Skip to content
Home » [Update] ข้อควรระวัง!! กรณีจดทะเบียน VAT เมื่อรายรับเกิน 1,800,000 บาทต่อปี | หลักเกณฑ์ การ จด ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

[Update] ข้อควรระวัง!! กรณีจดทะเบียน VAT เมื่อรายรับเกิน 1,800,000 บาทต่อปี | หลักเกณฑ์ การ จด ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

หลักเกณฑ์ การ จด ภาษีมูลค่าเพิ่ม: คุณกำลังดูกระทู้

This website uses cookies to improve your experience. We’ll assume you’re ok with this, but you can opt-out if you wish. Cookie settings ACCEPT

[Update] ข้อควรระวัง!! กรณีจดทะเบียน VAT เมื่อรายรับเกิน 1,800,000 บาทต่อปี | หลักเกณฑ์ การ จด ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

This website uses cookies to improve your experience. We’ll assume you’re ok with this, but you can opt-out if you wish. Cookie settings ACCEPT


คลิปที่ 41/100 เป็นบุคคลธรรมดาขายเกิน 1.8ล้าน ถ้าจด VAT จะเอากำไรจากไหน ?


ถ้ากิจการมีแต่ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ภงด.1 , ภงด.3 , ภงด.53 สามารถทำเองได้ แต่ถ้าเป็นกิจการจดภาษีมูลค่าเพิ่มต้องเข้าใจว่าบิลซื้อที่มีภาษีซื้อไม่สามารถนำมาใช้ได้ทุกบิล
ต้องมีหลักการวิเคราะห์ตามที่กรมสรรพากรยอมรับ ถ้าเป็นกิจการจดภาษีมูลค่าเพิ่มและทำภาษีเองต้องมีความรู้ถึงระดับเจ้าของเอง หรือต้องจ้างนักบัญชีที่มีประสบการณ์
เพราะจะมีเรื่องการเฉลี่ยภาษีซื้อเกี่ยวกับพื้นที่ รายได้ส่วนนึงที่มีภาษีคือ การบริการ และค่าเช่าที่ไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม และมีหลักการยึดถือสัดส่วนรายได้ของปีก่อน

อย่าลืม !! กดไลค์ กด subscribe ช่องยูทูป บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ
ฟังเนิ้อหาต่อได้ที่ fanpage facebook :https://bit.ly/2Y3h11K
สอบถามปัญหาภาษีได้ที่ Line @bunchee.easy

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

คลิปที่ 41/100 เป็นบุคคลธรรมดาขายเกิน 1.8ล้าน ถ้าจด VAT จะเอากำไรจากไหน ?

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?


คุณเคยได้ยินคนอาบน้ำร้อนมาก่อนพูดใส่คุณแบบนี้มั้ย?
คุณคิดว่ามันจริงมั้ย?
แล้วจะจดไปทำไม?
ผมว่าคำถามนี้มันมีคำตอบในตัวมัน
และวิดีโอพยายามสรุปแบบภาษาชาวบ้าน
ไม่ใช่นักการบัญชี
ไม่ใช่สรรพากร
ตามที่ผมเข้าใจ พร้อมแนวคิดง่ายๆ
ก่อนจะกระแดะเข้า VAT โดยยังไม่จำเป็น
ลองถามตัวเองดูก่อนครับ
เพราะไม่มีใครตอบคำถามนี้ได้ดีกว่า
ผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการเอง
ถ้ายังคิดไม่ออกจริงๆ
ปิดบริษัททำอย่างอื่นเถอะครับ เชื่อผม
พูดแรงแต่จริงใจครับ
CEOน้อย100M
เมตรแรกก็พร้อมแล้ว
ถ้ามันดีพอรบกวนแชร์ไปให้ถึงดาวนาเม็ก

คนไม่ฉลาดเท่านั้นที่จด VAT และคนรวยเค้าก็หนีภาษีกันหมด จริงป่ะ?

การยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม มีขั้นตอนอย่างไร


รายละเอียดบทความที่ : https://tanateauditor.com/vatfiling/
ดาวน์โหลดคู่มือบัญชีภาษีสำหรับผู้ประกอบการได้ฟรีที่ : https://tanateauditor.com/courseforsme/
ติดต่อผมได้ที่ :
คุณวิน 0876732884
Line ID : @618kssyt
Email : [email protected]

การยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม มีขั้นตอนอย่างไร

ร้านค้าคนละครึ่งโดน Vatย้อนหลัง 2 ล้าน!


ร้านค้าคนละครึ่งโดน Vatย้อนหลัง 2 ล้าน!
รายการอาจารย์มานพพบปัญหา EP.1220
▲ ติดต่อทั่วไป LIneID (มี@นำหน้า) : @Yellowtraining
▲เบอร์โทร อบรม : 0970091656 , 0622622916
▲เบอร์โทร บัญชี : 0853111669
▲ เว็บไซค์ : http://www.yellowaccounting.com

ร้านค้าคนละครึ่งโดน Vatย้อนหลัง 2 ล้าน!

สอนขอใบเสร็จ Facebook เพื่อไปทำเป็นค่าใช้จ่าย ทำภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%


Facebook เริ่มคิด ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ในค่าโฆษณา Facebok ads ตั้งแต่ 1 ก.ย. 64 นี้
1.สำหรับ บริษัทไหนที่จดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% ให้นำ เลขทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มไปกรอกด้วย
หากกรอกเลข VAT ID Facebook จะไม่คิด VAT 7% เพิ่มไปใน Billing
แต่ถ้าไม่กรอก VAT ID Facebook จะคำนวณ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เพิ่มลงไปใน Billing
ซึ่งทั้งสองกรณีนั้น คุณก็ต้องทำ ภพ 36 ส่งให้สรรพากร อยู่ดี ดังนั้น มี VAT ID ก็ให้เอาไปใส่นะครับ
2. สำหรับบุคคลทั่วไป และ บริษัทที่ยังไม่ได้จดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ เพราะยังไง ก็ไม่ได้เอาไปคำนวณอยู่แล้ว
ในคลิปนี้ จะสอน การตั้งค่า Business information หรือ ข้อมูลบริษัทของคุณ ลงใน facebook ads และการดึงเอา Billing มาเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อไปทำภาษีมูลค่าเพิ่มนั่นเอง
จะเป็นอย่างไร ไปดูกันได้เลยนะครับ

สอนขอใบเสร็จ Facebook เพื่อไปทำเป็นค่าใช้จ่าย ทำภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ หลักเกณฑ์ การ จด ภาษีมูลค่าเพิ่ม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *