Skip to content
Home » [Update] การใช้ Pronoun และ Noun ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions ) ภาษาอังกฤษ | กริยา 3 ช่อง try – NATAVIGUIDES

[Update] การใช้ Pronoun และ Noun ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions ) ภาษาอังกฤษ | กริยา 3 ช่อง try – NATAVIGUIDES

กริยา 3 ช่อง try: คุณกำลังดูกระทู้

คำนาม 

คือ ชื่อเรียกคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ และสิ่งที่เป็นนามธรรม

                 เวลาพูดถึงคำนาม ให้เรานึกถึง ตัวเองก่อนอันดับแรกว่า ตัวเราเป็นอะไร ตัวเราเป็นคน แล้วให้สมมติ(หรือไม่สมมติก็ได้) ว่าเรามีสัตว์เลี้ยงตัวโปรดอยู่ สัตว์เลี้ยงนั้นจะเป็นอะไรก็ได้ แล้วก็มีสิ่งของ มีสถานที่ที่เราชอบ ทุกสิ่งทุกอย่างที่ให้นึกถึงทั้งหมดนี้ คือคำนามในภาพรวม ตัวเรา(ซึ่งเป็นคน) เลี้ยงสัตว์ มีสิ่งของ มีสถานที่ และมีความชอบในสิ่งของหรือสถานที่นั้น(นามธรรม) ก็จะสามารถช่วยให้เราเข้าใจคำนามได้ในมุมกว้างๆ 

                 พอจะเจาะลึกเข้าไปอีก เป็นคำนามทั่วไป กับคำนามเฉพาะ ก็ให้เราเอาตัวเองเป็นหลักก่อนว่า ตอนแรกคิดว่าเราเป็นคน ซึ่งเป็นแค่คนทั่วๆไป แต่พอเรามาดูอีกที เรามีชื่อเฉพาะของเรา การมีชื่อขึ้นมาเจาะจงว่าเป็นตัวเราเนี่ยแหละ ก็เลยกลายให้คนธรรมดา กลายเป็นคนที่มีชื่อเรียกเฉพาะเจาะจง มีคนเดียวในโลกที่ชื่อแบบนี้ หน้าตาแบบนี้ แล้วเวลาเขียนชื่อเราทุกครั้ง ก็ต้องเขียนเป็นตัวอักษรใหญ่ ไม่ว่าจะชื่อเล่นหรือชื่อจริง พอคิดได้แบบนี้แล้ว เข้าใจแล้ว มันก็จะนำไปสู่การเข้าใจในเรื่องของความแตกต่างระหว่างคำนามทั่วไป กับ คำนามเฉพาะ 

               นอกจากนี้แล้ว เมื่อนึกถึงจำนวนของคำนามที่ยังไม่นับ ก็ให้นึกถึงอยู่สองพวกคือ มีเพียงหนึ่ง (เอกพจน์) และ มากกว่าหนึ่ง หรือสองขึ้นไป (พหูพจน์) ซึ่งก็จะมีกฏการทำคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ตามด้านล่างนี้แล้ว  แต่ถ้านึกถึงจำนวนของคำนามในเรื่องของจำนวนนับให้นึกถึง นับได้ (countable) กับ นับไม่ได้ (uncountable)  ซึ่งมีรายละเอียดตามข้างล่างนี้ (ก่อนที่จะอ่านเนื้อหาข้างล่าง ขอให้เข้าใจภาพรวมของคำนามที่ได้เกริ่นไว้ข้างต้นนี้ก่อน) 

ชนิดของคำนาม (

Types of Noun)

1. 

คำนามทั่วไป (Common Nouns)

 – 

กล่าวถึงคำนามที่เป็นคน สัตว์ สิ่งของ และสิ่งที่เป็นนามธรรมโดยไม่เฉพาะเจาะจง

          

คำนามทั่วไป เป็นได้ทั้งคำนามนับได้และคำนามนับไม่ได้

                   

 คือ คำนามที่สามารถนับเป็นจำนวนนับได้ เป็นได้ทั้งคำนามเอกพจน์และคำนามพหูพจน์

          

กฎในการเปลี่ยนคำนามเอกพจน์ให้เป็นพหูพจน์ มีดังนี้

                1. 

เติม 

–s 

ได้เลย

                2. 

เติม

 – es 

หลังคำนามที่ลงท้ายด้วย

 s, z, x, sh, and ch

                3. 

คำนามที่ลงท้ายด้วย 

y

                   3.1 

เปลี่ยน 

เป็น 

ies 

ในกรณีที่หน้า 

เป็นพยัญชนะ

                   3.2 

เติม 

–s 

ได้เลย ในกรณีที่หน้า 

เป็นสระ

                4. 

คำนามที่ลงท้ายด้วย

 o

                   4.1 

เติม

 – es 

หลังคำนาม ในกรณีที่หน้า 

เป็นพยัญชนะ

                   4.2 

เติม

 – s 

ได้เลย ในกรณีที่หน้า 

เป็นสระ

                5. 

เปลี่ยน

 f 

หรือ

 fe 

เป็น

 

 ves 

หลังคำนามที่ลงท้ายด้วย

 f or fe

                   *

 

 

คำนามที่ลงท้ายด้วย

 f 

หรือ

 fe 

บางคำที่สามารถเติม

 

– s 

ได้เลย

                6. 

เปลี่ยนรูปเมื่อเป็นพหูพจน์

                   

 

คือ คำนามที่ไม่สามารถนับได้ โดยปกติจะเป็นสสารหรือความคิด

 

พจน์ของคำนามเป็นเอกพจน์ได้เท่านั้น

2. 

คำนามเฉพาะ (Proper Nouns)

 – 

ชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ จะขึ้นต้นด้วยตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่เสมอ

หน้าที่ของคำนาม (

Functions of Noun)

1. 

ประธานของประโยค

 

2. 

กรรมของประโยค

 

3. กรรมของคำบุพบท

คำสรรพนาม (Pronoun)

          

คำสรรพนาม

 คือ คำที่ใช้แทนคำนาม ส่วนเรื่องคำสรรพนามที่ไม่มีอะไรมาก เห็นคำนี้เมื่อไหร่ ให้นึกทันที ว่าเค้าทำหน้าที่แทนคำนาม ก็จะมีหลายประเภท ซึ่งแต่ละประเภทก็ทำงานตามหน้าที่ตามชื่อ ไม่ยาก แต่อาศัยท่องจำในตอนแรกบวกกับ ความเข้าใจในเรื่องของตำแหน่งประเภทของคำที่เราต้องทราบ ซึ่งจะได้อธิบายไว้ในการใช้ของแต่ละข้อ 

ชนิดของคำสรรพนาม 

(

Types of Pronoun)

1. 

บุรุษสรรพนาม (

Personal Pronoun)

    

 

คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคน สถานที่ สิ่งของ และความคิด

    1.1 

คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นประธาน

 (Subject Pronouns) ให้สังเกตคำนามที่อยู่หน้ากริยา แล้วเลือกใช้คำสรรพนามแทนให้เหมาะสมตามความหมายของคำนามนั้น ว่าแปลแล้ว เป็นคนที่เป็นผู้ชาย ผู้หญิง หรือสัตว์ หรือสิ่งของ หรือเป็นคนที่มีหลายคน ซึ่งต้องพิจารณาอีกว่า คนที่มีหลายคนจะใช้คำว่าอะไร (ขึ้นอยู่กับความสามารถในการแปลคำนามนั้นๆ)

          – I, You, We, They, He, She, It

    1.2 

คำสรรพนามที่ทำหน้าที่เป็นกรรม

 (Object Pronouns) คำอธิบายเกือบจะเหมือนข้อ 1.1 แต่ต่างกันตรงที่ให้สังเกตคำนามที่อยู่ หลัง กริยา

          – me, you, us, them, him, her, it

2. 

สรรพนามเจ้าของ

 (

Possessive Pronouns)

      คือ คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ

    2.1 

คําคุณศัพท์ที่ใช้ขยายนามเพื่อบอกความเป็นเจ้าของของนา

ม (

Possessive Adjective Pronouns) คำสรรพนามชนิดนี้ ต่างจาก 2.2 โดยต้องมีคำนามตามหลัง (อยู่หน้าคำนาม) เนื่องจาก ชื่อของมันคือ Possessive Adjective
ถ้าใครทราบว่า Adjective แปลว่า คำคุณศัพท์ ทำหน้าที่ขยายคำนาม ตำแหน่งของเค้าอยู่หน้าคำนาม ก็จะเป็นหน้าที่ของคำสรรพนามชนิดนี้ทั้งหมด ทั้งเรื่องการขยายคำนาม และตำแหน่งที่เค้าอยู่

– my, your, our, their, his, her, its

    2.2 

คำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ (

Possessive Pronouns) คำสรรพนามแสดงความเป็นเจ้าของชนิดนี้ ชื่อก็บอกยี่ห้ออยู่แล้วว่า Possessive Pronoun แสดงความเป็นเจ้าของ แต่เป็นเจ้าของแบบแทนคำนามเลย

          – mine, yours, ours, theirs, his, hers, its

3.  

สรรพนามตนเอง (

Reflexive Pronouns)

         คือ

 สรรพนามที่แสดงตนเอง แสดงการเน้น ย้ำให้เห็นชัดเจน เป็นการเน้นย้ำว่า “ประธานกระทำกริยานั้นด้วยตนเอง” จะใช้ยังไง ให้ดูที่ประธานของประโยคเป็นหลัก ซึ่งประธานของประโยค สามารถเป็นได้ทั้งคำนามและคำสรรพนาม ต้องแปลและสังเกตได้เอง

           – myself, yourself/yourselves, ourselves, themselves, himself, herself, itself

ประธาน กริยา และกรรม 4. รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions )

รูปกรรมของบุพบท  objects of prepositions   Gerunds (เจอรันสฺ) เป็นกริยารูปหนึ่งที่ลงท้ายด้วย ing และทำหน้าที่เป็น คำนาม (noun) ฉะนั้นตำแหน่งของคำกริยาประเภทนี้ในประโยคคือ ประธาน (subject) กรรมตรง (direct object) ประธานเสริม (subject complement) และกรรมของบุพบท (object of preposition)
ตำแหน่งของ Gerunds

Gerunds (เจอรันสฺ) เป็นกริยารูปหนึ่งที่ลงท้ายด้วย ing และทำหน้าที่เป็น คำนาม (noun) ฉะนั้นตำแหน่งของคำกริยาประเภทนี้ในประโยคคือ ประธาน (subject) กรรมตรง (direct object) ประธานเสริม (subject complement) และกรรมของบุพบท (object of preposition)
ตำแหน่งของ Gerunds
1. ประธาน (subject)
ตัวอย่าง
Traveling might satisfy your desire for new experiences.
การเดินทางอาจจะสนองตอบความปรารถนาด้วยประสบการณ์ใหม่ๆ ของคุณ
หมายเหตุ กรณีนี้รูปกริยา Traveling เป็นประธาน ก็เพราะวางอยู่หน้ากริยาหลักของประโยค นั่นคือ might satisfy
2. กรรมตรง (direct object)
ตัวอย่าง
I hope that you appreciate my offering you this opportunity.
ผมหวังว่าคุณจะชื่นชอบการที่ผมให้โอกาสคุณครั้งนี้
หมายเหตุ กรณีนี้ my offering you this opportunity เป็นกรรมตรง ก็ เพราะเป็นการตอบคำถามว่า ชื่นชอบ <appreciate> “อะไร’’
3. ประธานเสริม (subject complement)
ตัวอย่าง
His favorite activity is playing golf.
กิจกรรมที่ชื่นชอบของเขาคือการเล่นกอล์ฟ
= Playing golf is his favorite activity.
หมายเหตุ กรณีนี้ playing golf เป็นเสมือนประธานเสริม อยู่หลัง verb to be “is” ส่วน Playing golf ที่วางอยู่หน้าประโยค ทำหน้าที่ประธาน
4. กรรมของบุพบท (object of preposition)
ตัวอย่าง
She suffered for years without complaining.
เธอทนทุกข์มาหลายปีโดยไม่ปริปากบ่น
หมายเหตุ กรณีนี้รูปกริยา complaining วางอยู่หลังบุพบท <preposition> คือ “without” จึงถือว่าเป็นกรรมของบุพบท
ประเภทของ Gerunds
จากตัวอย่างข้างบน อาจจะกล่าวคร่าวๆ ได้ว่า gerunds อาจจะเป็นกริยารูป ing ที่ทำหน้าที่นามที่เป็นคำเดี่ยว เรียกว่า single-word gerunds และที่เป็นวลี คือมีถ้อยคำอื่นตามหลังกริยารูป ing ที่ทำหน้าที่นาม เรียกว่า gerund phrase เช่น
single-word gerunds         gerund phrases
traveling                                           traveling to the countryside
waiting                                              waiting for a bus
การใช้     
สิ่งที่ท่านผู้อ่านจะได้ศึกษาและเรียนรู้ต่อไปนี้ นับว่ามีความสำคัญและต้องจดจำ หรือฝึกใช้ให้บ่อย โดยผู้เขียนจะขอกล่าวเป็นกรณีไปดังนี้
1. gerunds after verbs
2. gerunds after prepositions
3. gerunds after adjectives with prepositions
4. gerunds after verbs with prepositions
5. gerunds after verbs and objects
6. gerunds after “go”
7. gerunds with passive meaning
8. gerunds after some expressions
ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
1. gerunds after verbs
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำกริยา (verbs) ต่อไปนี้ ได้แก่
admit                 advise             appreciate          avoid
complete         consider         delay                    deny
detest                dislike             enjoy                    escape
excuse               finish               like (=enjoy)    postpone
practise             mind               miss                      begin
continue           hate                 prefer                  risk
suggest              involve           justify                 spend (time)
resist                  resume           waste(time)      quit
delay                  fancy               forgive               put off
can’t help         can’t stand     can’t resist
ตัวอย่าง
I appreciate his playing that music.
ผมชื่นชอบการเล่นบทเพลงนั้นของเขา
We prefer his writing to speaking about important matters.
เราชอบการเขียนมากกว่าการพูดของเขาเกี่ยวกับเรื่องสำคัญๆ
Do you mind opening the window?
คุณจะรังเกียจไหมครับที่จะเปิดหน้าต่างให้หน่อย
Mother doesn’t like me wearing this suit.
แม่ไม่ชอบให้ดิฉันสวมใส่ชุดนี้
หมายเหตุ มีบ่อยที่หน้า gerund มี object pronouns เช่น me, him, her, them, us, you, it หรือ possessive adjectives เข่น my, his, her, their, our, your, its เมื่อวางอยู่หลังคำกริยาดังกล่าวมา
โปรดดูตัวอย่างเพิ่มเติมจากหมายเหตุในหัวข้อนี้
(1) ใช้รูป possessive adjective + gerund
When she hears her husband’s (whistle) she accompanies it with (sing).
→When she hears his whistling she accompanies it with singing.
(2) ใช้รูป object pronoun + gerund
I remember George (take) out his cheque book but I didn’t notice him (write) it.
→I remember him taking out his cheque book but I didn’t notice him writing it.
2. gerunds after prepositions
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำบุพบท ได้แก่ for, of, on, after, before, with, without, by, from, about, at
ตัวอย่าง
Instead of celebrating at home, they went out to dinner.
แทนที่จะฉลองกันอยู่ที่บ้าน พวกเขากลับออกไปทานอาหารเย็นนอกบ้านShe made a wish before blowing out the candles.
เธออธิษฐานก่อนจะเป่าเทียนให้ดับ
He was fined for driving without lights.
เขาถูกปรับฐานขับรถโดยไม่เปิดไฟ
3. gerunds after adjectives with prepositions
เราใช้ gerunds เมื่อวางอยู่หลังคำคุณศัพท์ (adjectives) ที่มีบุพบท (prepositions) ตามหลัง ได้แก่
afraid of             good at                committed to      happy about
content with     interested in     amazed at/by      mad at/about
ashamed of       aware of              bored with/by    capable of
tired of               excited about    worried about    disappointed                                                                                                                                 in/with
fond of               glad about           guilty of                different from
opposed to       proud of              reponsible for     satisfied with
sick of                sorry about        sorry for               sure of
surprised at     upset about       be/get used to     famous for
ตัวอย่าง
Children are always happy about celebrating birthdays.
เด็กๆ มีความสุขในการฉลองวันเกิด
I am fond of swimming.
ฉันชอบว่ายน้ำ
I am tired of listening to you.
ผมเบื่อฟังคุณ
4. gerunds after verbs with prepositions.
เราใช้ gerunds กับคำกริยา (verbs) ที่มีบุพบท (prepositions) ตามหลัง ได้แก่
admit to                  believe in         count on         dream of/about
give up                    object to           thank… for     think of
adjust to                 agree with        approve of      blame…for
care about             consist of         decide on         depend on/upon
feel like                   hear about      insist on             look for
prevent…from    rely on/upon     succeed in     suspect…of
warn…about        talk about           take care of    forget about
hear of                   plan on                 forget about    look forward to
argue about         refrain from       concentrate on      discourage from
ตัวอย่าง
She thanked the man for helping her.
เธอชอบคุณผู้ชายที่ช่วยเหลือเธอ
I look forward to receiving your reply.
ผมรอคอยที่จะได้รับคำตอบของคุณ
Have you ever thought about sending flowers to her?
คุณเคยคิดว่าจะส่งดอกไม้ไปให้เธอบ้างไหม
5. gerunds after verbs and objects
เราใช้ gerunds หลังคำกริยา (verbs) ที่มักมีกรรม (objects) รองรับ ดังโครงสร้าง verb + object + gerund ได้แก่
find         hear         notice    see
watch     feel         observe     smell
ตัวอย่าง
The waiter heard a man yawning.
พนักงานเสิร์ฟได้ยินชายคนหนึ่งหาว
Did you notice them waving?
คุณสังเกตเห็นพวกเขาโบกมือหรือเปล่า
หมายเหตุ คำกริยาดังกล่าวในข้อนี้ เป็นกริยาที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้สึก (verbs of sensation/perception) ซึ่งสามารถตามด้วยรูป bare infinitive (หรือกริยช่อง 1 ที่ไม่มี to (ข้างหน้า) ความแตกต่างอยู่ที่ action กล่าวคือ หากหลังกริยาเหล่านี้ ใช้รูป gerund จะแสดงสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น แต่ถ้าใช้ bare infinitive จะไม่เน้นสิ่งที่กำลังเกิดขึ้น ดังนั้น ในตัวอย่างดังกล่าวข้างบน อาจจะใช้ bare infinitive ก็ได้ ดังนี้
The waiter heard a man yawn.
Did you notice them wave?
6. gerunds after “go”
เราใช้ gerund หลังกริยา go (รวม went และ gone) เมื่อตามด้วย คำกริยา (verbs) ที่แสดงความหมายเชิงกิจกรรมสันทนาการ (recreational activities) ได้แก่
boat            fish        sail         ski
bowl            hike        shop     swim
camp        hunt        sightsee     windsurf
dance         jog        skate     canoe
ตัวอย่าง
I went shopping with my husband yesterday.
ดิฉันได้ไปจับจ่ายซื้อของกับสามีของดิฉันเมื่อวานนี้
Would you like to go boating with me?
คุณอยากไปพายเรือเล่นกับผมไหม
We went sightseeing around Bangkok two days ago.
เราไปเที่ยวชมรอบกรุงเททฯ เมื่อสองวันที่ผ่านมา
7. gerunds with passive meaning
หลังคำกริยาบางคำ ตามด้วยรูป gerunds ซึ่งให้ความหมายเชิงถูกกระทำ (passive meaning) คำกริยาเหล่านี้ ได้แก่
need     want     merit     deserve
ตัวอย่าง
Your hair needs cutting.
= Your hair needs to be cut.
ผมของคุณสมควรจะได้รับการตัดได้แล้ว
My shoes want mending.
= My shoes want to be mended.
รองเท้าของผมควรจะได้รับการซ่อมได้แล้ว
His brave action deserves rewarding.
= His brave action deserves to be rewarded.
การกระทำที่กล้าหาญของเขาสมควรที่จะได้รับรางวัล
8. gerunds after some expressions
เราใช้ gerunds หลังข้อความบางอย่าง ได้แก่
It’s a waste of time/money/…
It’s no use …
It’s (not) worth …
There’s no point (in) …
have fun/a good time/trouble/difficulty/…
spend/ waste time
What about …? (ใช้เพี่อการเสนอแนะ)
How about…? (ใช้เพื่อการเสนอแนะ)
ตัวอย่าง
We had a good time watching the ice skating competition.
เราได้รับความสนุกสนานที่ได้ชมการแข่งสเก็ตน้ำแข็ง
It’s not worth reparing the machine.
มัน ไม่คุ้มค่าที่จะซ่อมเครื่องจักรดังกล่าว
It’s a waste of time watching that movie.
เสียเวลาเปล่าที่จะชมภาพยนตร์เรื่องนั้น
ต่างความหมาย
คำกริยาบางคำ เมื่อตามด้วยรูป gerunds และ infinitives จะให้ความหมายที่แตกต่างกัน ทั้งนี้การจะเลือกใช้รูป gerunds หรือ infinitives ต้องอาศัยการตีความหมายเป็นสำคัญ ได้แก่
1. remember + gerunds vs remember + to-infinitives
ตัวอย่าง
I remember posting the letter.
ฉันจำได้ว่าได้ส่งจดหมายไปแล้ว
I must remember to post the letter.
ฉันจะต้องจำให้ได้ว่าจะต้องส่งจดหมาย
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป remember + gerund หมายถึง “จำได้ในสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว’’ ส่วนรูป remember + to-infinitive หมายถึง “จำไว้ว่าจะทำสิ่งนั้นๆ” แสดงว่ายัง ไม่ได้กระทำสิ่งนั้น
2. forget + gerunds VS forget + to-infinitives
ตัวอย่าง
I forgot taking the exam.
ผมลืมไปว่าได้เข้าสอบแล้ว
I forgot to take the exam yesterday.
ผมลืมเข้าสอบเมื่อวานนี้
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป forget + gerund หมายถึง “ลืมในสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้ว” ส่วนรูป forget + to-infmitive หมายถึง “ลืมที่จะกระทำสิ่งนั้น’’
3. regret + gerunds vs regret + to-infinitives
ตัวอย่าง
I regret saying what I said.
ผมเสียใจที่พูดในสิ่งที่พูดออกไป
I regret to say I feel ill.
ผมเสียใจที่จะกล่าวว่าผมป่วย
หมายเหตุ จากตัวอย่างที่ใช้รูป regret + gerund หมายถึง “เสียใจในสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว’’ ส่วนรูป regret + to-infinitive หมายถึง” เสียใจในสิ่งที่จะกระทำ’’ แสดงว่าไม่ได้ทำมาในอดีต
สรุป จากกรณีการใช้ที่นำมาเปรียบเทียบกันทั้งในรูปของการตามด้วย gerunds และ to-infinitives พอจะสรุปรวบยอดเพื่อให้เป็นแนวคิดในการตัดสินใจใช้คำกริยาทั้ง 3 คำ ระหว่างตามด้วย gerunds และ infinitives ได้ดังนี้
ก. ตามด้วย gerunds หมายถึง อดีต (past) คือ ได้เกิดขึ้นไปแล้ว
ข. ตามด้วย to-infinitives หมายถึง ปัจจุบัน (present) หรือ อนาคต (future) คือ ยังไม่เกิด หรือยังไม่ได้กระทำ
4. try + gerunds VS try + to-infinitives
ตัวอย่าง
I try holding my breath.
ผมทดลองกลั้นลมหายใจ
I try to hold my breath.
ผมพยายามกลั้นลมหายใจ
หมายเหตุ เมื่อใช้ try + gerund จะหมายถึง “ทดลอง’’ (experiment) เหมือนกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์แต่ถ้าใช้ try + to-infinitive จะหมายถึง “พยายาม’’ คือ พยายามที่จะทำบางสิ่งบางอย่าง
5. stop + gerunds vs stop + to-infinitives
ตัวอย่าง
You must stop smoking.
คุณจะต้องหยุด (เลิก) สูบบุหรี่
He stopped his car to smoke.
เขาจอดรถเพื่อจะสูบบุหรี่
หมายเหตุ เมื่อใช้ Stop + gerund จะหมายถึง “หยุดทำในสิ่งที่กำลังทำอยู่” แต่ถ้าใช้ stop + to-infinitive จะหมายถึง “หยุด (สิ่งหนึ่ง) เพื่อจะทำอีกสิ่งหนึ่ง”
6. go on + gerunds vs go on + to-infinitives
ตัวอย่าง
Go on talking.
พูตต่อไป
We went on to discuss finance.
เราได้หันไปพูดถึงเรื่องการเงิน
หมายเหตุ เมื่อใช้ go on + gerund จะหมายถึง “ดำเนินต่อไปในสิ่งที่กำลังทำอยู่’’ แต่ถ้าใช้ go on + to-infinitive จะหมายถึง “เปลี่ยนไปทำอีกสิ่งที่ต่างไปจากสิ่งเดิม”
7. mean + gerunds vs mean + to-infinitives
ตัวอย่าง
Having a party tonight will mean working extra hours tomorrow.
การจัดงานเลี้ยงคืนนี้จะหมายถึงการทำงานล่วงเวลาเพิ่มขึ้นพรุ่งนี้
I mean to work harder next year.
ผมตั้งใจจะทำงานหนักขึ้นปีหน้า
หมายเหตุ เมื่อใช้ mean + gerund คำว่า mean = signify แปลว่า “หมายถึง” ส่วนเมื่อใช้ mean – to-infinitive คำว่า mean = intend แปลว่า “ตั้งใจ”
ที่มา:รองศาสตราจารย์ทณุ  เตียวรัตนกุล

[NEW] หลักการใช้ Past Simple Tense (Part3) | กริยา 3 ช่อง try – NATAVIGUIDES

หลักการใช้ Past Simple Tense (Part3)

หลักการเติม ed และการเปลี่ยนรูปกริยาช่อง 1 เป็นกริยาช่อง 2 (Past Simple) ในแบบต่างๆ ทั้งแบบปกติ (regular verbs) และแบบไม่ปกติ (irregular verbs) พร้อมตัวอย่างคำศัพท์ที่ใช้บ่อย เรามาดูหลักการเติม ed และการเปลี่ยนรูปกริยาช่อง 1 เป็นกริยาช่อง 2 (Past Simple) ในแบบต่างๆ พร้อมตัวอย่างคำศัพท์ดังต่อไปนี้เลยค่ะ

– Regular Verbs: กริยาช่อง 2 และกริยาช่อง 3 (Past Participle) ที่ลงท้ายด้วย -ed เช่น added, finished, poured, walked, etc. เราเรียกว่าเป็น regular verbs คือคำกริยาที่คงสภาพไว้เหมือนเดิม เพียงแค่เติม ed ต่อท้ายคำ
– Irregular Verbs: กริยาช่อง 2 และกริยาช่อง 3 บางคำไม่ได้ต่อท้ายด้วย -ed แต่มีการเปลี่ยนรูปไป เช่น became, found, sang, took, etc. เราเรียกว่าเป็น irregular verbs ได้แก่

คำกริยาที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างต่างกันทั้ง 3 ช่องเช่น sing – sang – sung หรือ
คำกริยาที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างต่างกันแค่ 2 ช่องเช่น become – became – become หรือ
คำกริยาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเลยเช่น met – met – met

หลักการเติม -ed ท้ายคำกริยา
คำกริยาที่มีพยัญชนะท้ายคำอยู่่ติดกันตั้งแต่สองตัวขึ้นไป ให้เติม ed ต่อท้ายได้เลย ตัวอย่างคำกริยาเหล่านี้อย่างเช่น

talk + ed = talked
work + ed = worked
lunch + ed = lunched

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

add
added
added

asked
asked
asked

backed
backed
backed

called
called
called

dress
dressed
dressed

inform
informed
informed

jump
jumped
jumped

kick
kicked
kicked

launch
launched
launched

mark
marked
marked

push
pushed
pushed

return
returned
returned

start
started
started

talk
talked
talked

work
worked
worked

 

คำกริยาที่มีสระสองตัวติดกันและสะกดด้วยพยัญชนะท้ายคำตัวเดียว ให้เติม ed ต่อท้ายได้เลย ตัวอย่างคำกริยาเหล่านี้อย่างเช่น

clean + ed = cleaned
dream + ed = dreamed
join + ed = joined

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

book
booked
booked

claim
claimed
claimed

clean
cleaned
cleaned

dream
dreamed
dreamed

fear
feared
feared

heal
healed
healed

join
joined
joined

look
looked
looked

need
needed
needed

peel
peeled
peeled

pour
poured
poured

rain
rained
rained

sail
sailed
sailed

tour
toured
toured

zoom
zoomed
zoomed

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย e อยู่แล้วเราเติมแค่ d ต่อท้ายได้เลย อย่างเช่น
arrive + ed = arrived
die + ed = died
live + ed = lived
retire + ed = retired

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

arrive
arrived
arrived

care
cared
cared

decide
decided
dicided

die
died
died

excite
excited
excited

face
faced
faced

hate
hated
hated

invite
invited
invited

judge
judged
judged

like
liked
liked

live
lived
lived

love
loved
loved

move
moved
moved

retire
retired
retired

use
used
used

มีคำกริยาบางคำเราต้องเพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายเข้าไปอีกตัวหนึ่งก่อนที่จะเติม ed อย่างเช่น
fan + ed = fanned
grab + ed = grabbed
pat + ed = patted
ขอให้สังเกตว่าคำกริยาเหล่านี้มักเป็นคำกริยาสั้นๆ ลงท้ายด้วยพยัญชนะเช่น b, d, m, n, p, t, และมีสระตัวเดียวหน้าพยัญชนะนั้นๆ

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

admit
admitted
admitted

ban
banned
banned

fan
fanned
fanned

grab
grabbed
grabbed

hop
hopped
hopped

hug
hugged
hugged

pat
patted
patted

plan
planned
planned

permit
permitted
permitted

scrub
scrubbed
scrubbed

shop
shopped
shopped

step
stepped
stepped

stop
stopped
stopped

wrap
wrapped
wrapped

zip
zipped
zipped

คำกริยาที่มี 2 พยางค์ ออกเสียงเน้นหนักพยางค์หลังให้เพิ่มตัวสะกดตัวท้ายอีกหนึ่งตัวก่อน แล้วจึงเติม ed อย่างเช่น
prefer + ed = preferred
control + ed = controlled

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

control
controlled
controlled

infer
inferred
inferred

occur
occurred
occurred

permit
permitted
permitted

prefer
preferred
preferred

program
programmed
programmed

scan
scanned
scanned

step
stepped
stepped

stop
stopped
stopped

scrub
scrubbed
scrubbed

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย y และหน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วจึงเติม ed อย่างเช่น
bury + ed = buried
cry + ed = cried
hurry + ed = hurried

ยกเว้นคำกริยาที่ลงท้ายด้วย y และหน้า y เป็นสระ (a, e, i, o, u) ให้เติม ed ได้เลย อย่างเช่น
convey + ed = conveyed
destroy + ed = destroyed
enjoy + ed = enjoyed
play + ed = played

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

bury
buried
buried

cry
cried
cried

carry
carried
carried

dry
dried
dried

fry
fried
fried

hurry
hurried
hurried

identify
indentified
indentified

study
studied
studied

try
tried
tried

worry
worried
worried

การผันรูปของ Irregular Verbs

สำหรับการผันรูปกริยาแบบไม่ปกติหรือแบบพิเศษ (Irregular Verbs) นี้เพื่อนๆ ต้องอาศัยการจำกันหน่อยนะคะ เพราะไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน โดยทั่วไปแล้ว irregular verbs จะมีการผันรูปอยู่สามแบบคือ

  • คำกริยาที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างต่างกันทั้ง 3 ช่องเช่น sing – sang – sung หรือ
  • คำกริยาที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างต่างกันแค่ 2 ช่องเช่น become – became – become หรือ
  • คำกริยาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างเลยเช่น met – met – met

ตัวอย่างคำกริยาที่ผันรูปแล้วมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างต่างกันทั้ง 3 ช่อง

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

am / is
was
been

are
were
been

be
was / were
been

begin
began
begun

do
did
done

drive
drove
driven

eat
ate
eaten

fly
flew
flown

get
got
got / gotten

give
gave
given

go
went
gone

know
knew
known

ride
rode
ridden

see
saw
seen

speak
spoke
spoken

ตัวอย่างคำกริยาที่ผันรูปแล้วมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างต่างกันแค่ 2 ช่อง

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

bring
brought
brought

build
built
built

buy
bought
bought

come
came
come

dream
dreamt
dreamt

feel
felt
felt

find
found
found

has / have
had
had

hear
heard
heard

hold
held
held

lay
laid
laid

learn
learned / learnt
learned / learnt

make
made
made

pay
paid
paid

say
said
said

ตัวอย่างคำกริยาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง หน้าตาเหมือนกันทั้งสามช่อง

BASE FORM (V1)

PAST SIMPLE (V2)

PAST PARTICIPLE (V3)

bet
bet / betted
bet / betted

chat
chat
chat

cut
cut
cut

hit
hit
hit

hurt
hurt
hurt

let
let
let

read
read
read

reset
reset
reset

rid
rid
rid

set
set
set

shed
shed
shed

shut
shut
shut

slit
slit
slit

spread
spread
spread

wed
wed
wed

ข้อสังเกต: กริยาบางคำสามารถผันรูปได้สองแบบ อย่างเช่น
bet – bet -bet หรือ bet – betted -betted
get – got – got หรือ get – got – gotten
learn – learned – learned หรือ learn – learnt – learnt

 


มาฝึกท่องกริยา 3 ช่องเป็นเพลงกันเถอะ จำง่ายขึ้นแน่นอน Irregular Verbs


ติดตามแฟนเพจครูเชอรี่ได้ที่ https://www.facebook.com/cherry.englishbright

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

มาฝึกท่องกริยา 3 ช่องเป็นเพลงกันเถอะ จำง่ายขึ้นแน่นอน Irregular Verbs

กริยา3ช่อง และ เทคนิคการท่องกริยา3ช่อง เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์กับESE


กริยา3ช่อง และ เทคนิคการท่องกริยา3ช่อง ในคลิปนี้เรามาจะมาทำความเข้าใจกับกริยา3ช่องและลิสคำกริยา3ช่อง เราจะมาฝึกท่องคำศัพท์ไปพร้อมๆกัน เพื่อช่วยทำให้เราออกเสียงได้ถูกต้อง และ ยังรวมไปถึงเทคนิคการฝึกท่องกริยา3ช่องภาษาอังกฤษด้วย irregular verb และ regular verb คืออะไร คลิปนี้มีคำตอบ
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์กับESE
เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์ ครบทุกหลักการใช้งานในคลิปเดียวแบบเต็มสูบทั้งหมด
หากสนใจมาเรียนภาษาอังกฤษตัวต่อตัว กับทางESE สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลได้ทางช่องทางเหล่านี้นะครับ
อย่าลืมกดติดตามเราทางช่องทางอื่นๆด้วยนะครับ
Follow us on Facebook: https://www.facebook.com/easyandsimpleenglish/
Follow us on Instagram: https://www.instagram.com/ese_stagram_th/
Visit our website: http://easysimpleenglish.com/
Contact: Tel: 0863537300

กริยา3ช่อง และ เทคนิคการท่องกริยา3ช่อง  เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์กับESE

ฝึกพูดภาษาอังกฤษ Irregular Verbs (A- L) คำกริยา 3 ช่อง


ฝึกพูดภาษาอังกฤษ Irregular Verbs (A L) คำกริยา 3 ช่อง
ติดตามเฟสบุคเพจ https://www.facebook.com/PracticeEnglishWithThaiEnglishGirl/
ปล. กริยา ไม่ใช่กิริยา ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ

ฝึกพูดภาษาอังกฤษ Irregular Verbs  (A- L) คำกริยา 3 ช่อง

Let’s Learn English Around the House and Home | English Video with Subtitles


Why don’t we take some time today to learn some English around the house? In this English video lesson I take you on a tour of a friend’s home and explain to you all the different rooms in a house, and some of the things you will find there.
I’m sure you have already learned a lot of the English that I use in this video, but I hope this video tour of a home will be a great English practice lesson for you!
Thanks for watching! Have a great day!
⌛ Remember: Always watch the video three times. Twice today, and once tomorrow to reinforce what you have learned!

✅ Support Me:
😀💲 If you would like to become a member of my channel here is the link: https://www.youtube.com/channel/UCZJJTxA36ZPNTJ1WFIByaeA/join
Becoming a member at every level has these benefits and perks:
1) A full transcript for every Tuesday video.
2) Access to a slower version of the video with good audio and subtitles built in.
3) At least one worksheet to fill out while listening. (Great for Teachers!)
4) From time to time access to worksheets and games on Quizlet.
5) A cool crown beside your name during live streams and when making comments and your name highlighted in green.
I really appreciate those you that have chosen to thank me in this way! Please only support me if you can afford it!
If you prefer to support me via Patreon, here is a link to that page: https://www.patreon.com/bobthecanadian
Thank you for your generosity!

SEND ME A POSTCARD:
Bob the Canadian
P.O. Box 419
Smithville, Ontario
Canada
L0R2A0

TAKE YOUR ENGLISH CONVERSATIONS TO THE NEXT LEVEL:
✅Talk to a real English tutor / teacher at preply: http://tracking.preply.com/SH2X
(This is an affiliate, signing up for this service helps support my channel).

✅ Sign up for my email list and receive exciting free tips to improve your English: https://bit.ly/3iW5F7h

✅ FREE PRACTICE MATERIAL:
1) What are the names of all the rooms I looked at in the video?
2) What are some things you will find in a kitchen?
3) What are some things you will find in a living room?
4) What do you do in a dining room?
5) What are the three main parts of a bathroom?
6) What are some of the things you will find in a bedroom?
7) What is a spare room?
8) What is a basement? What can be found there?
9) Where do some Canadians park their car?
10) What is a patio?

✅ TRANSCRIPT:
Hi! Bob the Canadian here! Let’s learn English around the house. Come on in!
Hi, Bob the Canadian here. Welcome to this video. If this is your first time here don’t forget to click the subscribe button below, and give me a thumbs up at some point during this video if it’s helping you learn English.
Well today we’re going to learn some English words and phrases that you can use to describe a house. I just came in through the front door. Houses generally have a front door and a back door. I’ll show you that one a bit later. And I’m standing in the front entrance or the entranceway of the house. It’s a little warm so I’m going to take off my coat and you’ll notice behind me there is a coat hanger. So I’m going to hang my coat here and I’m going to do what we traditionally do in Canada, and that is that I’m going to take off my shoes.
Before we go any further though, I want to thank Barb the Canadian for letting me use her house today to make this video, to help you learn English.
The front entranceway also usually has a closet where you can hang coats and other items. So especially in the winter when you come into a home you might want to hang your coat in the closet if there’s not enough room on the coat hangers.
So you’ll notice behind me here the kitchen. The kitchen is one of my favourite rooms in the house. I really like food so I really like kitchens. You’ll notice behind me here that a kitchen has a certain number of items. We have the refrigerator or the fridge, where you can keep food cold. This fridge has a freezer on the bottom. We also have the stove and generally we call this part the oven, where you would bake things, and over here we have the stove where you would cook things. If you look behind me here you’ll see we have a sink, so when you’re all done making your food and eating your food you can do the dishes, you can wash the dishes in the sink.
learnenglish englishlesson bobthecanadian
Note: All images used under:
CC0 License ✓ Free for personal and commercial use ✓ No attribution required
From pexels.com or pixabay.com

Let's Learn English Around the House and Home | English Video with Subtitles

English Conversation 79


Please watch more ENGLISH CONVERSATION Videos at https://www.youtube.com/playlist?list=PLzVm1SmjPKc_OnC56MbILOmdXvGV_3kE9

englishconversation

English Conversation 79

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ กริยา 3 ช่อง try

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *