Skip to content
Home » [Update] รู้จักประเภทของกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) – | ประเภท ของ บริษัท – NATAVIGUIDES

[Update] รู้จักประเภทของกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) – | ประเภท ของ บริษัท – NATAVIGUIDES

ประเภท ของ บริษัท: คุณกำลังดูกระทู้

Types of CSR

กิจกรรมเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility) หรือที่เรียกกันอย่างติดปากว่า CSR เป็นแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองค์กร ที่คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กรหรือทรัพยากรจากภายนอกองค์กร เพื่อทำให้สังคมนั้นอยู่อย่างมีความสุข

แนวคิดเรื่อง CSR นั้นจะช่วยให้บริษัทคำนึงถึงความรู้จักผิดชอบกับการกระทำใดๆที่ก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมในมิติต่างๆ ทั้งตัวบริษัท พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง ประชาชน สังคม สิ่งแวดล้อม หน่วยงาน องค์กรต่างๆ หรือที่เรียกว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ในทางปฏิบัติคำว่า CSR อาจเรียกได้ว่าความเป็นพลเมืองที่ดี (Corporate Citizenship) ที่ต้องคำนึงถึงผลกระทบในทุกๆด้าน ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม

หากบริษัทไหนเริ่มต้นที่จะนำแนวคิด CSR มาใช้ในการขับเคลื่อนธุรกิจ ก็จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการสร้างความน่าชื่อถือให้กับบริษัทเอง รวมไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ในการสร้างธุรกิจให้เติบโตก้าวหน้าพร้อมกับคืนกำไรต่างๆสู่ชุมชนและสังคม ดังนั้น CSR จึงกลายเป็นกลยุทธ์สำคัญในการทำธุรกิจสำหรับองค์กรใหญ่ๆทุกบริษัท และกลายเป็นบรรทัดฐานในการดำเนินธุรกิจด้วยจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมธุรกิจ คู่แข่ง และอุตสาหกรรม

ประเภทของ CSR

CSR นั้นแบ่งได้ออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ

  • กิจกรรมเพื่อสังคม (CSR-After-Process)
    เป็นการดำเนินกิจกรรมขององค์กรที่แสวงหากำไรในธุรกิจต่างๆ และนำเงินส่วนหนึ่งที่เป็นรายได้จากการสินค้าหรือบริการ ที่ไม่ได้อยู่ในกระบวนการผลิต การขายสินค้าหรือบริการของบริษัท เป็นกิจกรรมที่ถูกวางแผนและทำขึ้นมาหลังจากการดำเนินธุรกิจ เช่น การบริจาคเงินสมทบทุน การบริจาคเงินช่วยเหลือภัยพิบัติ การสร้างโรงเรียนในต่างจังหวัด หรือการเป็นอาสาสมัครในด้านต่างๆ
  • ธุรกิจเพื่อสังคม (CSR-in-Process)
    ความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ในกระบวนการทำงานหลักของบริษัทหรือองค์กรนั้นๆ ที่แสวงหากำไรแต่ไม่ลืมที่จะคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น การควบคุมและป้องกันการสร้างมลพิษจากกระบวนการผลิต การผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน การระบุข้อความหรือข้อมูลส่วนผสมในสินค้า หรือการจ่ายค่าชดเชยในกรณีที่บริษัททำอะไรผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม หรือแม้แต่ความผิดพลาดต่อลูกค้า ซึ่งทั้งหมดล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นในเวลาทำงานปกติขององค์กร
  • กิจการเพื่อสังคม (CSR-as-Process)
    กิจการเพื่อสังคมจะมีความแตกต่างจากกิจกรรมเพื่อสังคมและธุรกิจเพิ่มสังคม เนื่องจากกิจการเพื่อสังคมนั้นเป็นการทำโดยที่ไม่ได้แสวงหากำไรให้กับตัวเอง หรือเรียกได้ว่าทุกกระบวนการของธุรกิจนั้นจะเกี่ยวข้องกับประโยชน์เพื่อสังคมทั้งหมด เช่น มูลนิธิเพื่อสังคม องค์กรสาธารณประโยชน์ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของคนที่มีอุดมการณ์เดียวกันในการสร้างประโยชน์สูงสุดแก่สังคม แต่ก็จำเป็นต้องอยู่รอดด้วยการรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ และเรายังเห็นได้จากองค์กรใหญ่หลายๆองค์กรก็เริ่มมีการจัดตั้งหน่วยงานกิจการเพื่อสังคมขึ้นมาเป็นรูปแบบมูลนิธิเพื่อสังคม ในการกำกับดูแลการทำเพื่อสังคมโดยเฉพาะ

ระดับของ CSR

การทำ CSR นั้นมีทั้งแบบการทำโดยความตั้งใจจริงและการทำตามข้อกำหนดบางอย่าง ที่มีความเข้มข้นต่างกันอยู่ด้วยกัน 4 ระดับ คือ

  • ระดับพื้นฐาน ที่จำเป็นต้องทำตามกฎระเบียบ หรือข้อกำหนดต่างๆ โดยส่วนใหญ่เราจะเห็นได้จากองค์กรที่เป็นมหาชน ที่จำเป็นต้องมีกิจกรรมเพื่อสังคมในรูปแบบต่างๆ
  • ระดับก้าวหน้า หรือกิจกรรมที่เกิดจากการสมัครใจของตัวองค์กรเอง โดยที่ไม่ได้ถูกบังคับด้วยกฎระเบียบใดๆ
  • องค์กรเป็นผู้ขับเคลื่อน (Corporate-Driven) หรือการที่องค์กรบริจาคเงินหรือทรัพยากรต่างๆเพื่อช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ รวมทั้งการใช้กำลังคนในองค์กรลงไปร่วมกิจกรรมต่างๆ อาจเรียกได้ว่าเป็นการเสียสละทั้งกำลังทรัพย์และการลงแรง
  • พลังสังคมเป็นผู้ขับเคลื่อน (Social-Driven) หรือการที่องค์กรประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าหรือผู้ที่สนใจ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการช่วยเหลือสังคมด้วยการซื้อสินค้าและองค์กรจะนำเงินส่วนหนึ่งในร่วมทำกิจกรรมดีๆเพื่อสังคม เช่น หากซื้อรองเท้า 1 คู่ บริษัทจะบริจาค 1 คู่ เพื่อผู้ยากไร้ หรือการระดมเงินทุนต่างๆเพื่อช่วยเหลือผู้เดือดร้อน

TOMS One for One

Source: www.magtoo.fr/toms-faites-une-bonne-action

ชนิดของ CSR

CSR สามารถแบ่งออกได้เป็น 7 ชนิดด้วยกัน คือ

  • การส่งเสริมประเด็นสังคม (Cause Promotion) การที่องค์กรส่งเสริมประเด็นปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม โดยการช่วยเหลือในด้านต่างๆ เช่น การจัดหาเงินทุน การระดมทุน การบริจาคทรัพยากร การส่งอาสาสมัครเพื่อทำกิจกรรมต่างๆ
  • การตลาดที่เกี่ยวโยงกับประเด็นสังคม (Cause-Related Marketing) การที่องค์กรบริจาครายได้ส่วนหนึ่งจากการขายสินค้าหรือบริการ เพื่อนำไปสมทบทุนหรือบริจาคให้กับหน่วยงานการกุศล หรือมูลนิธิต่างๆ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้บริโภคได้ร่วมทำบุญกับองค์กรและมูลนิธิด้วยความสมัครใจ
  • การตลาดเพื่อแก้ปัญหาสังคม (Corporate Social Marketing) การที่องค์กรรณรงค์หรือสนับสนุนให้เกิดการสร้างความตระหนักรู้ และเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมในด้านต่างๆ อาทิ ด้านสาธารณสุข ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม โดยองค์กรจะสนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็นในแคมเปญการรณรงค์ต่างๆ
  • การบริจาคเพื่อการกุศล (Corporate Philanthropy) การบริจาคปัจจัยหรือสิ่งของเพื่อช่วยเหลือปัญหาสังคม ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการร้องขอจากหน่วยงานต่างๆ ที่ไม่ใช่การวางแผนในการทำโดยตัวองค์กรเอง
  • การอาสาช่วยเหลือชุมชน (Community Volunteering) การที่องค์กรจูงใจให้พนักงานสละเวลาในการทำงานเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมทางสังคม โดยองค์กรอาจทำกิจกรรมด้วยตัวเองหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ
  • การประกอบธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible Business Practices) การดำเนินธุรกิจที่หลีกเลี่ยงปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับสังคม โดยการพิจารณาตั้งแต่กระบวนการผลิตสินค้า การเลือกใช้วัตถุดิบต่างๆ อีกทั้งยังหาวัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาใช้ในกระบวนการต่างๆ รวมถึงการร่วมรณรงค์ให้คนในสังคมมีความรับผิดชอบต่อสังคมอีกด้วย
  • การพัฒนาและส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการตามกำลังซื้อของคนในระดับฐานราก (Developing and Delivering Affordable Products and Services) การใช้กระบวนการทางธุรกิจในการผลิตและจำหน่ายสินค้าและบริการสู่ตลาดในราคาที่ไม่แพง เหมาะกับกำลังซื้อของผู้บริโภคในระดับฐานราก ให้สามารถเข้าถึงสินค้าและบริการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ข้อควรระวังในการทำ CSR

การทำกิจกรรมเพื่อสังคมนั้นเป็นสิ่งที่ทำได้ไม่ยาก และมีสิ่งที่จำเป็นต้องหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้เกิดปัญหากับตัวองค์กร และคงไว้ซึ่งจรรยาบรรณในการทำธุรกิจ องค์กรควรหลีกเลี่ยงโดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับอะไรที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักขององค์กรหรือความถูกต้องในการทำธุรกิจ และควรหลีกเลี่ยงจากการใช้ประโยชน์จาก CSR เพื่อประโยชน์ทางการตลาด เพื่อไม่ให้เกิดคำถามจากสังคมว่าเป็นการทำเพื่อประโยชน์อย่างอื่นหรือเป็นแค่การสร้างภาพลักษณ์ ดังนั้นการวางแผนการทำกิจกรรม CSR ใดๆจำเป็นต้องคิดให้รอบด้านที่จะต้องส่งผลดีต่อทุกๆฝ่าย โดยจะต้องส่งผลบางอย่างเพื่อเปลี่ยนแปลงโลกให้น่าอยู่ยิ่งขึ้นอย่างแท้จริง

ตัวอย่างการทำ CSR

  • การลดการใช้คาร์บอน
  • ปรับปรุงนโยบายการจ้างงาน
  • การเข้าไปมีส่วนร่วมในการขายสินค้าอย่างมีจริยธรรม
  • อาสาสมัครทำกิจกรรมเพื่อชุมชน
  • การบริจาคเงินทุน
  • การเปลี่ยนนโยบายบริษัทให้หันมามุ่งเน้นเรื่องประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม
  • การลงทุนในกระบวนการผลิตเพื่อพัฒนาสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  • การตั้งโครงการด้านการกุศล

Reference

Philip Kotler and Nancy Lee, Corporate Social Responsibility, (New Jersey, John Wiley & Sons, 2005), p.23.
Philip Kotler and Nancy Lee, Up and Out of Poverty, (Wharton School Publishing, 2009), p.294.
ThaiCSR.com

Cover photo by Rodrigo Vieira from FreeImages

[Update] รู้จักประเภทของกิจกรรมเพื่อสังคม (CSR) – | ประเภท ของ บริษัท – NATAVIGUIDES

Types of CSR

กิจกรรมเพื่อสังคม (Corporate Social Responsibility) หรือที่เรียกกันอย่างติดปากว่า CSR เป็นแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมภายในและภายนอกองค์กร ที่คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กรหรือทรัพยากรจากภายนอกองค์กร เพื่อทำให้สังคมนั้นอยู่อย่างมีความสุข

แนวคิดเรื่อง CSR นั้นจะช่วยให้บริษัทคำนึงถึงความรู้จักผิดชอบกับการกระทำใดๆที่ก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมในมิติต่างๆ ทั้งตัวบริษัท พนักงาน ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง ประชาชน สังคม สิ่งแวดล้อม หน่วยงาน องค์กรต่างๆ หรือที่เรียกว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) ในทางปฏิบัติคำว่า CSR อาจเรียกได้ว่าความเป็นพลเมืองที่ดี (Corporate Citizenship) ที่ต้องคำนึงถึงผลกระทบในทุกๆด้าน ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม

หากบริษัทไหนเริ่มต้นที่จะนำแนวคิด CSR มาใช้ในการขับเคลื่อนธุรกิจ ก็จำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการสร้างความน่าชื่อถือให้กับบริษัทเอง รวมไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ในการสร้างธุรกิจให้เติบโตก้าวหน้าพร้อมกับคืนกำไรต่างๆสู่ชุมชนและสังคม ดังนั้น CSR จึงกลายเป็นกลยุทธ์สำคัญในการทำธุรกิจสำหรับองค์กรใหญ่ๆทุกบริษัท และกลายเป็นบรรทัดฐานในการดำเนินธุรกิจด้วยจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมธุรกิจ คู่แข่ง และอุตสาหกรรม

ประเภทของ CSR

CSR นั้นแบ่งได้ออกเป็น 3 ประเภทด้วยกัน คือ

  • กิจกรรมเพื่อสังคม (CSR-After-Process)
    เป็นการดำเนินกิจกรรมขององค์กรที่แสวงหากำไรในธุรกิจต่างๆ และนำเงินส่วนหนึ่งที่เป็นรายได้จากการสินค้าหรือบริการ ที่ไม่ได้อยู่ในกระบวนการผลิต การขายสินค้าหรือบริการของบริษัท เป็นกิจกรรมที่ถูกวางแผนและทำขึ้นมาหลังจากการดำเนินธุรกิจ เช่น การบริจาคเงินสมทบทุน การบริจาคเงินช่วยเหลือภัยพิบัติ การสร้างโรงเรียนในต่างจังหวัด หรือการเป็นอาสาสมัครในด้านต่างๆ
  • ธุรกิจเพื่อสังคม (CSR-in-Process)
    ความรับผิดชอบต่อสังคมที่อยู่ในกระบวนการทำงานหลักของบริษัทหรือองค์กรนั้นๆ ที่แสวงหากำไรแต่ไม่ลืมที่จะคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม เช่น การควบคุมและป้องกันการสร้างมลพิษจากกระบวนการผลิต การผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพตามมาตรฐาน การระบุข้อความหรือข้อมูลส่วนผสมในสินค้า หรือการจ่ายค่าชดเชยในกรณีที่บริษัททำอะไรผิดพลาดที่ส่งผลกระทบต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม หรือแม้แต่ความผิดพลาดต่อลูกค้า ซึ่งทั้งหมดล้วนแล้วแต่เกิดขึ้นในเวลาทำงานปกติขององค์กร
  • กิจการเพื่อสังคม (CSR-as-Process)
    กิจการเพื่อสังคมจะมีความแตกต่างจากกิจกรรมเพื่อสังคมและธุรกิจเพิ่มสังคม เนื่องจากกิจการเพื่อสังคมนั้นเป็นการทำโดยที่ไม่ได้แสวงหากำไรให้กับตัวเอง หรือเรียกได้ว่าทุกกระบวนการของธุรกิจนั้นจะเกี่ยวข้องกับประโยชน์เพื่อสังคมทั้งหมด เช่น มูลนิธิเพื่อสังคม องค์กรสาธารณประโยชน์ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของคนที่มีอุดมการณ์เดียวกันในการสร้างประโยชน์สูงสุดแก่สังคม แต่ก็จำเป็นต้องอยู่รอดด้วยการรับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ และเรายังเห็นได้จากองค์กรใหญ่หลายๆองค์กรก็เริ่มมีการจัดตั้งหน่วยงานกิจการเพื่อสังคมขึ้นมาเป็นรูปแบบมูลนิธิเพื่อสังคม ในการกำกับดูแลการทำเพื่อสังคมโดยเฉพาะ

ระดับของ CSR

การทำ CSR นั้นมีทั้งแบบการทำโดยความตั้งใจจริงและการทำตามข้อกำหนดบางอย่าง ที่มีความเข้มข้นต่างกันอยู่ด้วยกัน 4 ระดับ คือ

  • ระดับพื้นฐาน ที่จำเป็นต้องทำตามกฎระเบียบ หรือข้อกำหนดต่างๆ โดยส่วนใหญ่เราจะเห็นได้จากองค์กรที่เป็นมหาชน ที่จำเป็นต้องมีกิจกรรมเพื่อสังคมในรูปแบบต่างๆ
  • ระดับก้าวหน้า หรือกิจกรรมที่เกิดจากการสมัครใจของตัวองค์กรเอง โดยที่ไม่ได้ถูกบังคับด้วยกฎระเบียบใดๆ
  • องค์กรเป็นผู้ขับเคลื่อน (Corporate-Driven) หรือการที่องค์กรบริจาคเงินหรือทรัพยากรต่างๆเพื่อช่วยเหลือสังคมในด้านต่างๆ รวมทั้งการใช้กำลังคนในองค์กรลงไปร่วมกิจกรรมต่างๆ อาจเรียกได้ว่าเป็นการเสียสละทั้งกำลังทรัพย์และการลงแรง
  • พลังสังคมเป็นผู้ขับเคลื่อน (Social-Driven) หรือการที่องค์กรประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าหรือผู้ที่สนใจ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการช่วยเหลือสังคมด้วยการซื้อสินค้าและองค์กรจะนำเงินส่วนหนึ่งในร่วมทำกิจกรรมดีๆเพื่อสังคม เช่น หากซื้อรองเท้า 1 คู่ บริษัทจะบริจาค 1 คู่ เพื่อผู้ยากไร้ หรือการระดมเงินทุนต่างๆเพื่อช่วยเหลือผู้เดือดร้อน

TOMS One for One

Source: www.magtoo.fr/toms-faites-une-bonne-action

ชนิดของ CSR

CSR สามารถแบ่งออกได้เป็น 7 ชนิดด้วยกัน คือ

  • การส่งเสริมประเด็นสังคม (Cause Promotion) การที่องค์กรส่งเสริมประเด็นปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม โดยการช่วยเหลือในด้านต่างๆ เช่น การจัดหาเงินทุน การระดมทุน การบริจาคทรัพยากร การส่งอาสาสมัครเพื่อทำกิจกรรมต่างๆ
  • การตลาดที่เกี่ยวโยงกับประเด็นสังคม (Cause-Related Marketing) การที่องค์กรบริจาครายได้ส่วนหนึ่งจากการขายสินค้าหรือบริการ เพื่อนำไปสมทบทุนหรือบริจาคให้กับหน่วยงานการกุศล หรือมูลนิธิต่างๆ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้บริโภคได้ร่วมทำบุญกับองค์กรและมูลนิธิด้วยความสมัครใจ
  • การตลาดเพื่อแก้ปัญหาสังคม (Corporate Social Marketing) การที่องค์กรรณรงค์หรือสนับสนุนให้เกิดการสร้างความตระหนักรู้ และเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมในด้านต่างๆ อาทิ ด้านสาธารณสุข ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม โดยองค์กรจะสนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็นในแคมเปญการรณรงค์ต่างๆ
  • การบริจาคเพื่อการกุศล (Corporate Philanthropy) การบริจาคปัจจัยหรือสิ่งของเพื่อช่วยเหลือปัญหาสังคม ซึ่งส่วนใหญ่มาจากการร้องขอจากหน่วยงานต่างๆ ที่ไม่ใช่การวางแผนในการทำโดยตัวองค์กรเอง
  • การอาสาช่วยเหลือชุมชน (Community Volunteering) การที่องค์กรจูงใจให้พนักงานสละเวลาในการทำงานเพื่อช่วยเหลือกิจกรรมทางสังคม โดยองค์กรอาจทำกิจกรรมด้วยตัวเองหรือร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ
  • การประกอบธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible Business Practices) การดำเนินธุรกิจที่หลีกเลี่ยงปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นกับสังคม โดยการพิจารณาตั้งแต่กระบวนการผลิตสินค้า การเลือกใช้วัตถุดิบต่างๆ อีกทั้งยังหาวัตถุดิบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาใช้ในกระบวนการต่างๆ รวมถึงการร่วมรณรงค์ให้คนในสังคมมีความรับผิดชอบต่อสังคมอีกด้วย
  • การพัฒนาและส่งมอบผลิตภัณฑ์และบริการตามกำลังซื้อของคนในระดับฐานราก (Developing and Delivering Affordable Products and Services) การใช้กระบวนการทางธุรกิจในการผลิตและจำหน่ายสินค้าและบริการสู่ตลาดในราคาที่ไม่แพง เหมาะกับกำลังซื้อของผู้บริโภคในระดับฐานราก ให้สามารถเข้าถึงสินค้าและบริการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ข้อควรระวังในการทำ CSR

การทำกิจกรรมเพื่อสังคมนั้นเป็นสิ่งที่ทำได้ไม่ยาก และมีสิ่งที่จำเป็นต้องหลีกเลี่ยงเพื่อไม่ให้เกิดปัญหากับตัวองค์กร และคงไว้ซึ่งจรรยาบรรณในการทำธุรกิจ องค์กรควรหลีกเลี่ยงโดยไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับอะไรที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลักขององค์กรหรือความถูกต้องในการทำธุรกิจ และควรหลีกเลี่ยงจากการใช้ประโยชน์จาก CSR เพื่อประโยชน์ทางการตลาด เพื่อไม่ให้เกิดคำถามจากสังคมว่าเป็นการทำเพื่อประโยชน์อย่างอื่นหรือเป็นแค่การสร้างภาพลักษณ์ ดังนั้นการวางแผนการทำกิจกรรม CSR ใดๆจำเป็นต้องคิดให้รอบด้านที่จะต้องส่งผลดีต่อทุกๆฝ่าย โดยจะต้องส่งผลบางอย่างเพื่อเปลี่ยนแปลงโลกให้น่าอยู่ยิ่งขึ้นอย่างแท้จริง

ตัวอย่างการทำ CSR

  • การลดการใช้คาร์บอน
  • ปรับปรุงนโยบายการจ้างงาน
  • การเข้าไปมีส่วนร่วมในการขายสินค้าอย่างมีจริยธรรม
  • อาสาสมัครทำกิจกรรมเพื่อชุมชน
  • การบริจาคเงินทุน
  • การเปลี่ยนนโยบายบริษัทให้หันมามุ่งเน้นเรื่องประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม
  • การลงทุนในกระบวนการผลิตเพื่อพัฒนาสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  • การตั้งโครงการด้านการกุศล

Reference

Philip Kotler and Nancy Lee, Corporate Social Responsibility, (New Jersey, John Wiley & Sons, 2005), p.23.
Philip Kotler and Nancy Lee, Up and Out of Poverty, (Wharton School Publishing, 2009), p.294.
ThaiCSR.com

Cover photo by Rodrigo Vieira from FreeImages


SPUMOOC006 HR3 EP2 | ประเภทของธุรกิจบัญชี


SPUMOOC006 HR3 EP2 | ประเภทของธุรกิจบัญชี
วิดีโอคลิปประกอบการสอน
รายวิชา
กลยุทธ์ต้นทุนพิชิตกำไร
(The Ultimate Profit Strategy)
รหัส SPUMOOC006
โดย คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ติดต่อ : https://www.spu.ac.th/fac/account/

สนับสนุนโดย :
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
www.spu.ac.th

ผลิตโดย : สำนักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
www.spu.ac.th/ooe

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

SPUMOOC006 HR3 EP2 | ประเภทของธุรกิจบัญชี

ประเภทของร้านค้าปลีก Ep.1/2


สำหรับใช้เรียนวันที่ 6 และ 7 กค.64
Ep.นี้ ช่วงท้ายจะมีนิสิตปริญญาโท โทรเข้ามาพอดีเลย อาจารย์เสียดายอ่ะ ช่วงต้นอัดมาดีแล้ว ไม่อยากอัดใหม่ กลัวจะไม่เหมือนเดิม ขอใช้คลิปนี้เลยละกันนะคะ

ประเภทของร้านค้าปลีก Ep.1/2

อยากเป็นนักธุรกิจ/เจ้าของกิจการ ต้องเรียนอะไร? เริ่มต้นอย่างไรดี?


อยากเป็นนักธุรกิจ/เจ้าของกิจการ ต้องเรียนอะไร? อยากเป็นนักธุรกิจต้องทำอย่างไร
ถ้าคุณอยากรู้ว่าคุณต้องเรียนบริหาร การตลาด บัญชี วิศวะ หมอ หรือจะไม่เรียนอะไรเลยแล้ว คุณจะเป็นเจ้าของกิจการได้ไหม ดูให้จบวีดีโอแล้วคุณจะได้คำตอบ
ซึ่งจริงๆแล้ว การทำธุรกิจหรือเป็นนักธุรกิจนั้นขึ้นอยู่กับลูกค้ามากกว่าความรู้เฉพาะทางของคุณ
ตราบใดที่คุณรู้ว่าลูกค้าอยากซื้ออะไร อยากจ่ายเงินเรื่องอะไร ต่อให้คุณไม่มีความรู้แต่คุณก็เป็นนักธุรกิจที่ทำกำไรเยอะได้
อย่างไรก็ตาม หากคุณอยากเป็นนักธุรกิจสายตรง แบบรู้เรื่องทุกอย่างตั้งแต่วันแรกที่เริ่มต้น คุณก็ควรเรียนบริหารมาก่อน แต่ที่ผมพูดแบบนี้ไม่ได้แปลว่าหมอหรือวิศวะจะทำธุรกิจไม่ได้
หลายๆคนเวลาพูดถึงการเป็นเจ้าของธุรกิจ ก็จะนึกถึงเรื่องความรู้และประสบการณ์ต่างๆ เช่นการเขียนแผนธุรกิจ การทำบัญชี การหาพนักงาน การทำแผนการตลาด
แน่นอนของพวกนี้สำคัญมาก เวลาที่เราเริ่มธุรกิจใหม่ๆ ถ้าเราไม่รู้ของพวกนี้เราก็ต้องไปจ้างคนอื่นมาช่วยดู ซึ่งจริงๆการจ้างคนที่เก่งกว่าเรามาช่วยดูงานแทนเราถือว่าเป็นคำแนะนำที่ดีในฐานะคนทำธุรกิจนะครับ แต่มันก็เป็นคำแนะนำที่แพงและใช้เงินเยอะ
ถ้าคุณจ้างให้ทุกคนมาทำทุกอย่างทั้งหมดคุณจะเสียเป็นล้าน ยิ่งไปกว่านั้นถ้าคุณไม่รู้ว่าคุณต้องทำอะไรบ้าง แบบไม่รู้พื้นฐานเลย คุณก็อาจจะไม่รู้ว่าคนที่จ้างมาเก่งหรือเปล่ากันแน่ ซึ่งมันก็อาจจะเกิดการเสียหายกันอีกถ้า คนที่จ้างมาทำงานไม่เป็น
กลับมาที่เรื่องสิ่งที่คุณต้องเรียนหรือสิ่งที่คุณต้องรู้ก่อนเป็นเจ้าของธุรกิจนะครับ ผมจะขออธิบายแบบนี้ก็แล้วกัน โดยพื้นฐานที่สุดแล้ว ถ้าคุณไม่รู้สิ่งนี้ต่อให้คุณมีเงินหลักล้านสามารถเปิดธุรกิจได้แต่คุณก็ไม่สามารถทำให้ธุรกิจคุณอยู่รอดได้หรอก
ซึ่งสิ่งนี้มันก็คือความสามารถในการเข้าใจปัญหาของลูกค้า และการหาคำตอบที่ลูกค้าอยากจะใช้เงินซื้อ
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
⭐⭐ กดติดตามช่องของผม เพื่อไม่พลาดความรู้ธุรกิจและการตลาดใหม่ๆ ⭐⭐
👍 https://www.youtube.com/c/ThaiWinner?sub_confirmation=1
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
ดูอีบุ๊คธุรกิจและคอร์สการตลาดของผม: https://thaiwinner.com/productsandservices/
⭐ หัวข้อวิดีโอการตลาดที่คุณน่าจะสนใจ
🎥 การตลาดเบื้องต้น (ฉบับเต็ม) พื้นฐานการตลาดแบบละเอียดมาก
👉 https://youtu.be/T4O8ynTmE7k
🎥 เรียน Digital Marketing ฟรี สอน การตลาดออนไลน์ แบบเบื้องต้น
👉 https://youtu.be/lpaQQCbDx2E
🎥 การตลาดเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง? เรียนจบแล้วทำงานอะไร? (มือใหม่ต้องดู)
👉 https://youtu.be/WsR1yqOztI8
🎥 วิธีพยากรณ์ยอดขาย แบบง่ายๆ (พร้อมตัวอย่างในหลายกรณี) SALES FORECAST
👉 https://youtu.be/TNNDJR9huSU
⭐ ประวัติธุรกิจที่คุณน่าจะสนใจ
🎥 เจ้าของ foodpanda คือใคร | เปิดเผยข้อมูล บริษัท ฟู้ดแพนด้า ที่ทุกคนไม่รู้
👉 https://youtu.be/gBY4LoCyvRk
🎥 ลงทุนแมน รายได้เท่าไร ไขปริศนาเพจนักลงทุนสุดปัง | บริษัท แอลทีแมน จำกัด (LONGTUNMAN)
👉 https://youtu.be/kkJLSVFD75U
🎥 กระทิงแดงรวยแค่ไหน? | ประวัติและรายได้บริษัทกระทิงแดง
👉 https://youtu.be/RsdNJKuc4U
🎥 ประวัติ Grab และ GoJek (Get) | เปิดประวัติเจ้าของสองบริษัทที่คุณไม่คาดคิด
👉 https://youtu.be/DLIu5ZnUDk
▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬▬
✨✨ ข้อมูลความรู้อื่นๆ ✨✨
ติดตามบล็อกของผมได้ที่: https://thaiwinner.com/
คู่มือธุรกิจแจกฟรี โหลดได้เลย: https://thaiwinner.com/freeresources/
ดูอีบุ๊คและคอร์สการตลาดของผม: https://thaiwinner.com/productsandservices/
ติดตามช่องยูทูปของผมได้ทีนี่
👉 https://www.youtube.com/c/ThaiWinner?sub_confirmation=1

อยากเป็นนักธุรกิจ/เจ้าของกิจการ ต้องเรียนอะไร? เริ่มต้นอย่างไรดี?

\”เบลารุส\” สวรรค์ของนักเดินทาง ที่กลายร่างเป็นผู้อพยพ | True VROOM | TNNข่าวเที่ยง | 17-11-64


วิกฤตผู้อพยพอียูรอบใหม่ ที่เกิดขึ้นบริเวณชายแดนโปแลนด์เบลารุส จนทำให้ถูกมองว่า ผู้อพยพกลายเป็นหมากทางการเมืองหรือไม่ ทำไมเบลารุส กลายเป็นสวรรค์ของนักเดินทาง ที่ต้องการแปรเปลี่ยนเป็นผู้อพยพ เข้าสู่เขตอียู
ช่องทางติดตามสถานีข่าว TNN ช่อง16
https://www.tnnthailand.com
https://tv.trueid.net/live/tnn16
https://www.youtube.com/c/tnn16
https://www.facebook.com/TNNthailand/
https://www.facebook.com/TNN16LIVE/
https://twitter.com/tnnthailand
https://www.instagram.com/tnn_online/
https://www.tiktok.com/@tnnonline
Line @TNNONLINE หรือคลิก https://lin.ee/4fP2tltIo
ทันโลก ทันเศรษฐกิจ ทันทุกความจริง กับ TNNช่อง16 สถานีข่าวที่ถือหลักการของการนำเสนอข่าวตรงประเด็น รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และเป็นกลาง โดยทีมข่าวมืออาชีพ

\

Social Enterprise 101


Social Enterprise 101 โดย ChangeFusion
.
หากคุณกำลังสงสัยว่า SE คืออะไร? ทำมไต้อง SE?
เวิร์กชอปนี้จะทำให้คุณเข้าใจภาพรวมของธุรกิจเพื่อสังคมในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่แนวคิด/คอนเซปต์ของธุรกิจเพื่อสังคม ประเภทของธุรกิจเพื่อสังคม กรณีศึกษาของธุรกิจเพื่อสังคมที่ประสบความสำเร็จ วัตถุประสงค์หลักคือให้ผู้เข้าร่วมเวิร์กชอปได้ความเข้าใจเชิงลึกเกี่ยวกับธุรกิจเพื่อสังคมและเซกเตอร์ เหมาะสำหรับผู้ที่กำลังริเริ่มธุรกิจเพื่อสังคม และผู้สนับสนุนที่ต้องการเข้าใจเซกเตอร์มากขึ้น
.
จัดโดย สมาคมธุรกิจเพื่อสังคม ส่วนหนึ่งภายในงาน GOOD Society Summit 2021
.
สนับสนุนโดย
เครือข่าย Good Society
มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์
.
SocialEnterpriseThailandForum SEThailandForum2021 WhereProfitMeetsPurpose สังคมยั่งยืนธุรกิจอยู่ยาว ธุรกิจเพื่อสังคม GoodSociety2021

Social Enterprise 101

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ประเภท ของ บริษัท

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *