว่า
ไม่อยากจะเสียเวลา จบกันนะจ๊ะ คนดี
หลายปีที่อยู่กับเธอ บ่เคยเจอเรื่องดีสักอย่าง
ดีแนแต่เว้า เพื่อให้ความหวัง วันๆไป
เลิกกันเถาะ ขอจบจากกัน สิฝากความฝันกับคนฮักใหม่
แต่เธอยังมาขอโอกาสใจ บอกทนอีกที นะจ๊ะ
นะจ๊ะ
นะจ๊ะพ่อมึ_สิ ให้ทนอีกทีก็ไม่ไหว
โอกาสที่เคย ให้ ก็ไม่เคยได้อะไรคืนมา
ก็ทนมาหลายปี จบกันสักทีดีกว่า
ไม่อยากจะเสียเวลา
นะจ๊ะพ่อมึ_สิ ให้ทนอีกทีก็ไม่ไหว
โอกาสที่เคย ให้ ก็ไม่เคยได้อะไรคืนมา
ก็ทนมาหลายปี จบกันสักทีดีกว่า
ไม่อยากจะเสียเวลา จบกันนะจ๊ะ คนดี
ดาวน์โหลดเพลง \”นะจ๊ะพ่อมึงสิ ft. จุ๊บแจง เจนจิรา พร จันทพร\”
โทร 49228380 ได้ทั้งริงโทน เต็มเพลง และเสียงรอสาย
มีให้โหลดเป็นเสียงเรียกเข้า เสียงรอสาย ผ่านการโทรทางไลน์แล้ว ในไลน์เมโลดี้
► https://melody.line.me/melody/32601
🎧 รับฟังได้แล้วทาง Music Streaming
Youtube Music : https://music.youtube.com/watch?v=a7NcMCo9YpM
Spotify : https://open.spotify.com/album/5C8fhwoQFFbFeEedAZ463i?si=483b7b748b4840fe
JOOX : https://www.joox.com/th/album/GkHHBRlG2RCSBlpTzX+xkw==
iTunes \u0026 Apple Music : https://music.apple.com/th/album/1576289851
iTunes Ringtone : https://itunes.apple.com/th/album/1576463544?app=itunes
TIDAL : https://tidal.com/browse/track/190733793
TikTok : https://vt.tiktok.com/ZGJB8Y38A
นะจ๊ะพ่อมึ_สิ พร_จันทพร จุ๊บแจง_เจนจิรา

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

นะจ๊ะพ่อมึ_สิ - พร จันทพร Ft. จุ๊บแจง เจนจิรา [OFFICIAL MV]

เราคือเพื่อนกัน – สามัญชน COVER VIDEO BY …. ประชาชน


ต้นฉบับ
เสียง
https://www.youtube.com/watch?v=59xwwN065IY
รูป
https://www.facebook.com/ballbanofficial/photos/a.1972904679678356/2489640061338146/?type=3\u0026theater
https://www.facebook.com/stories.cloud/photos/a.123076775758835/489872282412614/?type=3\u0026theater
https://www.facebook.com/bindavut?fref=nf\u0026__tn__=mF\u0026eid=ARD7bp6bbFdCwHqUcHECX24QaTGPk_7kKmyk5FEkdAUJ9AxnKt7i2q4WUlvbZw7E6ub93CwaZ4T_8v
ข้อมูล
BBC THAILAND
เพจถ่ายรูปอื่นๆ ทั่วราชอาณาจักรไทย
เพจข้อมูลอื่นๆ ทั่วราชอาณาจักรไทย
ขอบคุณสำหรับการรับชม….
ตำรวจขี้ข้าทหาร ทหารเลียตีนนาย

เราคือเพื่อนกัน - สามัญชน COVER VIDEO BY .... ประชาชน

Learn Thai with me : การเขียนเรียงความ


เขียนเรียงความ เรียงความ เทคนิคการเขียนเรียงความ องค์ประกอบเรียงความ

Learn Thai with me : การเขียนเรียงความ

You Let Me Down (คึดนำ) – ฐา ขนิษ ft.ท้าวคำสิงห์ เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง ฮักแพง


ร่วมสนับสนุนพระนครฟิลม์ ผ่านระบบ Membership คลิกที่นี่เลย https://bit.ly/3ntWKzo คึดนำ youletmedown
เพลง : You Let Me Down (คึดนำ)
ศิลปิน : ฐา ขนิษ ft.ท้าวคำสิงห์
คำร้อง/ทำนอง : ก้อง ห้วยไร่
เรียบเรียง : นะโม โมรา

บทเพลงไพเราะที่หลายคนติดอกติดใจในน้ำเสียงหวานๆของ “ฐา ขนิษ” ด้วยเนื้อหาและทวงทำนองที่สุดแสนจะละมุนเพียงได้ฟังแค่ครั้งแรกและเพลงนี้ก็ได้ถูกนำมาใส่เอาไว้ใน “ฮักแพง” ภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติกสนุกสนานที่จะช่วยสร้างความประทับใจให้กับแฟนๆเพิ่มมากขึ้นไปอีก

กำหนดฉาย : 1 พฤษภาคม 2561
แนวภาพยนตร์ : Romantic Comedy
บริษัทผู้สร้างจัดจำหน่าย : พระนครฟิลม์
บริษัทผู้ผลิต : ซำบายดี สตูดิโอ
กำกับภาพยนตร์ : ธีรเดช สพันอยู่
กำกับภาพ : พนม พรมชาติ
ฟิล์มแล๊บ : บ.G2D จำกัด
นักแสดง : ก้อง ห้วยไร่ / เบิ้ล ปทุมราช / แซ็ค ชุมแพ / ลำไย ไหทองคำ / ธัญญ่า อาร์สยาม / เบล ฐา ขนิษ ▪ For work and Copyrights ▪
Please contact K. Kwang
Mobile : 0646192465 / 0996565946
Email : [email protected]

You Let Me Down (คึดนำ) - ฐา ขนิษ ft.ท้าวคำสิงห์ เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่อง ฮักแพง

คำนำหน้านาม Le, La, Les, L’ ( l’article défini) I ภาษาฝรั่งเศส I French with Khwan


คำนำหน้านามแบบชี้เฉพาะเจาะจงในภาษาฝรั่งเศสมีทั้งหมด 4 คำ คือ Le, La, Les, L’ มีวิธีใช้อย่างไรมาฟังกันค่ะ 😊
📌Subscribeและกดกระดิ่งจะได้ไม่พลาดคลิปทุกๆสัปดาห์: http://bit.ly/FrenchwithKhwan
📌Facebook: http://bit.ly/2ORbgPV
📌 Instagram: https://www.instagram.com/french_with_khwan/

🇫🇷เรียนภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น: http://bit.ly/2AHTlE0
🇫🇷ข้อมูลเรียนต่อฝรั่งเศส : http://bit.ly/2Mq3vgR
🇫🇷วัฒนธรรม/อาหาร/ท่องเที่ยวฝรั่งเศส: http://bit.ly/2RZTH2p
🇫🇷เทคนิคการเรียนภาษาฝรั่งเศส http://bit.ly/2RUAEqY
FunFrenchWithKhwan เรียนภาษาฝรั่งเศส
ภาษาฝรั่งเศส ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น สอนภาษาฝรั่งเศส
Credit Photo: Freepik.com

คำนำหน้านาม Le, La, Les, L’ ( l'article défini) I ภาษาฝรั่งเศส I French with Khwan

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ คำนำคือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *