Skip to content
Home » [Update] รูปสระผสมของภาษาอังกฤษ O | คำ ผสม – NATAVIGUIDES

[Update] รูปสระผสมของภาษาอังกฤษ O | คำ ผสม – NATAVIGUIDES

คำ ผสม: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

O เท่ากับสระ –อ ,โ
ถ้า o ไปเป็นสระตัวเดียวอยู่ในคำ และมีตัวสระกดด้วย O ในคำนั้นจะเท่ากับสระ-อ โดยออกเสียงนั้นเสมอ เช่น
cot ค็อท กระท่อม
rob ร็อบ ขโมย
rocket ร็อคเค็ท พลุ จรวด
chopsticks ช็อพสทิคซ ตะเกียบ
O ไม่เป็นสระอยู่ท้ายคำตั้งแต่ 2 พยางค์ขึ้นไป โดยไม่มีตัวสะกด จะมีค่าเท่ากับสระโอ เสมอ เช่น
Albino อัลบีโน คนเผือก
Buffalo บัฟฟะโล ควาย
Ditto ดิทโท เช่นเดียวกัน
motto ม้อทโท คติพจน์
O ในคำต่อไปนี้ ออกเสียงเป็นสระ โอ บ้าง สระ อู บ้าง เฉพาะตัวของมันเอง หาหลักเกณฑ์อะไรยึดถือไม่ได้ ต้องจดจำด้วยตัวเอง
to ทู ถึง
do ดู ทำ
brother บราเธอร์ พี่ชาย น้องชาย
toward ทูวอด ไปต่อ ตรงไปยัง
O ไปเป็นสระอยู่ท้ายคำตั้งแต่ 2 พยางค์ขึ้นไป โดยมี n หรือ nd เป็นตัวสะกด ให้ออกเสียงว่า -อัน บ้าง -ออน บ้าง เช่น
cotton ค็อททัน ฝ้าย
correspond คอริสพอนด ตอบทางจดหมาย
moron โมรอน คนโง่มาก
unison ยูนิวัน ความสอดคล้องกัน
แม้คำนั้นจะเป็นพยางค์เดียว เมื่อ o เป็นสระมี n, nd, nt เป็นตัวสะกดก็ออกเสียงเป็น อัน ได้ –ออน ได้เช่น
son ซัน บุตร
won วัน ชนะแล้ว
fond ฟ็อนด ที่รัก
front ฟรันท์ ข้างหน้า
Notice! คำว่า lesson อ่านว่า เลสซึน ไม่ใช่ เลสซัน หรือ เลสซอน (ตามนี้)
OO สระ อุ บ้าง อู บ้าง โดยจะมีตัวสะกดหรือไม่ก็ได้ และคำเช่นไรออกเสียง อุ หรือ อู ต้องหัดสังเกตุและจดจำ เพราะไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัว
book บุ๊ค หนังสือ
look ลุ๊ค มองดู
wood วูด ไม้แปรรูป
football ฟุตบอล ลูกฟุตบอล
Notice! หากตัวสะกดของ oo เป็น d, k , t จะออกเสียงเป็นสระ อุ แต่ก็ไม่เสมอไปเช่นคำ hoot อ่านว่า ฮูท ไม่ใช่ ฮุท เป็นต้น
room รูม ห้อง
choose ชูซ เลือก
cool คูล เย็น
croon ครูน กล่อม
oa สระ โ อออกเสียงยาวมีตัวสะกดเสมอ เมื่อนำไปผสมเป็นคำอ่าน เช่น
road โรด ถนน
boat โบ้ท เรือ
roam โรม เที่ยวไป
moan โมน ร้องคร่ำครวญ
o-e สระ โ ออกเสียงยาวโดยมีตัวสะกดแทรกเข้าไประหว่าง o กับ e หากไม่มีตัวสะกดให้เขียนติดกัน เช่น
home โฮม บ้าน
hole โฮล รู หลุม
vote โวท ลงคะนนเสียง
joke โจ๊ก ตลก
toe โท นิ้วเท้า
doe โด กวางตัวเมีย
or สระ –อ เมื่อไปผสมคำอ่านจะมีตัวสะกดหรือไม่ก็ได้ เช่น
or ออ หรือ
ford ฟอด ลุยน้ำ ที่ลุยน้ำ
norm ฟอค มาตรฐาน
port พอท ท่าเรือ ท่าทาง
เมื่อ or เป็นสระผสมอยู่ท้ายคำ หรือมีพยัญชนะต้นเป็น w or จะอ่านออกเสียงเป็นสระ เ-อ ไม่ใช่ –อ เช่น
actor แอคเทอ ผู้แสดงละครชาย
visitor วิซิซเทอ ผู้มาหา
word เวอด คำ
foreward ฟอเวอด คำนำ

Exeption! แต่ or ซึ่งมีพยัญชนะเป็น w ของคำต่อไปนี้ให้ออกเสียงเป็นเป็น อ เช่น
worn วอน เตือน (อดีตของ wear)
worry วอรี กังวล
worn-out วอนเอ้าท์ ขาด, ชำรุด

oor สระ –อ เมื่อผสมคำอ่านไม่ต้องมสะกด เช่น
door ดอ ประตู
floor ฟลอ ชั้น, พื้น

ore สระ –อ ออกเสียงเป็นสระ ออ เมื่อ ไปผสมคำอ่านไม่ต้องมีตัวสะกด เช่น
more มอ มากกว่า
ore ออ สินแร่
lore ลอ ความรู้ นิยาย

ou สระ –าว และ เ-า ไม่มีตัวสะกด แต่ตัวที่เขียนอยู่ข้างหลัง ou เป็นคล้ายๆ ตัวการันต์ ไม่เชิงทำหน้าที่เป็นตัวสะกดเท่าไรนัก เช่น
cloud เคลาด เมฆ
round ราวืด ห้อง
proud เพราด ภูมิใจ
stout สเทาท แข็งแรง อ้วน

ow สระ โ-ว บ้าง สระ –าว บ้าง หาหลักเกณฑ์ตายตัวไม่ได้ ต้องอาศัยการจำไว้เป็นคำๆ
bow โบว ชาม
low โลว ต่ำ เบื้องล่าง
sow โซว หว่าน หนูตัวมีย
show โชว โชว
cow คาว วัวตัวเมีย
how ฮาว อย่างไร

oar สระ –อ เมื่อนำไปผสมคำอ่านจะมีตัวสะกดหรือไม่ก็ได้ เช่น
boar บอ หมี หมูป่า
board บอร์ด กระดาน, คณะกรรมการ

[NEW] พยัญชนะผสมในภาษาอังกฤษ และ การเทียบอักษรภาษาอังกฤษ กับ ภาษาไทย | คำ ผสม – NATAVIGUIDES

พยัญชนะผสม หมายถึง การนำพยัญชนะตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มาผสมกันแล้วมีความหมายเป็นตัวเดียว เสียงเดียวและคำเดียวในภาษาไทย ในภาษาอังกฤษพยัญชนะผสมเท่าที่พบเห็นบ่อยและใช้บ่อยได้แก่
Ch เท่ากับ ช : ออกเสียงเหมือน ช ในภาษาไทย เช่น chalk (ชอล์ค) chair (แชร์) church (เชอช)
child (ไชล์ด)
Ch เท่ากับ ค : จะเป็นคำที่มาจากภาษากรีกและล่ตินเป็นส่วนใหญ่ เช่น Christ (คริสท) chemist
(เคมิสท)character (คาแรคเตอร์) school (สกูล, สคูล)
Sh เท่ากับ ช : ออกเสียงเบาๆ แบบเป่าลมออกจากปากนั่นเอง เช่น she (ชี) sheep (ชีพ) show (โชว์)
shell (เชลล์)
Th เท่ากับ ธ (ด) : ออกเสียงโดยเอาลิ้นดุนฟัน แล้วดันลมออกมานิดๆ ระหว่างริมฝีปาก ดูแล้วเสียง
คล้าย ด แต่ เบากว่า เช่น the (เดอะ) this (ดีส) that (แดท) father (ฟาเธอ)
Ng เท่ากับ ง : ออกเสียงที่ต้นคอแล้วดันลมขึ้นจมูกและนิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น King (คิง)
ring (ริง) spring (สปริง)
Nk เท่ากับ งค์ : กเสียงท้ายคำเป็น แคะ เบาๆ และก็นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น bank (แบงค์)
Sink (ซิ้งค์) drink (ดริ๊งค)
Ph เท่ากับ ฟ : เป็นคำที่มาจากภาษากรีกและลาติน เช่น phone (โฟน) photo (โฟโต้) phrase
(เฟรส) physical (ฟิซซิคัล)
Gh เท่ากับ ฟ : นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น laugh (ลาฟ) enough (อีนัฟ) เป็นต้น
Kn เท่ากับ น : พูดง่ายๆ ก็ คือ k ไม่ออกเสียง เช่น know (โนว) knee (นี) knife (ไนฟ์)
Wh เท่ากับ ฮ : เท่าที่สังเกตเห็นมักจะตามด้วย o เช่น who (ฮู) whom (ฮูม) whose (ฮูส)
“ Wh จะออกเสียงเป็น ว หรือมีค่าเท่ากับ ว ถ้าไม่ตามด้วย o เช่น what ว็อท
Where แวร์ Why วาย which วิช
Wr เท่ากับ ร : คือตัวw ไม่ออกเสียง เช่น wrap (แร็พ) wreath (รีธ) wrist (ริสท) wrong (รอง)
Ght เท่ากับ ท : นิยมใช้เป็นตัวสะกดเท่านั้น เช่น caught (คอท) fight (ไฟท์) sight (ไซท์)
K เท่ากับ ก : เช่น กร ณ ทับเจริญ , กนกวรรณ ด่านอุดม ควรเขียนด้วยภาษาอังกฤษว่า
Korn Thabcharoen ไม่ควรเขียนด้วย Gorn
Kanokwan Dan-U-Dom ไม่ควรเขียนด้วย Ganokwan
Kh เท่ากับ ข : เช่น ขอนแก่น, ขนิษฐา. ไข่ ควรเขียนด้วยอักษรภาษาอังกฤษว่า
Khonkaen ไม่ควรเขียนด้วย Konkaen
Khanitta ไม่ควรเขียนด้วย Kanitta
Khai ไม่ควรเขียนด้วย Kai เป็นต้น
Ch เท่ากับ จ : เพราะว่าฝรั่งชาติแรกที่เข้ามาประเทศไทยแล้วมาพูดคำภาษาไทยที่เป็น จ
เพี้ยนไปทาง ช (ก็คงจะให้ออกชัดอย่างไทยไม่ได้นั่นเอง) และเมื่อเขียนเป็นอักษรออกมา ก็เลยกลายเป็น ช (ch) แทน จ (J) ในที่สุดก็เลยกลายเป็นความนิยมไปทุกครั้งที่เขียน จ เป็น ชื่อเฉพาะจึงนิยมใช้แต่ ch แทน j แต่หากจะใช้ j ไปเลยก็คงไม่น่าจะผิด แต่ความนิยมอาจด้อยกว่าเท่านั้นเอง เช่น
Chulalongkorn University จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Prince Chulaporn เจ้าฟ้าหญิงจุฬาภรณ์
Chuachan เจือจันทร์
Charoenkrung Road ถนนเจริญกรุง เป็นต้น


พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ – โรงเรียนของหนู【Official Audio】


\”โรงเรียนของหนู\” อีกหนึ่งเพลงดีๆ จากพี่ปู พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ นักร้องเพื่อชีวิตชื่อดังขวัญใจประชาชนชาวไทย
เนื้อเพลง
สายลมหนาวพัดโบกโบย
พริ้วดูแล้วสวยใสใส
เย็นลมเย็นไหวไหวสวยงาม
บ้านอยู่ไกลทุรกัน
ดารโรงเรียนอยู่หลังเขา
มีแต่เราพวกเราไม่มีใคร
ยามร้อนแสนร้อน
ยามหนาวก็หนาวถึงใจ
ไม่มีผ้าห่มคลุมกาย
โรงเรียนมีครูหนึ่งคน
ครูผู้เสียสละตน
อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย
ใช่จะวอนให้เห็นใจ
ความสำนึกต่อเพื่อนไทย
ไทยกับไทยใยแตกต่างกัน
โรงเรียนของหนู อยู่ไกลไกล๊ไกล
อยากให้คุณคุณหันมอง
โรงเรียนของหนู
ยามร้อนแสนร้อน
ยามหนาวก็หนาวถึงใจ
ไม่มีผ้าห่มคลุมกาย
โรงเรียนมีครูหนึ่งคน
ครูผู้เสียสละตน
อดทนอยู่ห่างไกลความสบาย
ใช่จะวอนให้เห็นใจ
ความสำนึกต่อเพื่อนไทย
ไทยกับไทยใยแตกต่างกัน
โรงเรียนของหนู อยู่ไกลไกล๊ไกล
อยากให้คุณคุณหันมอง
โรงเรียนของหนู
【 ช่องทางติดตามข่าวสาร ปู พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ 】
Facebook ► http://www.facebook.com/pupongsitofficial
Instagram ► http://instagram.com/pupongsitofficial
LINE ► @PuPongsitOfficial หรือ http://line.me/ti/p/%40pupongsitofficial
TikTok ► https://vt.tiktok.com/ZSJBeAeu5/

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ - โรงเรียนของหนู【Official Audio】

ฝึกอ่านประสมสระ อะ l พื้นฐานการสะกดคำ l พร้อมเกมทดสอบท้ายบทเรียน


ฝึกอ่านประสมสระอะ พื้นฐานการสะกดคำ พร้อมเกมทดสอบท้ายบทเรียน

ฝึกอ่านประสมสระ อะ l พื้นฐานการสะกดคำ  l พร้อมเกมทดสอบท้ายบทเรียน

คำประสม | ภาษาไทยครูบี


วินาทีที่ 4.28 ตัวอย่าง แม่กินข้าวมาแล้ว กลายเป็น ข้าวแม่กินมาแล้ว ไม่ใช่คำว่า ฉัน

คำประสม | ภาษาไทยครูบี

คุณหนูหัดอ่าน ตอน สนุกกับสระอะ


วันนี้มาเรียนรู้คำที่ใช้สระอะกัน … มาสนุกอ่านกันเลย

คุณหนูหัดอ่าน ตอน สนุกกับสระอะ

[เรียนญี่ปุ่นกับเซนเซปลา] การผสมคำในภาษาญี่ปุ่น


[เรียนญี่ปุ่นกับเซนเซปลา] การผสมคำ ในภาษาญี่ปุ่น

[เรียนญี่ปุ่นกับเซนเซปลา] การผสมคำในภาษาญี่ปุ่น

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ คำ ผสม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *