Skip to content
Home » [Update] ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร ทำไมถึงมีความสำคัญ- tanateauditor | รายงานภาษีซื้อ คือ – NATAVIGUIDES

[Update] ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร ทำไมถึงมีความสำคัญ- tanateauditor | รายงานภาษีซื้อ คือ – NATAVIGUIDES

รายงานภาษีซื้อ คือ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

วิธีการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)

ผู้ประกอบการจะต้องรวบรวมภาษีขาย (Output vat) และภาษีซื้อ (Input vat) ที่เกิดขึ้นทั้งหมดในแต่ละเดือน มาคำนวณเพื่อชำระภาษีให้แก่กรมสรรพากรดังต่อไปนี้

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องนำส่ง = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ

หาก ภาษีขาย (Output vat) > ภาษีซื้อ (Input vat) บริษัทจะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่กรมสรรพากร เนื่องจากมีภาษีมูลค่าที่เรียกเก็บจากลูกค้ามากกว่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกเก็บจาก Supplier

หาก ภาษีซื้อ (Input vat) > ภาษีขาย (Output vat) บริษัทจะสามารถนำยอดส่วนเกินไปเครดิตภาษีในเดือนถัดไป หรือจะขอภาษีคืนเป็นเงินสดก็ได้

จากตัวอย่างก่อน กรณีบริษัท A มีภาษีขายทั้งสิ้น 7 บาท มีภาษีซื้อทั้งสิ้น 2.8 บาท กรณีนี้ ภาษีขาย > ภาษีซื้อ ดังนั้นบริษัท A จะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้กรมสรรพากรเป็นจำนวน 7 – 2.8 = 4.2 บาท

อย่างไรก็ตามตามสูตรดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจริงแล้วผู้ประกอบการไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลเพิ่มที่แท้จริง เนื่องจากภาษีขายก็เรียกเก็บมาจากลูกค้า ส่วนภาษีซื้อที่จ่ายไปก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นผู้ที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงคือผู้บริโภคสินค้าและบริการอย่างเราๆที่ไม่สามารถไปขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มจากใครได้แล้วนั่นเอง ตามแผนภาพดังนี้

แผนภาพ Vat

โรงงาน B ขายสินค้า 200 บาท ภาษีขาย 14 บาท ให้โรงงาน C และโรงงาน B ซื้อสินค้า 100 บาท ภาษีซื้อ 7 บาท จากโรงงาน A ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 14 – 7 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 14 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน B เรียกเก็บมาจากโรงงาน C ส่วนภาษีซื้อ 7 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน B ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

โรงงาน C ขายสินค้า 300 บาท ภาษีขาย 21 บาท ให้ผู้บริโภคโดยตรง และโรงงาน C ซื้อสินค้า 200 บาท ภาษีซื้อ 14 บาท จากโรงงาน B ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 21 – 14 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 21 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน C เรียกเก็บมาจากผู้บริโภค ส่วนภาษีซื้อ 14 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน C ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าจากโรงงาน C มูลค่ารวม 321 บาท มีภาษีซื้อ 21 บาท ไม่สามารถขอคืนภาษีจากใครได้อีกแล้ว ดังนั้นผู้บริโภคจึงเป็นผู้ที่รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม (vat) ที่แท้จริง

[Update] ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร ทำไมถึงมีความสำคัญ- tanateauditor | รายงานภาษีซื้อ คือ – NATAVIGUIDES

วิธีการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)

ผู้ประกอบการจะต้องรวบรวมภาษีขาย (Output vat) และภาษีซื้อ (Input vat) ที่เกิดขึ้นทั้งหมดในแต่ละเดือน มาคำนวณเพื่อชำระภาษีให้แก่กรมสรรพากรดังต่อไปนี้

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องนำส่ง = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ

หาก ภาษีขาย (Output vat) > ภาษีซื้อ (Input vat) บริษัทจะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่กรมสรรพากร เนื่องจากมีภาษีมูลค่าที่เรียกเก็บจากลูกค้ามากกว่าภาษีมูลค่าเพิ่มที่ถูกเก็บจาก Supplier

หาก ภาษีซื้อ (Input vat) > ภาษีขาย (Output vat) บริษัทจะสามารถนำยอดส่วนเกินไปเครดิตภาษีในเดือนถัดไป หรือจะขอภาษีคืนเป็นเงินสดก็ได้

จากตัวอย่างก่อน กรณีบริษัท A มีภาษีขายทั้งสิ้น 7 บาท มีภาษีซื้อทั้งสิ้น 2.8 บาท กรณีนี้ ภาษีขาย > ภาษีซื้อ ดังนั้นบริษัท A จะต้องนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้กรมสรรพากรเป็นจำนวน 7 – 2.8 = 4.2 บาท

อย่างไรก็ตามตามสูตรดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจริงแล้วผู้ประกอบการไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลเพิ่มที่แท้จริง เนื่องจากภาษีขายก็เรียกเก็บมาจากลูกค้า ส่วนภาษีซื้อที่จ่ายไปก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นผู้ที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริงคือผู้บริโภคสินค้าและบริการอย่างเราๆที่ไม่สามารถไปขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มจากใครได้แล้วนั่นเอง ตามแผนภาพดังนี้

แผนภาพ Vat

โรงงาน B ขายสินค้า 200 บาท ภาษีขาย 14 บาท ให้โรงงาน C และโรงงาน B ซื้อสินค้า 100 บาท ภาษีซื้อ 7 บาท จากโรงงาน A ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 14 – 7 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 14 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน B เรียกเก็บมาจากโรงงาน C ส่วนภาษีซื้อ 7 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน B ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

โรงงาน C ขายสินค้า 300 บาท ภาษีขาย 21 บาท ให้ผู้บริโภคโดยตรง และโรงงาน C ซื้อสินค้า 200 บาท ภาษีซื้อ 14 บาท จากโรงงาน B ภาษีที่นำส่งสรรพากรคือ ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 21 – 14 = 7 บาท ซึ่งจะเห็นได้ว่าภาษีขาย 21 บาทที่ต้องนำส่งนั้นโรงงาน C เรียกเก็บมาจากผู้บริโภค ส่วนภาษีซื้อ 14 บาท ก็สามารถนำมาหักจากภาษีขายได้ ดังนั้นโรงงาน C ไม่ได้เป็นผู้รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่มที่แท้จริง

ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าจากโรงงาน C มูลค่ารวม 321 บาท มีภาษีซื้อ 21 บาท ไม่สามารถขอคืนภาษีจากใครได้อีกแล้ว ดังนั้นผู้บริโภคจึงเป็นผู้ที่รับภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม (vat) ที่แท้จริง


การบันทึกบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม : VATงัยจะอะไรล่ะ : เรียนบัญชีกับครูริชาร์ด


ติวบัญชี ภาษีมูลค่าเพิ่ม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การบันทึกบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม : VATงัยจะอะไรล่ะ : เรียนบัญชีกับครูริชาร์ด

\”ทอ.\” ซื้อเครื่องบิน 4,500ล้าน ด้าน \”คลัง\”ยันไม่ลดภาษีน้ำมันดีเซล : News Hour 17-11-64 ช่วง2


\”ทอ.\” ซื้อเครื่องบิน 4,500ล้าน ด้าน \”คลัง\”ยันไม่ลดภาษีน้ำมันดีเซล : News Hour 171164
Website : http://news1live.com/\r
YOUTUBE : https://www.youtube.com/NEWS1VDO\r
Facebook : https://www.facebook.com/MGRNEWS1\r
TWITTER : https://twitter.com/newsonechannel\r
instragram : https://www.instagram.com/news1channel

\

จัดทำรายงานภาษีซื้อ-ขาย#ภาษี#ภ.พ.30


จัดทำรายงานภาษีซื้อ-ขาย#ภาษี#ภ.พ.30

สอนโปรแกรม ทำรายงานภาษี ขั้นตอนการทำรายงาน ภาษีซื้อ ภาษีขาย ในระบบ ERP – MDERP


สอนโปรแกรมทำรายงานภาษีซื้อ ขาย ขั้นตอนการทำรายงาน ภาษีซื้อ ภาษีขาย ใน ระบบERP MDERP
By: https://www.mdsoft.co.th

สอนโปรแกรม ทำรายงานภาษี ขั้นตอนการทำรายงาน ภาษีซื้อ ภาษีขาย ในระบบ ERP - MDERP

ใบกำกับภาษีอิเลคทรอนิกส์ e-Tax Invoice \u0026 Receipt และ e-Tax Invoice by email คืออะไร | DGTH


etax invoice \u0026 Receipt และ eTax invoice by email คืออะไร
eTax Invoice and eReceipt หรือ ใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ คือ การจัดทำข้อมูลใบกำกับภาษี รวมถึงใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้ และใบรับ ให้เป็นรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ที่ต้องมีการลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) หรือประทับรับรองเวลา (Time Stamp) ก่อนส่งมอบให้ผู้ซื้อสินค้าและบริการ พร้อมนำส่งข้อมูลให้กับกรมสรรพากรภายในกำหนดเวลา
2 ทางเลือกการใช้ระบบใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์
etaxinvoice by email คือ การจัดทำใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ PDF/A3 เท่านั้น โดยส่งอีเมลถึงผู้ซื้อและสำเนา CC ไปยังระบบกลาง เพื่อให้ระบบ ประทับรับรองเวลา (Time Stamp) จากนั้น ระบบ eTax Invoice by Email จะส่งใบกำกับภาษีที่ประทับรับรองเวลา (Time Stamp) ไปยังอีเมลของผู้ซื้อและผู้ขายเพื่อเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐาน และนำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากรโดยอัตโนมัติ
สำหรับทางเลือกแบบ etaxinvoice \u0026 reciept นี้ก็คือ การจัดทำใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบ XML หรือจัดทำในรูปแบบไฟล์อื่นๆ เช่น PDF ที่ต้องลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ส่งมอบให้ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ และมีหน้าที่ต้องนำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากร เป็นรายเดือนภาษี ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ด้วยวิธีการ Upload หรือ นำส่งด้วยวิธี Host to Host หรือ ผ่านผู้ให้บริการนำส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
วิธีการเริ่มต้นใช้งานของแต่ละทางเลือก
แบบ etaxinvoice \u0026 reciept ที่ไม่จำกัดรายได้ของผู้ประกอบการจะรายเล็กรายใหญ่ก็ใช้ได้
ผู้ประกอบการก็จะต้อง ทำการขอใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์จากผู้ให้บริการออกใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ที่กรรมสรรพากรเห็นชอบก่อนนะคะ เพื่อใช้สำหรับลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) บนใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ หรือใบรับอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งการทำารายการต่างๆ เพื่อเป็นการรับรองความถูกต้องของข้อมูลและใช้ยืนยันว่าใครเป็นผู้ออกใบกากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์หรือใบรับอิเล็กทรอนิกส์ค่ะ ซึ่งใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์นี้จะถูกจัดเก็บอยู่ใน USB TOKEN หรือ Hardware Security Module และให้เรานำไปเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในขั้นตอนของการลงทะเบียนต่อไป เมื่อเราได้ใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์เรียบร้อยแล้วก็มาลงทะเบียนโดย
ข้าสู่เว็บไซต์กรมสรรพากร ( rd.go.th) เพื่อยื่นคำขอจากนั้นดาวน์โหลดโปรแกรม ultimate sign\u0026viewer เชื่อมต่ออุปกรณ์ USB TOKEN หรือ HSM (Hardware Security Module) เข้ากับคอมพิวเตอร์ แล้วก็ทำตามขั้นตอนต่างๆที่เค้าระบุไว้ตามคู่มือนะคะ สุดท้ายแล้วก็จะได้รับอีเมล แจ้งสิทธิ์การใช้งานระบบ
เมื่อลงทะเบียนสำเร็จเรียบร้อยแล้ว เราก็สามารถลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ในใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ได้ จากนั้นก็สามารถส่งใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์นี้ให้กับลูกค้าทางอีเมลได้ และจัดการนำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากรโดยการล็อคอินเข้าใช้งานระบบที่ etax.rd.go.th เพื่อเข้าไปอัพโหลดไฟล์ข้อมูลใบกำกับภาษีอีเล็กทรอนิกส์ไปยังกรรมสรรพากร ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
แบบ etaxinvoice by email ซึ่งจะจำกัดรายได้ผู้ประกอบการไม่เกิน 30 ล้านบาท
เข้าสู่เว็บไซต์กรมสรรพากร ( rd.go.th) เพื่อยื่นคำขอ กรอกข้อมูลต่างๆพร้อมอัพโหลดเอกสารตามที่ระบบขอมา เมื่อทางกรมสรรพรการตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้องแล้ว กรมสรรพากรจะจัดส่งเอกสารยืนยันทางไปรษณีย์พร้อมรหัสยืนยันมาให้ แล้วเราก็ยืนยันตัวตนผ่านเว็บไซต์และกำหนดรหัสผ่าน จากนั้นแจ้งอีเมลที่ประสงค์จะใช้ในการส่งใบกำกับภาษีค่ะ
ซึ่งเมื่อลงทะเบียนเรียบร้อยแล้วขั้นตอนการใช้งานก็คือ ล็อกอินด้วยอีเมลที่แจ้งไว้กับกรมสรรพากร จากนั้นส่งอีเมลใบกำกับภาษีในรูปแบบของ PDF ถึงผู้ซื้อและสำเนา CC ไปยังระบบกลางที่ [email protected] ซึ่งก็จะมีรูปแบบในเขียนอีเมลล์กำหนดเอาไว้ด้วยนะคะ ก็สามารถศึกษาจากคู่มือได้ค่ะ เมื่อส่งอีเมลไปที่ระบบกลางแล้วระบบก็จะทำการ ประทับรับรองเวลา (Time Stamp) ให้ จากนั้น ระบบจะส่งใบกำกับภาษีที่ประทับรับรองเวลา (Time Stamp) แล้ว ไปยังอีเมลของผู้ซื้อและผู้ขายเพื่อเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐาน และระบบจะนำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากรโดยอัตโนมัติ
ซึ่งในการใช้งาน หลายคนอาจบอกว่า ปวดหัวจัง หรือยังไม่พร้อมที่จะบริหารจัดการด้วยตัวเอง ก็สามารถเลือกใช้บริการกับ Service Provider เพื่อให้ดำเนินการแทนได้นะคะ ซึ่งก็จะมีค่าบริการด้วยแต่ไม่ก็มาก ก็อาจจะต้องลองคำนวณกันดูว่าคุ้มค่าหรือไม่
ติดตามรายละเอียดว่า etax invoice \u0026 Receipt และ eTax invoice by email คืออะไร กันต่อได้ในรายการ Digital Thailand ตอนนี้เลย
.
ออกอากาศวันเสาร์ที่ 23 มกราคม 2564 ในรายการ Digital Thailand
ออกอากาศ ทุกวันเสาร์ ทางช่อง 3 กด 33 เวลา 4.40 น. 5.05 น.
.
ติดตามรับข้อมูลข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่
facebook.com/it24hrs
twitter.com/panraphee
twitter.com/ it24hrs
IG: panraphee
ติดต่อโฆษณา [email protected] โทร 0802345023

ใบกำกับภาษีอิเลคทรอนิกส์ e-Tax Invoice \u0026 Receipt และ e-Tax Invoice by email คืออะไร | DGTH

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ รายงานภาษีซื้อ คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *