Skip to content
Home » [Update] คำชี้แจงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ (ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๔) | กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ – NATAVIGUIDES

[Update] คำชี้แจงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ (ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๔) | กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ – NATAVIGUIDES

กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

          ตามที่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ออกประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๔ โดยยกเลิกประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๒ และกำหนดให้งบการเงินของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีต้องมีรายการย่อ ดังต่อไปนี้
          ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๑  
          บริษัทจำกัด ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๒  
          บริษัทมหาชนจำกัด ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๓  
          นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๔  
          กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๕  

          เพื่อให้ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีเข้าใจถึงแนวคิดในการกำหนดรูปแบบและความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน รวมทั้งเพื่อให้การจัดทำงบการเงินมีมาตรฐานเดียวกัน กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจึงขอชี้แจง ดังต่อไปนี้

๑.

การกำหนดความหมายและรูปแบบของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน

          ๑.๑ ความหมายของศัพท์ที่มีความหมายเฉพาะตามประกาศฉบับนี้ 
                 กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities : NPAEs) หมายถึง กิจการที่ไม่เข้าลักษณะ ดังต่อไปนี้
                 (๑) กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการ ซึ่งมีการซื้อขายต่อประชาชน ไม่ว่าจะเป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรือต่างประเทศ หรือการซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter) รวมทั้งตลาดในท้องถิ่นและในภูมิภาค หรือกิจการที่นำส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนำส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือหน่วยงานกำกับดูแลอื่น เพื่อวัตถุประสงค์ในการออกขายหลักทรัพย์ใดๆ ต่อประชาชน
                 (๒) กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น สถาบันการเงิน บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนรวม ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น เป็นต้น
                 (๓) บริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด
                 (๔) กิจการอื่นที่สภาวิชาชีพบัญชีจะกำหนดเพิ่มเติม

          ๑.๒ การกำหนดรูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
                 (๑) รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของบริษัทมหาชนจำกัด (แบบ ๓) กำหนดขึ้นโดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกำหนดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (International Financial Report Standard : IFRS)
                 (๒) รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (แบบ ๑) บริษัทจำกัด (แบบ ๒) นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ (แบบ ๔) และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร (แบบ ๕) กำหนดขึ้นโดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for Non-Publicly Accountable Entities : TFRS for NPAEs) ที่สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกำหนด

          ๑.๓ การกำหนดความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
ความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินที่แนบท้ายคำชี้แจงฉบับนี้ จะอธิบายเฉพาะคำนิยามของแต่ละรายการเท่านั้น สำหรับการรับรู้รายการ และการวัดมูลค่า ให้กิจการถือปฏิบัติตามมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

 

๒.

การจัดทำงบการเงิน

 

          ๒.๑ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีที่ต้องจัดทำงบการเงินตามประกาศฉบับนี้ ได้แก่
                 (๑) ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีที่ต้องจัดทำงบการเงิน และต้องนำส่งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
                 (๒) นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ คือ นิติบุคคลซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทยและเข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทยในทุกกรณี ไม่ว่าจะประกอบธุรกิจโดยได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวหรือไม่ก็ตาม โดยครอบคลุมถึงสำนักงานผู้แทนของนิติบุคคลต่างประเทศในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและสำนักงานภูมิภาคของบริษัทข้ามชาติด้วย
                 (๓) การกำหนดรายการย่อของงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็นการกำหนดรายการย่อของงบการเงินสำหรับธุรกิจโดยทั่วไปเท่านั้น สำหรับธุรกิจที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะ เช่น สถาบันการเงิน บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทบริหารสินทรัพย์ บริษัทโฮลดิ้งที่เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ให้ใช้รายการย่อตามที่กำหนดในกฎหมายเฉพาะนั้นๆ

          ๒.๒ หลักการจัดทำงบการเงิน
                 (๑) ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีแต่ละประเภทต้องจัดทำงบการเงิน ดังนี้

[Update] คำชี้แจงกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ (ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๔) | กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ – NATAVIGUIDES

          ตามที่ กรมพัฒนาธุรกิจการค้าได้ออกประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๔ โดยยกเลิกประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เรื่อง กำหนดรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน พ.ศ. ๒๕๕๒ ลงวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๒ และกำหนดให้งบการเงินของผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีต้องมีรายการย่อ ดังต่อไปนี้
          ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๑  
          บริษัทจำกัด ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๒  
          บริษัทมหาชนจำกัด ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๓  
          นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๔  
          กิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร ต้องมีรายการย่อตาม แบบ ๕  

          เพื่อให้ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีเข้าใจถึงแนวคิดในการกำหนดรูปแบบและความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน รวมทั้งเพื่อให้การจัดทำงบการเงินมีมาตรฐานเดียวกัน กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจึงขอชี้แจง ดังต่อไปนี้

๑.

การกำหนดความหมายและรูปแบบของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน

          ๑.๑ ความหมายของศัพท์ที่มีความหมายเฉพาะตามประกาศฉบับนี้ 
                 กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities : NPAEs) หมายถึง กิจการที่ไม่เข้าลักษณะ ดังต่อไปนี้
                 (๑) กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการ ซึ่งมีการซื้อขายต่อประชาชน ไม่ว่าจะเป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรือต่างประเทศ หรือการซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter) รวมทั้งตลาดในท้องถิ่นและในภูมิภาค หรือกิจการที่นำส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนำส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์หรือหน่วยงานกำกับดูแลอื่น เพื่อวัตถุประสงค์ในการออกขายหลักทรัพย์ใดๆ ต่อประชาชน
                 (๒) กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น สถาบันการเงิน บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนรวม ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น เป็นต้น
                 (๓) บริษัทมหาชนจำกัดตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด
                 (๔) กิจการอื่นที่สภาวิชาชีพบัญชีจะกำหนดเพิ่มเติม

          ๑.๒ การกำหนดรูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
                 (๑) รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของบริษัทมหาชนจำกัด (แบบ ๓) กำหนดขึ้นโดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกำหนดตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ (International Financial Report Standard : IFRS)
                 (๒) รูปแบบรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน (แบบ ๑) บริษัทจำกัด (แบบ ๒) นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ (แบบ ๔) และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร (แบบ ๕) กำหนดขึ้นโดยอ้างอิงมาจากมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for Non-Publicly Accountable Entities : TFRS for NPAEs) ที่สภาวิชาชีพบัญชีประกาศกำหนด

          ๑.๓ การกำหนดความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงิน
ความหมายของรายการย่อที่ต้องมีในงบการเงินที่แนบท้ายคำชี้แจงฉบับนี้ จะอธิบายเฉพาะคำนิยามของแต่ละรายการเท่านั้น สำหรับการรับรู้รายการ และการวัดมูลค่า ให้กิจการถือปฏิบัติตามมาตรฐานรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข้อง

 

๒.

การจัดทำงบการเงิน

 

          ๒.๑ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีที่ต้องจัดทำงบการเงินตามประกาศฉบับนี้ ได้แก่
                 (๑) ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีที่ต้องจัดทำงบการเงิน และต้องนำส่งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. ๒๕๔๓ ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากร
                 (๒) นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ คือ นิติบุคคลซึ่งไม่ได้จดทะเบียนในประเทศไทยและเข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทยในทุกกรณี ไม่ว่าจะประกอบธุรกิจโดยได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าวหรือไม่ก็ตาม โดยครอบคลุมถึงสำนักงานผู้แทนของนิติบุคคลต่างประเทศในธุรกิจการค้าระหว่างประเทศและสำนักงานภูมิภาคของบริษัทข้ามชาติด้วย
                 (๓) การกำหนดรายการย่อของงบการเงินตามประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เป็นการกำหนดรายการย่อของงบการเงินสำหรับธุรกิจโดยทั่วไปเท่านั้น สำหรับธุรกิจที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะ เช่น สถาบันการเงิน บริษัทประกันภัย บริษัทหลักทรัพย์ บริษัทบริหารสินทรัพย์ บริษัทโฮลดิ้งที่เป็นบริษัทแม่ของกลุ่มธุรกิจทางการเงิน ให้ใช้รายการย่อตามที่กำหนดในกฎหมายเฉพาะนั้นๆ

          ๒.๒ หลักการจัดทำงบการเงิน
                 (๑) ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีแต่ละประเภทต้องจัดทำงบการเงิน ดังนี้


[BisProperty EP.20] : กฏหมายใหม่ ส.ป.ก ปี 63 สามารถทำอะไรกับที่ดินได้บ้าง!!


สปก bisproperty
สามารถติดต่อพวกเราได้ที่\r
facebook: https://www.facebook.com/Occupationtrip/\r
email: [email protected], , [email protected]\r
line: xeemus

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

[BisProperty EP.20] : กฏหมายใหม่ ส.ป.ก ปี 63 สามารถทำอะไรกับที่ดินได้บ้าง!!

การรวมธุรกิจ : วิธีรวมส่วนได้เสีย(Pooling) กับ วิธีส่วนได้เสีย(Equity) แตกต่างกันอย่างไร


รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 600 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ

การรวมธุรกิจ :   วิธีรวมส่วนได้เสีย(Pooling) กับ วิธีส่วนได้เสีย(Equity) แตกต่างกันอย่างไร

Code of Ethics | จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับย่อภายใน 3 นาที


สภาวิชาชีพบัญชีได้จัดทำคลิปวิดีโอ “จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี” เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจเรื่อง จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี โดยได้กำหนดมาตรการป้องกัน และข้อยุติเกี่ยวกับความขัดแย้งทางจรรยาบรรณหากเกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานและขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ต้องปฏิบัติงานโดยอ้างอิงจากกฎหมาย ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง และนโยบายขององค์กร
จึงขอเชิญชวนให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีทุกท่านร่วมส่งต่อ เพื่อเป็นการแชร์ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีทุกท่านเล็งเห็นความสำคัญต่อการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ
หากมีคำถามหรือข้อสงสัย สามารถติดต่อ คณะอนุกรรมการกำหนดจรรยาบรรณ สภาวิชาชีพบัญชี www.tfac.or.th

Code of Ethics | จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับย่อภายใน 3 นาที

กสทช เร่งสร้างความรู้กับกฎหมาย


กสทช.จัดอบรมหลักสูตรการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายด้านกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในพื้นที่จังหวัดน่าน
ที่ จ.น่าน ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมเทวราช จังหวัดน่าน นายชุมพร แสงมณี ผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน เป็นประธานเปิดการอบรม เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ด้านกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ ให้แก่ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในพื้นที่จังหวัดน่าน เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายด้านกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ โดยคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้จัดอบรมขึ้นเพื่อเผยแพร่บทบาท อำนาจหน้าที่การกำกับดูแลด้านกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ของกรรมการกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์ให้แก่ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบการ ประชาชนทั่วไป และผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง ทั้งยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าอบรมได้แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง และกิจการโทรทัศน์

กสทช เร่งสร้างความรู้กับกฎหมาย

บทที่ 1มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ


บทที่ 1มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *