Skip to content
Home » [Update] กิริยา-กริยา (บาลีวันละคำ 396) – ธรรมธารา | คำกิริยา – NATAVIGUIDES

[Update] กิริยา-กริยา (บาลีวันละคำ 396) – ธรรมธารา | คำกิริยา – NATAVIGUIDES

คำกิริยา: คุณกำลังดูกระทู้

กิริยา-กริยา

กิริยา” เขียนและอ่านเหมือนกันทั้งบาลีและไทย คืออ่านว่า กิ-ริ-ยา

ส่วน “กริยา” พจน.42 บอกคำอ่านไว้ 2 แบบ คือ อ่านว่า กฺริ-ยา และ กะ-ริ-ยา

คำว่า “กริยา” พจน.42 ยังบอกด้วยว่าเป็นสันสกฤต (เขียน “กฺริยา” มีจุดใต้ ) คำนี้บาลีเป็น “กิริยา

ความจริง บาลีมีทั้ง “กิริยา” และ “กฺริยา” เพียงแต่ว่าที่พบส่วนมากใช้ “กิริยา” จึงทำให้เข้าใจกันว่าเป็น “กฺริยา” เฉพาะสันสกฤต

กิริยากฺริยา” ในบาลีมีความหมายว่า การกระทำ, การปฏิบัติ, กรรม; การที่กระทำลงไป, การสัญญา, การสาบาน, การอุทิศ, การตั้งใจ, คำปฏิญาณ; ความยุติธรรม

ในทางธรรม หมายถึงการกระทำใดๆ ที่กล่าวถึงอย่างกว้างๆ หรืออย่างเป็นกลางๆ ถ้าเป็น “กิริยาพิเศษ” คือเป็นการกระทำซึ่งเป็นไปด้วยเจตนาที่ก่อให้เกิดวิบาก ก็เรียกว่า “กรรม” การกระทำซึ่งเป็นไปด้วยเจตนาที่ไม่ก่อวิบาก เช่นการกระทำของพระอรหันต์ ไม่เรียกว่ากรรม แต่เป็นเพียง “กิริยา

กิริยากริยา” ในภาษาไทย แยกใช้ต่างกัน คือ –

1 การกระทํา; อาการที่แสดงออกมาด้วยกาย, มารยาท ใช้ว่า “กิริยา” ไม่ใช่ “กริยา

2 คำแสดงอาการหรือบอกการกระทำของนามหรือสรรพนามในไวยากรณ์ ใช้ว่า “กริยา” แต่ในบาลีไวยากรณ์โดยทั่วไป ใช้รูปบาลี คือ “กิริยา

ระวัง :

กิริยาอาการ ไม่ใช่ กริยาอาการ

กิริยามารยาท ไม่ใช่ กริยามารยาท

อย่าใช้พลาด จะกลายเป็น “แก่ไวยากรณ์”

บาลีวันละคำ (396)

15-6-56

ในทางไวยากรณ์ ใช้ทั้ง “กริยา” และ “กิริยา”

แต่กิริยาอาการ กิริยามารยาท ใช้เฉพาะ “กิริยา” ไม่ใช่ กริยา

กิริยา, กฺริยา อิต.(พจนานุกรมศัพท์บาลี)

กริยา, กรรม การกระทำ.

“กฺริยา” ในบาลี พบในข้อความดังนี้

กิริยา  มชฺเฌติ  ปุพฺพกิจฺจํ  กตฺวา  ปาติโมกฺขํ  โอสารณกฺริยา  มชฺเฌ.

สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ หน้า ๕๘๘ (๕๓๐) อุโปสถาทิปุจฺฉาวิสชฺชนวณฺณนา

คโต  จ  ปจฺจกฺขกฺริยาย  นิพฺพุตึ

ปรมัตถทีปนี อุทานวัณณนา สุปปวาสาสูตร หน้า ๒๒๙

ปรมัตถทีปนี อิติวุตตกวัณณนา วิตักกสูตร หน้า ๒๑๙

จตสฺโส  อารุปฺปกฺริยา

สัมโมหวิโนทนี วิภังควัณณนา ขันธวิภังคนิเทส หน้า ๓๙

ปณฺณตฺตึ  อชานนฺเตน  อรหตาปิ  กฺริยาพฺยากตจิตฺเตน  อาปชฺชิตพฺพตฺตา  ติจิตฺตนฺติ  วุตฺตํ.

สารัตถทีปนี วินยฏีกา ภาค ๓ หน้า ๓๖๔ อริฏฐสิกขาบท

อเหตุกกฺริยาจิตฺตานิ ….สเหตุกกฺริยาจิตฺตาน….อเหตุกกฺริยาจิตฺตานํ  วิสโย.

ปัญจิกกา ภาค ๑ หน้า ๓๔๗ อัตถโยชนาอภิธัมมัตถวิภาวินี

(ในคัมภีร์เนื่องด้วยอภิธัมมัตถสังคหะมีใช้มาก)

กิริยา (ประมวลศัพท์)

1. การกระทำ หมายถึงการกระทำใดๆ ที่กล่าวถึงอย่างกว้างๆ หรืออย่างเป็นกลางๆ ถ้าเป็น “กิริยาพิเศษ” คือเป็นการกระทำซึ่งเป็นไปด้วยเจตนาที่ก่อให้เกิดวิบาก ก็เรียกว่า กรรม, การกระทำซึ่งเป็นไปด้วยเจตนาที่ไม่ก่อวิบาก เช่นการกระทำของพระอรหันต์ ไม่เรียกว่ากรรม แต่เป็นเพียงกิริยา (พูดให้สั้นว่า เจตนาที่ก่อวิบาก เป็นกรรม, เจตนาที่ไม่ก่อวิบาก ถ้ามิใช่เป็นวิบาก ก็เป็นกิริยา); ดู กรรม

2. ในภาษาไทย มักหมายถึงอาการแสดงออกทางกายในเชิงมารยาท บางทีใช้ควบคู่กันว่า กิริยามารยาท

3. ในทางไวยากรณ์ ได้แก่คำแสดงอาการหรือบอกการกระทำของนามหรือสรรพนาม, ในไวยากรณ์ไทย บางทีกำหนดให้ใช้รูปสันสกฤตว่า กริยา แต่ในบาลีไวยากรณ์โดยทั่วไป ใช้รูปบาลี คือ กิริยา

กิริย, กิริยา, กฺริยา (บาลี-อังกฤษ)

๑ (นาม)

(ก) การกระทำ, การปฏิบัติ, กรรม; การที่กระทำลงไป = การบรรลุ, action, performance, deed; the doing=fulfilment

อนฺตกิริยา การทำให้สิ้นสุด, การทำให้หมดไป making an end of, putting a stop to

(ตัวอย่าง)

        กาลกิริยา “การกระทำกาละ” คือความตาย “fulfilment of one’s time” i. e. death

        กุสลกิริยา การประกอบกรรมดี performance of good actions

        ทานกิริยา การให้ทาน the bestowing of gifts

ปาปกิริยา การกระทำบาป commission of sin

ปุญฺญกิริยา การกระทำบุญ the performance of good works

มงฺคลกิริยา กากระทำงานมงคล, งานฉลอง celebration of a festival

มสฺสุกิริยา การแต่งหนวด the dressing of the beard

สจฺฉิกิริยา การรู้แจ้ง realization

(ข) การกระทำในความหมายพิเศษ = การสัญญา, การสาบาน, การอุทิศ, การตั้งใจ, คำปฏิญาณ; ความยุติธรรม an act in a special sense=promise, vow, dedication, intention, pledge; justice

กิริยํ ภินฺทติ ทำลายคำสาบาน to break one’s vow

(ค) (เชิงปรัชญา) การกระทำอันไม่มีผลหรือไม่เกิดอะไรขึ้น, การกระทำที่จบลงในตัวของมันเอง philosophically: action ineffective as to result, non — causative, an action which ends in itself (= เป็นเพียงกิริยา คือเป็นเพียงการกระทำ แต่ไม่มีผล ไม่เป็นกรรม)

๒ (คุณ) (อวฺยากตา ธมฺมา)

(ก) ไม่ทำให้แตกต่างกัน, ไม่กำหนดแน่นอน, ไม่มีผล making no difference, indefinite; of no result

(ข) ไม่เป็นที่ตกลงกันได้ ในคำว่า อกิริยํ วฺยากโรติ ให้คำตอบไม่เด็ดขาด, ตอบเลี่ยง indecisive, in akiriyaŋ vyākaroti to give an indecisive answer, to reply evasively

กริยา

  [กฺริยา, กะริยา] (ไว) น. คําที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม. (ส. กฺริยา; ป. กิริยา).

กริยานุเคราะห์

  (ไว) น. กริยาที่ใช้ช่วยกริยาอื่น เช่น คง จะ ถูก น่า, กริยาช่วย ก็ว่า.

กริยาวิเศษณ์

  (ไว) น. คําวิเศษณ์ใช้ประกอบคํากริยาหรือคําวิเศษณ์ด้วยกันให้มีความแปลกออกไป.

กริยาวิเศษณ์วลี

  (ไว) น. ท่อนความที่มีคํากริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี.

กริยาวิเศษณานุประโยค

  [-วิเสสะนานุปฺระโหฺยก] (ไว) น. อนุประโยคที่ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ในสังกรประโยค, ประโยควิเศษณ์ ก็ว่า.

กิริยา

  น. การกระทํา; อาการที่แสดงออกมาด้วยกาย, มารยาท, บางทีใช้ในอาการที่ดี เช่น มีกิริยา หมายความว่า มีกิริยาดี. (ป.).

ดูโพสในเฟซบุ๊กของครูทองย้อย

[Update] หลักการเติม s และ es หลังคำกริยา พร้อมตัวอย่าง | คำกิริยา – NATAVIGUIDES

ใน present simple tense คำกริยาจะมี 2 รูปคือเอกพจน์และพหูพจน์ ซึ่งรูปเอกพจน์นั้นจะเป็นรูปที่ต้องเติม s/es ท้ายคำกริยา อย่างเช่น eats, walks, goes

อย่างไรก็ตาม การเติม s/es หลังคำกริยา ก็จะมีความต่างกันอยู่ โดยที่บางคำนั้นจะต้องเติม s ส่วนบางคำจะต้องเติม es และบางคำก็มีรูปเอกพจน์ที่ต่างจากพหูพจน์โดยสิ้นเชิง

สำหรับคนที่ยังไม่แม่นเรื่องการเติม s/es ท้ายคำกริยา ในบทความนี้ ชิววี่ก็ได้เรียบเรียงหลักการมาให้ได้เรียนรู้กันแบบง่ายๆแล้ว เอาล่ะ ถ้าเพื่อนๆพร้อมแล้ว เราไปดูกันเลย

ทบทวนความรู้
คำกริยารูปเอกพจน์ได้แก่ is, does, has, คำกริยารูปที่เติม s/es
คำกริยารูปพหูพจน์ได้แก่ are, do, have, คำกริยารูปที่ไม่ได้เติม s/es
ใน present simple tense เราจะใช้คำกริยารูปเอกพจน์ กับคำนามเอกพจน์ เช่น Tim walks to school every day. และจะใช้คำกริยารูปพหูพจน์ กับคำนามพหูพจน์ เช่น My friends walk to school every day.

ข้อควรระวัง
อย่าสับสนระหว่างพจน์ของคำนามและพจน์ของคำกริยา
คำนามเอกพจน์ คือคำนามที่ไม่ได้เติม s/es อย่างเช่น student, cat, table
คำนามพหูพจน์ คือคำนามที่เติม s/es อย่างเช่น students, cats, tables
ในทางกลับกัน
คำกริยาเอกพจน์ คือคำกริยาที่เติม s/es อย่างเช่น eats, walks, goes
คำกริยาพหูพจน์ คือคำกริยาที่ไม่ได้เติม s/es อย่างเช่น eat, walk, go
เวลาใช้ เราจะต้องใช้คำนามเอกพจน์กับคำกริยาเอกพจน์ และใช้คำนามพหูพจน์กับคำกริยาพหูพจน์
หรือถ้าจะจำแบบง่ายๆก็คือ เราจะเติม s/es คำนามและคำกริยาสลับกัน ถ้าคำนามเติม s/es คำกริยาก็ไม่ต้องเติม แต่ถ้าคำนามไม่ได้เติม s/es คำกริยาก็จะต้องเติมแทน ยกตัวอย่างเช่น
My cat eats very fast. (แมวของฉันกินเร็วมาก)
My cats eat very fast. (บรรดาแมวๆของฉันนั้นกินเร็วมาก)
(จริงๆแล้ว คำนามพหูพจน์บางคำก็ไม่ได้ลงท้ายด้วย s/es หลักการนี้ใช้เพื่อให้จำได้ง่ายเท่านั้น)

หลักการเติม s และ es หลังคำกริยา

การใช้คำกริยารูปเอกพจน์ เราจะต้องเติม s หรือ es หลังคำกริยา ซึ่งจะมีหลักการทั้งหมด 5 ข้อดังนี้

1. คำกริยาส่วนใหญ่ให้เติม s ต่อท้ายได้เลย

คำกริยาส่วนใหญ่ เมื่อใช้เป็นรูปเอกพจน์ ให้เติม s ต่อท้ายได้เลย ยกตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายComesComeมาEatsEatกินLovesLoveรักRunsRunวิ่งWalksWalkเดิน

2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย ch, ss, sh, x หรือ zz ให้เติม es

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย ch, ss, sh, x หรือ zz เมื่อใช้เป็นรูปเอกพจน์ ให้เติม es ต่อท้าย ยกตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายWatchesWatchดูKissesKissจูบWashesWashล้าง, ซักFixesFixซ่อม, ติดBuzzesBuzzร้องเสียงหึ่ง

3. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย o เมื่อใช้เป็นรูปเอกพจน์ ให้เติม es ต่อท้าย ยกตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายDoesDoทำGoesGoไป

4. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย y ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วค่อยเติม es

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย y เมื่อใช้เป็นรูปเอกพจน์ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es ต่อท้าย ยกตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายCriesCryร้องไห้FliesFlyบินHurriesHurryรีบเร่งStudiesStudyเรียนRepliesReplyตอบ

แต่ถ้าหน้า y เป็นสระ (a, e, i, o, u) ให้เติม s แทน es อย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายAnnoysAnnoyทำให้รำคาญBuysBuyซื้อEnjoysEnjoyเพลิดเพลิน, สนุกPaysPayจ่ายPlaysPlayเล่น

5. คำกริยาบางคำจะมีรูปเอกพจน์เฉพาะ

คำกริยาบางคำก็มีรูปเอกพจน์เฉพาะตัว ยกตัวอย่างเช่น

เอกพจน์พหูพจน์ความหมายIsAre
Beเป็น, อยู่, คือHasHaveมี

จบแล้วนะครับกับการเติม s และ es หลังคำกริยา ทีนี้เพื่อนๆก็คงจะเข้าใจและสามารถใช้คำกริยารูปเอกพจน์ได้ถูกต้องมากขึ้นแล้วนะครับ

อย่าลืมนะครับ ภาษาอังกฤษยิ่งเรียนรู้ ยิ่งฝึก ก็ยิ่งเก่ง สำหรับบทความนี้ ชิววี่ต้องขอตัวลาไปก่อน See you next time


กิ๊กดู๋สงครามเพลงเงินล้าน EP.4 : คริสติน่า อากีล่าร์ FULL [29 ม.ค 62]


รายการกิ๊กดู๋สงครามเพลงเงินล้าน ออกอากาศ ทุกวันอังคาร เวลา 20.15 น. ทางช่อง PPTV HD กด 36
ช่วงที่ 1 เปิดรายการ + เเนะนำคณะกรรมการ + โชว์พิเศษจากศิลปินต้นฉบับ คริสติน่า อากีล่าร์ เพลง พลิกล็อค คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์ / ทำนอง ชาตรี คงสุวรรณ
เเละร้องเพลง พูดอีกที คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง คณา วรรรกร / ธนา ลวสุด
การเเข่งขันเงาเสียง
คู่ที่ 1
เพลง ไม่ยากหรอก คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง ทำนอง จักราวุธ เเสวงผล
A : ชยุต สาลักษณ์ (ป๊อป)
B : กฤษณา เเซ่โค้ว (กุง)
ช่วงที่ 2
คู่ที่ 2
เพลง พลิกล็อค คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์ / ทำนอง ชาตรี คงสุวรรณ
A : ภัทราวรดา วิไลลอย (นุ่น)
B : ณัชชา จิตตานนท์ (ฟางข้าว)
รอบตัดสิน
เพลง หัวใจขอมา คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง สุรักษ์ สุขเสวี / ทำนอง โลฟล ปุณกะบุตร
A : ชยุต สาลักษณ์ (ป๊อป)
B : ณัชชา จิตตานนท์ (ฟางข้าว)
ประกาศผลผู้ชนะเงาเสียง
โชว์พิเศษ เเชมป์เงาเสียง ณัชชา จิตตานนท์ (ฟางข้าว) ร้องกับต้นฉบับ คริสติน่า อากีล่าร์
เพลง ไปด้วยกันนะ คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง วรัชยา พรหมสถิต / ทำนอง ชาตรี คงสุวรรณ
ช่วงที่ 3
การเเข่งขันจังหวัด ระหว่าง อุทัยธานี ปะทะ สุโขทัย
1.ตัวเเทนจาก จ.ชลบุรี
พิชญ์สิริ โภคสมบัติ (เเบม)
เพลง เปล่าหรอกนะ คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง สีฟ้า / ทำนอง อนุวัฒน์ สืบสุวรรณ
2.ตัวเเทนจาก จ.สระเเก้ว
ริตพร ปานหัตถา (รถ)
เพลง พูดอีกที คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง คณา วรรรกร / ธนา ลวสุด
ประกาศผลจังหวัดที่ชนะ
โชว์ปิดรายการจาก คริสติน่า อากีล่าร์ เพลง ประวัติศาสตร์ คริสติน่า อากีล่าร์ คำร้อง มวล พร้อมพงศ์ / ทำนอง ชาตรี คงสุวรรณ

ดูรายการทีวีย้อนหลัง รวมถึงคลิปล่าสุดของเรา พร้อมทั้งติดตามข่าวสาร แนะนำ ติชมรายการ และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่างๆ ดังนี้
Youtube : http://www.youtube.com/JSLGlobalMedia (Official channel)
Entertainment Web : http://www.jslglobalmedia.com
เจาะใจออนไลน์ : http://www.johjaionline.com
Official Web : http://www.jslsquare.com
Facebook : https://www.facebook.com/JSLGlobalMedia
Twitter : https://www.twitter.com/jslglobalmedia
Line : @JSLGlobalMedia
Copyright©2017 JSL Global Media Company Limited
บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำกัด
154 ลาดพร้าว ซอย 107 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
154 Ladprao Road (Soi 107) Klongjan, Bangkapi, Bangkok 10240 Thailand
Tel: 66 2731 0630
FAX: 66 2377 0691, 66 2375 9033
EMail: [email protected] / [email protected]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

กิ๊กดู๋สงครามเพลงเงินล้าน EP.4 : คริสติน่า อากีล่าร์ FULL [29 ม.ค 62]

100คำกริยา ภาษาจีน น่ารู้


100คำกริยา ภาษาจีน น่ารู้
คำกริยา ภาษาจีน คำศัพท์ภาษาจีน

100คำกริยา ภาษาจีน น่ารู้

ทบทวนคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา – สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3


ครูโอ๋ สื่อการเรียนการสอน
webpage : http://www.kruao.com
fanpage : https://goo.gl/O22C3X
google+ : https://goo.gl/OBu7ia
youtube : https://goo.gl/bZlYwE
วีดีโอนี้จะสอนเกี่ยวกับ
วันนี้ เรามาทบทวนคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
ทบทวนคำศํพท์ ต่างๆ
บทเรียนอิเล็กทรอกนิกส์ วิชา ภาษาไทย ป.3 ชุดนี้
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
http://www.otpchelp.com

ทบทวนคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3

กริยา 100 คำ ( 100 Verbs )


คำกริยา verb คืออะไร คำถามนี้ง่ายมาก คำกริยา verb คือ การกระทำ
คำอธิบายอย่างละเอียดก็คือ คำกริยาแสดงอาการของนามหรือสรรพนามเพื่อบ่งบอกว่า ทำอะไร
แต่อย่าลืมว่า verb มีหลายรูปแบบด้วย
regular verb คำกริยาปกติ
ช่อง 2/3 แค่เติม ed ท้ายคำจากช่อง 1
wait / waited / waited
I waited 1 hour for you to come. ฉันรอคุณมาเป็นเวลา 10 นาที
irregular verb คำกริยาอปกติ
ช่อง 1/2/3 มีรูปแบบเฉพาะ
กิน = eat / ate / eaten
I like to eat pizza. ผมชอบกินพิซซ่า
Yesterday, I ate pizza. เมื่อวานผมกินพิซซ่า
I have just eaten pizza. ผมเพิ่งกินพิซซ่าเสร็จพอดี
adverb คำขยายกริยา
ส่วนมาก ก็แต่เติม ly ท้าย adjective คำคุณศัพท์
เช่น slow ช้า (adj) ก็จะกลายเป็น slowly อย่างช้าๆ (adv)
Please speak slowly. กรุณาพูดช้าๆ หน่อย
modal verb กริยาช่วย (บอกเจตนาอารมณ์หรือวัตถุประสงค์ของกริยา)
เช่น want อยาก / need ต้องการ / must จำเป็นต้อง
I want to go. ผมอยากไป
I need to go. ผมต้องการไป
I must go. ผมจำเป็นต้องไป
auxiliary verb กริยาช่วย (บอกกาลเวลาของกริยา)
เช่น was / am / will (be)
I was angry yesterday. เมื่อวานผมรู้สึกโกรธ
I am sad today. วันนี้ผมรู้สึกเศร้า
I will be happy tomorrow. พรุ่งนี้ผมจะรู้สึกมีความสุข
ต่อไปนี้ ผมจะสอน 100 คำกริยาที่ใช้บ่อยที่สุดในชีวิตประจำวันพร้อมประโยคตัวอย่าง
ขอให้คุณตั้งใจเรียนนะครับ
สมัครเป็นสมาชิกช่องนี้!!
กดปุ่ม \”สมัคร\” ข้างล่างวีดีโอใน Youtube หรือกดลิงค์นี้ได้เลยนะครับ https://www.youtube.com/channel/UC93A91EZTtZW55WEKCz_jYA/join
สั่งซื้อหนังสือได้จากแอดมินไลน์
@LINE ID = @EnglishbyChris
รับสอนตัวต่อตัว ติดต่อผมได้ที่
@LINE ID = @TeacherChris
http://www.englishbychris.com/portfolioitems/100verbs
http://www.englishbychris.com
https://www.facebook.com/EnglishbyChris
110 = 2:39
1120 = 6:33
2130 = 10:26
3140 = 14:01
4150 = 17:50
5160 = 21:32
6170 = 25:27
7180 = 29:10
8190 = 32:57
91100 = 36:48

กริยา 100 คำ ( 100 Verbs )

100 คำกริยาภาษาอังกฤษverb ที่ใช้บ่อย


100 คำกริยาภาษาอังกฤษverb ที่ใช้บ่อย
กริยาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ verb
ภาษาอังกฤษใช้บ่อย,
กริยาอังกฤษ,
คำกริยาภาษาอังกฤษใช้บ่อย,
คำกริยาอังกฤษ,
คำกริยาภาษาอังกฤษ,
กริยาอังกฤษใช้บ่อย,

100 คำกริยาภาษาอังกฤษverb ที่ใช้บ่อย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ คำกิริยา

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *