Skip to content
Home » [Update] | ต้นทุน ขาย ประกอบด้วย อะไร บ้าง – NATAVIGUIDES

[Update] | ต้นทุน ขาย ประกอบด้วย อะไร บ้าง – NATAVIGUIDES

ต้นทุน ขาย ประกอบด้วย อะไร บ้าง: คุณกำลังดูกระทู้

หน้าหลัก
 การบัญชีต้นทุน


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน


วิธีการบัญชีในระบบการผลิต


การบัญชีต้นทุนการผลิต


การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้

บทฝึกหัด

แหล่งวิทยากร
อาจารย์ผู้สอน 

 

 

 


การบัญชีต้นทุน : โดยอาจารย์อนุรักษ์  ทองสุโขวงศ์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

 ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

      
  

การบัญชีต้นทุน (Cost
Accounting)
จัดเป็นวิธีการทางบัญชีที่ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนของธุรกิจ
ประเภทอุตสาหกรรม
โดยมีวัตถุประสงค์พื้นฐานในการจัดทำรายงานทางการเงินตลอดจนวิเคราะห์
และจำแนกข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารต้นทุน (Cost
Management)
ตามความต้องการของผู้บริหาร
ในปัจจุบันนี้ไม่ใช่แต่กิจประเภทอุตสาหกรรมเท่านั้น
ที่จะต้องใช้วิธีการทางบัญชีหรือข้อมูลของบัญชีต้นทุน
แต่ยังมีธุรกิจอีกหลายประเภท เช่น โรงแรม โรงพยาบาล
โรงเรียน มหาวิทยาลัย ธนาคาร บริษัทเงินทุน
บริษัทสายการบิน และกิจการอื่น ๆ 
อีกมากมายที่ได้มีการนำวิธีการบัญชีต้นทุนไปประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ที่สำคัญของข้อมูลทางบัญชีต้นทุนพอสรุปได้ดังนี้

            1.1
เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนการผลิต ตลอดจนต้นทุนขาย (Cost
of goods sold) ประจำงวด
ซึ่งจะนำไปหักออกจากรายได้ในงบกำไรขาดทุน เพื่อะช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบผลการดำเนินงานของกิจการว่ามีผลกำไรหรือขาดทุนอย่างไร

           
1.2
เพื่อใช้ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ (Inventory
Evaluation) ในธุรกิจอุตสาหกรรม
สินค้าคงเหลือที่จะปรากฏในงบดุลจะประกอบด้วย วัตถุดิบ
งานระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป
ซึ่งการแสดงมูลค่าของสินค้าคงเหลือเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง
หรือใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุดจำเป็นต้องอาศัยวิธีการทางบัญชีต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ

           
1.3
เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจวางแผนและควบคุม (Planning
and Control)
ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถดำเนินธุรกิจไปอย่างมีแบบแผน
และบรรลุเป้าหมายตามความต้องการของธุรกิจในที่สุด
นอกจากนี้ข้อมูลทางบัญชีต้นทุนยังช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงความผิดพลาดหรือจุดบกพร่องในการดำเนินธุรกิจ
เพื่อหาทางกำหนดวิธีการปฏิบัติเพื่อแก้ไขเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ได้อย่างทันท่วงที

           
1.4
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อตัดสินใจ(Decision
Making) ทั้งนี้ในการดำเนินธุรกิจ
ผู้บริหารมักจะต้องประสบปัญหาที่จะต้องทำการแก้ไขอยู่ตลอดเวลา
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาในระยะสั้น
หรือปัญหาที่จะส่งผลกระทบในระยะยาวก็ตาม เช่น
การตัดสินใจเกี่ยวกับการรับใบสั่งซื้อพิเศษ
การปิดโรงงานชั่วคราว การเพิ่ม –
ลดรายการผลิต การตั้งราคาสินค้า การวิเคราะห์กำไร
การกำหนดกลยุทธ์ในการประมูลงาน เป็นต้น

            ขอบเขตของหลักการบัญชีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2
ส่วนใหญ่ ๆ คือ บัญชีการเงิน (Financial
accounting ) และบัญชีต้นทุน
(Cost Accounting) ซึ่งบัญชีการเงิน
นั้นค่อนข้างที่จะมีขอบเขตกว้าง
เนื่องจากเป็นบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
เช่น ผู้ถือหุ้น นักลงทุน เจ้าหนี้ เป็นต้น
การวิเคราะห์งบการเงินจึงเป็นเครื่องมือที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่บุคคลต่าง
ๆ ดังกล่าว เช่น
นักลงทุนก่อนที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจใดก็จะต้องทำการวิเคราะห์งบการเงินของกิจการหรือธุรกิจนั้น
ๆ เสียก่อน ทั้งนี้ เพื่อจะได้ทราบถึงความเสี่ยง
และความเป็นไปได้ที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจนั้น
เป็นต้น และด้วยเหตุผลที่ว่า
งบการเงินนี้จะต้องจัดทำขึ้นเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
ซึ่งจะนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจที่แตกต่างกัน
ดังนั้น
งบการเงินนี้จึงต้องจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป
(Generally Accepted Accounting Principles :
GAAP) 
และจากการจัดทำงบการเงินภายใต้หลักการบัญชีที่ยอมรับกันทั่วไปนี้เอง
จึงทำให้ข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในงบการเงินเป็นข้อมูลในอดีตทั้งสิ้น
ทั้งนี้เพราะการจัดทำงบการเงินที่เสนอต่อบุคคลภายนอกนี้ควรจะมีความถูกต้องแน่นอน
มีหลักฐาน และเชื่อถือได้นั่นเอง

            บัญชีต้นทุน
เป็นหลักการบัญชีที่เกี่ยวกับการสะสมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ทั้งเพื่อการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจในเรื่องอื่น

โดยปกติแล้วการบัญชีต้นทุนจะทำหน้าที่หลักในการสะสมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
เพื่อคำนวณหาต้นทุนของผลิตภัณฑ์
รวมทั้งใช้ประมาณมูลค่าของสินค้าคงเหลือ
นอกจากนี้การบัญชีต้นทุนยังเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประมาณหรือการพยากรณ์ต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อการตัดสินใจอีกด้วย
ซึ่งในส่วนนี้เองจึงทำให้การบัญชีต้นทุนเข้ามามีบทบาทเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ในปัจจุบันนี้การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมและการผลิตได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
เช่น การนำเครื่องจักรกล
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต เป็นต้น
การนำบัญชีต้นทุนเข้ามาใช้เพื่อทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่ถูกต้อง
และมีความสามารถที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่ฝ่ายบริหารได้อย่างรวดเร็ว
ทันสมัย
และเชื่อถือได้จึงเป็นสิ่งที่นักบัญชีต้นทุนจะต้องมีความเข้าใจ
และสามารถที่จะประยุกต์การบัญชีต้นทุนให้ใช้ได้กับลักษณะของธุรกิจต่าง
ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

           
จากขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของการบัญชีการเงิน
และการบัญชีต้นทุน
ทำให้เราสามารถสรุปถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีการเงินและการบัญชีต้นทุนได้
2 ลักษณะ ดังนี้

1)
การคำนวณต้นทุนขาย (Cost of
Goods sold)

การจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอกถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบประการสำคัญของการบัญชีการเงิน
ในกรณีที่กิจการเป็นธุรกิจซื้อขายสินค้าโดยทั่วไปการคำนวณต้นทุนขายเพื่อแสดงเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนก็สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุน
แต่ในกรณีที่กิจการมีลักษณะเป็นธุรกิจผลิตสินค้า
การคำนวณต้นทุนขายจำเป็นต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุนในการคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่ผลิตได้เพื่อขาย
ซึ่งสามารถทำความเข้าใจได้จากการเปรียบเทียบการคำนวณต้นทุนขายต่อไปนี้

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินค้าคงเหลือต้นงวด

xxx

 

สินค้าสำเร็วรูปคงเหลือต้นงวด

xxx

บวก

: ซื้อสินค้า(สุทธิ)

xxx

 

บวก

: ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป

xxx

สินค้าที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

 

สินค้าสำเร็จรูปที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

หัก

: สินค้าคงเหลือปลายงวด

xxx

 

หัก

: สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือปลายงวด

xxx

ต้นทุนขาย

xxx

 

ต้นทุนขาย

xxx

 

การจัดทำงบกำไรขาดทุน สำหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า
และธุรกิจผลิตสินค้าในส่วนอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกัน
คำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูปจะขออธิบายในส่วนต่อไป

2)
การแสดงสินค้าคงเหลือ (Inventories)

งบดุล (Balance
Sheet)
เป็นงบการเงินชนิดหนึ่งที่การบัญชีการเงินมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่จะต้องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการให้มีความถูกต้อง
เที่ยงธรรม และเชื่อถือได้มากที่สุด
ในส่วนที่การบัญชีต้นทุนได้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องก็คือการแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือ
ในหมวดของสินทรัพย์หมุนเวียน
ซึ่งจะต้องใช้หลักการบัญชีต้นทุนในการรวบรวมข้อมูลและคำนวณต้นทุนของสินค้าคงเหลือ
ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดิบ งานระหว่างผลิต
และสินค้าสำเร็จรูป

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

เงินสด

xxx

 

เงินสด

xxx

ลูกหนี้

xxx

 

ลูกหนี้

xxx

สินค้าคงเหลือ

xxx

 

สินค้าคงเหลือ
 :

 

 

 

 

    
สินค้าสำเร็จรูป

xxx

 

 

 

     งานระหว่างผลิต

xxx

 

 

 

     วัตถุดิบ

xxx

เมื่อได้ทราบถึงความสัมพันธ์ที่การบัญชีต้นทุนมีต่อการบัญชีการเงินแล้ว
ขอให้สังเกตว่าในการทำหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนนำเสนอข้อมูลให้แก่การบัญชีการเงินที่ต้องการข้อมูลที่มีความถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
เพื่อเสนอข้อมูลให้แก่บุคคลภายนอก ดังนั้น
การคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่จะนำไปคำนวณต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุน
หรือแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือในงบดุล
ที่ถือเป็นหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนจึงต้องมีลักษณะเป็นหลักการบัญชีหรือวิธีการที่มีกฎเกณฑ์ที่ถูกต้องและเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป

เนื่องจากคำว่า บัญชีต้นทุน และ บัญชีบริหาร
มีความหมายและลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก
ดังนั้นเราจะพบวาในบางครั้งการใช้คำทั้งสองก็มักจะมีการใช้แทนกันอยู่ตลอดเวลา
แต่โดยทั่วไปการบัญชีต้นทุนมีขอบเขตเพียงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณหาต้นทุนการผลิตของสินค้าหรือบริการเท่านั้น

ส่วนคำว่า บัญชีบริหาร หมายถึง กระบวนการที่เกี่ยวกับ

1)

การรับรู้และประเมินภาวการณ์ของการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
เพื่อนำมากำหนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชีที่เหมาะสม

2)

การวัดและประมาณภาวการณ์ในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
ทั้งที่เกิดขึ้นแล้วและยังไม่เกิดขึ้น

3)

การกำหนดวิธีการในการจดบันทึกและเก็บสะสมรวบรวมข้อมูลในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ 
เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจเชิงการบริหาร

4)

การวิเคราะห์และการกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสมกับการตัดสินใจ

5)
การตีความและการเสนอข้อมูล

6)
การติดต่อสื่อสาร
นั่นคือการจัดทำรายงานที่เหมาะสมต่อบุคคลที่ต้องการ
กล่าวคือ รายงานภายในก็จะเสนอต่อฝ่ายบริหาร
รายงานภายนอกก็จะเสนอต่อบุคคลทั่วไป

ดังนั้น การบัญชีบริหาร คือ
กระบวนการทางบัญชีที่มุ่งไปในส่วนของการนำข้อมูลทางบัญชีการเงิน
และบัญชีต้นทุน มาทำการวิเคราะห์
และแปลความหมายเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร
ทั้งในด้านการวางแผน การควบคุม
การประเมินและวัดผลการดำเนินงานของบุคคลในองค์กร
หรือหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร
แต่โดยส่วนใหญ่ข้อมูลที่มีบทบาทสำคัญต่อการบริหารกิจการก็คือ
ข้อมูลทางด้านต้นทุน (Cost
Information) ดังนั้น
จึงทำให้เกิดความเข้าใจโดยทั่วไปว่าการบัญชีบริหารก็คือการบัญชีต้นทุน
แต่ในทางหลักการที่ถูกต้องแล้วการบัญชีต้นทุนเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีบริหารเท่านั้น
ซึ่งความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน
และการบัญชีบริหาร สามารถแสดงได้ ดังภาพ

NAVIGATOR: 


หน้าหลัก
 –>
การบัญชีต้นทุน–>
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน–>
ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

 

[Update] | ต้นทุน ขาย ประกอบด้วย อะไร บ้าง – NATAVIGUIDES

หน้าหลัก
 การบัญชีต้นทุน


ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน


วิธีการบัญชีในระบบการผลิต


การบัญชีต้นทุนการผลิต


การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ร่วมและผลิตภัณฑ์พลอยได้

บทฝึกหัด

แหล่งวิทยากร
อาจารย์ผู้สอน 

 

 

 


การบัญชีต้นทุน : โดยอาจารย์อนุรักษ์  ทองสุโขวงศ์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน

 ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

      
  

การบัญชีต้นทุน (Cost
Accounting)
จัดเป็นวิธีการทางบัญชีที่ทำหน้าที่รวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนของธุรกิจ
ประเภทอุตสาหกรรม
โดยมีวัตถุประสงค์พื้นฐานในการจัดทำรายงานทางการเงินตลอดจนวิเคราะห์
และจำแนกข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารต้นทุน (Cost
Management)
ตามความต้องการของผู้บริหาร
ในปัจจุบันนี้ไม่ใช่แต่กิจประเภทอุตสาหกรรมเท่านั้น
ที่จะต้องใช้วิธีการทางบัญชีหรือข้อมูลของบัญชีต้นทุน
แต่ยังมีธุรกิจอีกหลายประเภท เช่น โรงแรม โรงพยาบาล
โรงเรียน มหาวิทยาลัย ธนาคาร บริษัทเงินทุน
บริษัทสายการบิน และกิจการอื่น ๆ 
อีกมากมายที่ได้มีการนำวิธีการบัญชีต้นทุนไปประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ที่สำคัญของข้อมูลทางบัญชีต้นทุนพอสรุปได้ดังนี้

            1.1
เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนการผลิต ตลอดจนต้นทุนขาย (Cost
of goods sold) ประจำงวด
ซึ่งจะนำไปหักออกจากรายได้ในงบกำไรขาดทุน เพื่อะช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบผลการดำเนินงานของกิจการว่ามีผลกำไรหรือขาดทุนอย่างไร

           
1.2
เพื่อใช้ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ (Inventory
Evaluation) ในธุรกิจอุตสาหกรรม
สินค้าคงเหลือที่จะปรากฏในงบดุลจะประกอบด้วย วัตถุดิบ
งานระหว่างผลิต และสินค้าสำเร็จรูป
ซึ่งการแสดงมูลค่าของสินค้าคงเหลือเหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง
หรือใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุดจำเป็นต้องอาศัยวิธีการทางบัญชีต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ

           
1.3
เพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจวางแผนและควบคุม (Planning
and Control)
ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถดำเนินธุรกิจไปอย่างมีแบบแผน
และบรรลุเป้าหมายตามความต้องการของธุรกิจในที่สุด
นอกจากนี้ข้อมูลทางบัญชีต้นทุนยังช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงความผิดพลาดหรือจุดบกพร่องในการดำเนินธุรกิจ
เพื่อหาทางกำหนดวิธีการปฏิบัติเพื่อแก้ไขเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ได้อย่างทันท่วงที

           
1.4
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อตัดสินใจ(Decision
Making) ทั้งนี้ในการดำเนินธุรกิจ
ผู้บริหารมักจะต้องประสบปัญหาที่จะต้องทำการแก้ไขอยู่ตลอดเวลา
ไม่ว่าจะเป็นปัญหาในระยะสั้น
หรือปัญหาที่จะส่งผลกระทบในระยะยาวก็ตาม เช่น
การตัดสินใจเกี่ยวกับการรับใบสั่งซื้อพิเศษ
การปิดโรงงานชั่วคราว การเพิ่ม –
ลดรายการผลิต การตั้งราคาสินค้า การวิเคราะห์กำไร
การกำหนดกลยุทธ์ในการประมูลงาน เป็นต้น

            ขอบเขตของหลักการบัญชีได้ถูกแบ่งออกเป็น 2
ส่วนใหญ่ ๆ คือ บัญชีการเงิน (Financial
accounting ) และบัญชีต้นทุน
(Cost Accounting) ซึ่งบัญชีการเงิน
นั้นค่อนข้างที่จะมีขอบเขตกว้าง
เนื่องจากเป็นบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
เช่น ผู้ถือหุ้น นักลงทุน เจ้าหนี้ เป็นต้น
การวิเคราะห์งบการเงินจึงเป็นเครื่องมือที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่บุคคลต่าง
ๆ ดังกล่าว เช่น
นักลงทุนก่อนที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจใดก็จะต้องทำการวิเคราะห์งบการเงินของกิจการหรือธุรกิจนั้น
ๆ เสียก่อน ทั้งนี้ เพื่อจะได้ทราบถึงความเสี่ยง
และความเป็นไปได้ที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจนั้น
เป็นต้น และด้วยเหตุผลที่ว่า
งบการเงินนี้จะต้องจัดทำขึ้นเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก
ซึ่งจะนำไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจที่แตกต่างกัน
ดังนั้น
งบการเงินนี้จึงต้องจัดทำขึ้นตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป
(Generally Accepted Accounting Principles :
GAAP) 
และจากการจัดทำงบการเงินภายใต้หลักการบัญชีที่ยอมรับกันทั่วไปนี้เอง
จึงทำให้ข้อมูลทางการเงินที่ปรากฏในงบการเงินเป็นข้อมูลในอดีตทั้งสิ้น
ทั้งนี้เพราะการจัดทำงบการเงินที่เสนอต่อบุคคลภายนอกนี้ควรจะมีความถูกต้องแน่นอน
มีหลักฐาน และเชื่อถือได้นั่นเอง

            บัญชีต้นทุน
เป็นหลักการบัญชีที่เกี่ยวกับการสะสมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ทั้งเพื่อการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจในเรื่องอื่น

โดยปกติแล้วการบัญชีต้นทุนจะทำหน้าที่หลักในการสะสมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต
เพื่อคำนวณหาต้นทุนของผลิตภัณฑ์
รวมทั้งใช้ประมาณมูลค่าของสินค้าคงเหลือ
นอกจากนี้การบัญชีต้นทุนยังเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการประมาณหรือการพยากรณ์ต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อการตัดสินใจอีกด้วย
ซึ่งในส่วนนี้เองจึงทำให้การบัญชีต้นทุนเข้ามามีบทบาทเพื่อการตัดสินใจของฝ่ายบริหาร
ในปัจจุบันนี้การพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมและการผลิตได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
เช่น การนำเครื่องจักรกล
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต เป็นต้น
การนำบัญชีต้นทุนเข้ามาใช้เพื่อทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่ถูกต้อง
และมีความสามารถที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่ฝ่ายบริหารได้อย่างรวดเร็ว
ทันสมัย
และเชื่อถือได้จึงเป็นสิ่งที่นักบัญชีต้นทุนจะต้องมีความเข้าใจ
และสามารถที่จะประยุกต์การบัญชีต้นทุนให้ใช้ได้กับลักษณะของธุรกิจต่าง
ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

           
จากขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของการบัญชีการเงิน
และการบัญชีต้นทุน
ทำให้เราสามารถสรุปถึงความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีการเงินและการบัญชีต้นทุนได้
2 ลักษณะ ดังนี้

1)
การคำนวณต้นทุนขาย (Cost of
Goods sold)

การจัดทำงบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอกถือเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบประการสำคัญของการบัญชีการเงิน
ในกรณีที่กิจการเป็นธุรกิจซื้อขายสินค้าโดยทั่วไปการคำนวณต้นทุนขายเพื่อแสดงเป็นค่าใช้จ่ายในงบกำไรขาดทุนก็สามารถกระทำได้โดยไม่ต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุน
แต่ในกรณีที่กิจการมีลักษณะเป็นธุรกิจผลิตสินค้า
การคำนวณต้นทุนขายจำเป็นต้องอาศัยหลักการบัญชีต้นทุนในการคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่ผลิตได้เพื่อขาย
ซึ่งสามารถทำความเข้าใจได้จากการเปรียบเทียบการคำนวณต้นทุนขายต่อไปนี้

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินค้าคงเหลือต้นงวด

xxx

 

สินค้าสำเร็วรูปคงเหลือต้นงวด

xxx

บวก

: ซื้อสินค้า(สุทธิ)

xxx

 

บวก

: ต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูป

xxx

สินค้าที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

 

สินค้าสำเร็จรูปที่มีไว้ขายทั้งสิ้น

xxx

หัก

: สินค้าคงเหลือปลายงวด

xxx

 

หัก

: สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือปลายงวด

xxx

ต้นทุนขาย

xxx

 

ต้นทุนขาย

xxx

 

การจัดทำงบกำไรขาดทุน สำหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า
และธุรกิจผลิตสินค้าในส่วนอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกัน
คำนวณต้นทุนการผลิตสินค้าสำเร็จรูปจะขออธิบายในส่วนต่อไป

2)
การแสดงสินค้าคงเหลือ (Inventories)

งบดุล (Balance
Sheet)
เป็นงบการเงินชนิดหนึ่งที่การบัญชีการเงินมีหน้าที่ความรับผิดชอบที่จะต้องแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการให้มีความถูกต้อง
เที่ยงธรรม และเชื่อถือได้มากที่สุด
ในส่วนที่การบัญชีต้นทุนได้เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องก็คือการแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือ
ในหมวดของสินทรัพย์หมุนเวียน
ซึ่งจะต้องใช้หลักการบัญชีต้นทุนในการรวบรวมข้อมูลและคำนวณต้นทุนของสินค้าคงเหลือ
ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดิบ งานระหว่างผลิต
และสินค้าสำเร็จรูป

ธุรกิจซื้อขายสินค้า

 

ธุรกิจผลิตสินค้า

 

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

 

สินทรัพย์หมุนเวียน
:

 

เงินสด

xxx

 

เงินสด

xxx

ลูกหนี้

xxx

 

ลูกหนี้

xxx

สินค้าคงเหลือ

xxx

 

สินค้าคงเหลือ
 :

 

 

 

 

    
สินค้าสำเร็จรูป

xxx

 

 

 

     งานระหว่างผลิต

xxx

 

 

 

     วัตถุดิบ

xxx

เมื่อได้ทราบถึงความสัมพันธ์ที่การบัญชีต้นทุนมีต่อการบัญชีการเงินแล้ว
ขอให้สังเกตว่าในการทำหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนนำเสนอข้อมูลให้แก่การบัญชีการเงินที่ต้องการข้อมูลที่มีความถูกต้องแม่นยำและเชื่อถือได้
เพื่อเสนอข้อมูลให้แก่บุคคลภายนอก ดังนั้น
การคำนวณต้นทุนการผลิตของสินค้าที่จะนำไปคำนวณต้นทุนขายในงบกำไรขาดทุน
หรือแสดงมูลค่าสินค้าคงเหลือในงบดุล
ที่ถือเป็นหน้าที่ของการบัญชีต้นทุนจึงต้องมีลักษณะเป็นหลักการบัญชีหรือวิธีการที่มีกฎเกณฑ์ที่ถูกต้องและเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป

เนื่องจากคำว่า บัญชีต้นทุน และ บัญชีบริหาร
มีความหมายและลักษณะที่คล้ายคลึงกันมาก
ดังนั้นเราจะพบวาในบางครั้งการใช้คำทั้งสองก็มักจะมีการใช้แทนกันอยู่ตลอดเวลา
แต่โดยทั่วไปการบัญชีต้นทุนมีขอบเขตเพียงในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณหาต้นทุนการผลิตของสินค้าหรือบริการเท่านั้น

ส่วนคำว่า บัญชีบริหาร หมายถึง กระบวนการที่เกี่ยวกับ

1)

การรับรู้และประเมินภาวการณ์ของการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
เพื่อนำมากำหนดวิธีการปฏิบัติทางบัญชีที่เหมาะสม

2)

การวัดและประมาณภาวการณ์ในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ
ทั้งที่เกิดขึ้นแล้วและยังไม่เกิดขึ้น

3)

การกำหนดวิธีการในการจดบันทึกและเก็บสะสมรวบรวมข้อมูลในการดำเนินธุรกิจ
และภาวการณ์ทางเศรษฐกิจอื่น ๆ 
เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจเชิงการบริหาร

4)

การวิเคราะห์และการกำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสมกับการตัดสินใจ

5)
การตีความและการเสนอข้อมูล

6)
การติดต่อสื่อสาร
นั่นคือการจัดทำรายงานที่เหมาะสมต่อบุคคลที่ต้องการ
กล่าวคือ รายงานภายในก็จะเสนอต่อฝ่ายบริหาร
รายงานภายนอกก็จะเสนอต่อบุคคลทั่วไป

ดังนั้น การบัญชีบริหาร คือ
กระบวนการทางบัญชีที่มุ่งไปในส่วนของการนำข้อมูลทางบัญชีการเงิน
และบัญชีต้นทุน มาทำการวิเคราะห์
และแปลความหมายเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการบริหาร
ทั้งในด้านการวางแผน การควบคุม
การประเมินและวัดผลการดำเนินงานของบุคคลในองค์กร
หรือหน่วยงานต่าง ๆ ในองค์กร
แต่โดยส่วนใหญ่ข้อมูลที่มีบทบาทสำคัญต่อการบริหารกิจการก็คือ
ข้อมูลทางด้านต้นทุน (Cost
Information) ดังนั้น
จึงทำให้เกิดความเข้าใจโดยทั่วไปว่าการบัญชีบริหารก็คือการบัญชีต้นทุน
แต่ในทางหลักการที่ถูกต้องแล้วการบัญชีต้นทุนเป็นส่วนหนึ่งของการบัญชีบริหารเท่านั้น
ซึ่งความสัมพันธ์ของการบัญชีการเงิน การบัญชีต้นทุน
และการบัญชีบริหาร สามารถแสดงได้ ดังภาพ

NAVIGATOR: 


หน้าหลัก
 –>
การบัญชีต้นทุน–>
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน–>
ความหมายและวัตถุประสงค์การบัญชีต้นทุน

 


บัญชีบริหาร 2.2 ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุนสำหรับงวด


แนวการบรรยาย : เน้น แนวคิด การวิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้
บัญชีบริหาร บทที่ 2 แนวความคิดเกี่ยวกับต้นทุน : จำแนกต้นทุนตามหน้าที่การทำงาน (ต้นทุนผลิตภัณฑ์ และ ต้นทุนสำหรับงวด)
คำชี้แจงในการปรับปรุง : บัญชีบริหารถูกบล็อคเสียงไปหลายชุดแล้ว (บางชุดยังไม่ถูกบล็อค อีกไม่นานคงจะถูกบล็อคเช่นกัน) เนื่องจากเสียงเพลงที่นำมาประกอบ (ส่วนใหญ่ตอนต้นและตอนท้ายคลิป ความยาวเต็มที่ไม่ถึงนาที) ถูกอ้างสิทธิ์จากเจ้าของลิขสิทธิ์ จำเป็นต้องเปลี่ยนเสียงเพลงที่นำมาประกอบ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

บัญชีบริหาร 2.2 ต้นทุนผลิตภัณฑ์ ต้นทุนสำหรับงวด

การคำนวณต้นทุนขาย แอวลั่นปั๊ด : สินค้าคงเหลือ : เรียนบัญชีกับครูริชาร์ด


การคำนวณต้นทุนขาย แอวลั่นปั๊ด : สินค้าคงเหลือ : เรียนบัญชีกับครูริชาร์ด

รวม 20 สินค้าขายดีหน้าบ้าน! อยู่บ้านก็รวยได้ [แจกฟรี เพียง Add LINE @thaifranchise]


คนที่มีหน้าบ้านในทำเลเหล่านี้สามารถเปลี่ยนหน้าบ้านตัวเองค้าขายสร้างรายได้ ในขณะที่อีกหลายคนต้องมองหาทำเลดีๆแล้วจะขายอะไรดี วันนี้ www.ThaiFranchiseCenter.com รวบรวม 20 สินค้าขายดีหน้าบ้านมาฝาก คลิก! https://bit.ly/3jBTTAL
0:00 intro
0:49 1. ร้านของชำ
1:33 2. ข้าวเหนียวหมูปิ้ง
2:13 3. แซนด์วิช/ขนมปัง/เบเกอรี่
2:43 4. ร้านสินค้าราคาประหยัด
3:31 5. น้ำเต้าหู้/ปาท๋องโก๋
4:25 6. ร้านเครื่องดื่มชานมไข่มุก/ กาแฟ / น้ำผลไม้ปั่น
5:24 7. ร้านสารพัดบริการ
6:09 8. ร้านอาหารตามสั่ง / ก๋วยเตี๋ยว / สเต๊ก
6:56 9. ลูกชิ้นปิ้ง / ลูกชิ้นทอด
7:42 10. ร้านข้าวไข่เจียว
8:29 11. ขนมจีบซาลาเปา / เครป
9:16 12. ร้านโจ๊ก / ต้มเลือดหมู
9:56 13. สลัดโรล
10:43 14. ไก่ทอด
11:35 15. หมึกย่าง
12:30 16. กล้วยแขกทอด/มันทอด/เผือกทอด/ข้าวโพดต้ม
13:01 17. เสื้อผ้า/รองเท้า มือสอง
13:43 18. ปอเปี๊ยทอด/ขนมกุ้ยช่าย
14:22 19. ขนมจีนน้ำยา
15:08 20. ร้านลาบ/อาหารอีสาน/ส้มตำ
แฟรนไชส์​ ไทยแฟรนไชส์​ ซื้อแฟรนไชส์​ ขายอะไรดี
ขายของหน้าบ้าน ขายของ รายได้เสริม
ติดต่องานสปอนเซอร์ ธุรกิจ SMEs ธุรกิจแฟรนไชส์ ผลิตวีดีโอโฆษณา อีเว้นท์
[email protected]
0898955665 (คุณเก๋)
อัพเดทและติดตามข่าวสารได้ที่
Line : @thaifranchise
Twitter : @thaifranchise
Website : https://www.thaifranchisecenter.com/​
Instagram : https://www.instagram.com/thaifranchise/​
tiktok : https://www.tiktok.com/@thaifranchise…​
YouTube : https://www.youtube.com/user/ThaiFran…​
Blockdit : https://www.blockdit.com/thaifranchis…​
Podcast : https://soundcloud.com/thaifranchisec…​

รวม 20 สินค้าขายดีหน้าบ้าน! อยู่บ้านก็รวยได้ [แจกฟรี เพียง Add LINE @thaifranchise]

ขายอะไรดี​ขายง่ายกำไรดี


ขายอะไรดีนะในยุคเศรษฐกิจแบบนี้
วันนี้นำ 20 เมนูยอดฮิตขายดีตลอดกาลมาให้ชมกันค่ะ
หวังว่าจะเป็นประโยชน์ให้กับคนที่เข้ามาดูคลิปนี้นะค่ะ

ขายอะไรดี​ขายง่ายกำไรดี

ต้นทุน1 EP01 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีต้นทุน


ต้นทุน1 EP01 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีต้นทุน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ต้นทุน ขาย ประกอบด้วย อะไร บ้าง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *