Skip to content
Home » [Update] การเตรียมเอกสารส่งภาษีซื้อ-ภาษีขาย (ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30) | ตัวอย่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

[Update] การเตรียมเอกสารส่งภาษีซื้อ-ภาษีขาย (ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30) | ตัวอย่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

ตัวอย่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Table of Contents

การเตรียมเอกสารส่งภาษีซื้อ-ภาษีขาย (ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30)

By posted on May 2, 2019 5:08PM

[Update] การเตรียมเอกสารส่งภาษีซื้อ-ภาษีขาย (ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30) | ตัวอย่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

การเตรียมเอกสารส่งภาษีซื้อ-ภาษีขาย (ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30)

By posted on May 2, 2019 5:08PM


วิธีคิดภาษี \” VAT 7 \” เข้าใจง่ายที่สุด เตรียมพร้อมเข้าภาษีมูลค่าเพิ่ม


เป็นหลักการคิดง่าย ที่เพื่อนๆนำไปคิดกับภาษีตัวเองได้เลยครับ
กด ติดตาม กด like กด กระดิ่ง เป็นกำลังใจ ด้วยนะครับ
แฟนเพจครับ
https://www.facebook.com/%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%A1channal103984517833330
👉 ติดต่องานสปอนเซอร์ 0968265593. ขอบคุณครับ
เราชนะvat7%ภาษีมูลค่าเพิ่ม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

วิธีคิดภาษี \

[Q\u0026A] วิธีคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย พร้อมกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (มีตัวอย่าง+แจกไฟล์ฟรี)


ช่วงวิกฤตแบบนี้ หลายคนมีปัญหา เรื่องคิดราคาลูกค้าผิดๆถูกๆ ไม่ว่าจะเป็น…
ต้องรวม VAT ไหม
ต้องหัก ณ ที่จ่ายหรือเปล่า
รวมทั้ง VAT และ หักภาษีด้วย
โอ้ยยยงงง พรี่หนอมเลยเอาไฟล์มาฝากกัน จะได้ไม่คิดเงินลูกค้าผิดพลาด เดี๋ยวจะมีปัญหาการเงินเพิ่มขึ้นมาอีกต่างหากจ้า
ดาวน์โหลดไฟล์ประกอบได้ที่นี่จ้า
https://bit.ly/WTCALBYTAXBUGNOMS
วิธีคำนวณ ภาษีหักณที่จ่าย และ ภาษีมูลค่าเพิ่ม ดูวิธีการได้จากคลิปวีดีโอนี้เลยจ้า หรือว่า จะอ่านคำอธิบายจาก ตัวอย่างก็ได้นะ
อย่างบริษัทน้องคนนี้มีรายได้ 60,000 บาท ถ้าหากถูกหักภาษีไว้ 3% น้องจะได้เงิน 58,200 บาท ถูกหักภาษีไว้ 1,800 บาท แต่แปลว่าน้องมีรายได้ต้องเสียภาษี คือ 60,000 บาทนะ และถ้าหากบริษัทน้องจด VAT ยอด 7% ของ VAT ก็ต้องคิดจากยอด 60,000 บาทด้วย
ทีนี้บางทีน้องอยากได้ยอดเต็ม 60,000 บาท ถ้าคนจ่ายเขาจะหักอยู่ เค้าก็ต้องคำนวณย้อนกลับเป็นว่า ยอด 60,000 บาทคือยอดหลังหักภาษีแล้ว ดังนั้นยอดก่อนหักภาษีก็ต้องเป็น 61,855.67 บาท และถูกหักภาษีไว้ 1,855.67 บาทเลยทำให้ได้เงิน 60,000 บาทถ้วนนั่นเอง และถ้าบริษัทน้องจด VAT ยอด 7% ก็ต้องคิดจากยอดก่อนหักภาษี คือ 61,855.67 บาท
ฝากติดตามรายการ คุยภาษีหนีเคอร์ฟิว ได้เลยจ้า
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

[Q\u0026A] วิธีคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย พร้อมกับ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (มีตัวอย่าง+แจกไฟล์ฟรี)

วิธียื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภพ.30 ในระบบใหม่/กรณีไม่มีภาษีซื้อ-ภาษีขาย/ภาษีเป็น 0 บาท


ขั้นตอนการยื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภพ.30 /กรณีไม่มีภาษีซื้อไม่มีภาษีขาย/ภาษีเป็น 0 บาท ในระบบยื่นแบบผ่านอินเตอร์เน็ตรูปแบบใหม่ New EFiling
สามารถพูดคุย แนะนำ ติดตาม และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางดังนี้
Facebook : https://www.facebook.com/kalataxes

วิธียื่นแบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ภพ.30 ในระบบใหม่/กรณีไม่มีภาษีซื้อ-ภาษีขาย/ภาษีเป็น 0 บาท

ภาษีขายของออนไลน์ Ep 3/5 : ตัวอย่างการคิดกำไร ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้ (2)


ซีรีย์สอนเรื่องแนวคิดจัดการภาษีสำหรับคนที่ทำธุรกิจขายของออนไลน์ เพื่อให้เสียภาษี และวิเคราะห์ต้นทุนอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกิจการได้อย่างถูกต้อง
ตอนนี้จะมาว่าด้วยตัวอย่างของธุรกิจที่มีข้อมูลกำไร เอามาลองใช้ประมาณการภาษีดูว่าจะเป็นอย่างไรบ้าง ทั้งภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้ สำหรับกรณีที่สามารถผลักภาระด้านราคาให้ลูกค้าได้
ขายของออนไลน์ ภาษีขายของออนไลน์ คำนวณภาษี
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ : http://bit.ly/ONLINETAX2562

กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันได้นะ
ติดตามกันได้ที่ : http://www.FB.com/TAXBugnoms

ภาษีขายของออนไลน์ Ep 3/5 : ตัวอย่างการคิดกำไร ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้ (2)

#ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?


เคยไหม? เวลาไปซื้อของแล้วเค้าบอกว่าของชิ้นเดียวกันมีราคาต่างกัน ถ้าเอา VAT ต้องบวกเพิ่มราคาอีก 7% แต่ถ้าไม่บวก VAT ขายได้ทันทีในราคานี้จ้า อ๊ะ นี่มันคืออะไร ทำไมถึงเกิดเรื่องแบบนี้ได้!!
ก่อนที่จะเล่าว่าทำไมถึงเป็นแบบนั้น ขออธิบายหลักการของภาษีมูลค่าเพิ่มให้ฟังกันก่อน พูดให้ง่ายที่สุด ภาษีมูลค่าเพิ่มคือภาษีที่เรียกเก็บจากผู้ขายสินค้าหรือให้บริการ แต่ผลักภาระให้ผู้บริโภคเป็นคนจ่ายนั่นเอง
ชักจะงงกันไปใหญ่ เอาว่าไม่เป็นไร มาดูตัวอย่างกันดีกว่า สมมติว่า กิจการนี้มีการซื้อสินค้ามาใน 100 บาท แล้วเอามาขายในราคา 200 บาท
ถ้าหากไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
จะเห็นว่ากำไรเท่ากับ 200 100 = 100 บาท
แต่ถ้าหากกิจการตามตัวอย่างมีการจดทะเบียน VAT หรือเรียกภาษากฎหมายว่าเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายสินค้าในราคา 200 บาทจะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มไปอีก 7% หรือ 14 บาท รวมเป็น 214 บาท
และถ้าหากกิจการเดียวกันนี้ไปซื้อของจากธุรกิจที่จดทะเบียน VAT เหมือนกัน ของในราคา 100 บาทนั้น ก็จะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มอีก 7% หรือ 7 บาท รวมเป็น 107 บาท
ทีนี้ เมื่อมีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
กำไรของกิจการก็จะไม่เปลี่ยนหรอกนะ
มันยังเท่าเดิม คือ 100 บาทนั่นแหละ (อ้าว)
แต่สิ่งที่เปลี่ยนคือ
เงิน 14 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีขาย
ส่วน 7 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีซื้อ
โดยในทุกครั้งที่ขายสินค้าให้บริการ (เป็นคนขาย)
จะต้องออกใบกำกับภาษีให้ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด
รายละเอียดเพิ่มเติมรับชมได้ในคลิปนี้เลยจ้า
ภาษี10นาที ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT วางแผนภาษี ลดหย่อนภาษี ภาษีซื้อ ภาษีขาย ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษี คำนวณภาษี ความรู้ภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

#ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ตัวอย่าง ภาษีมูลค่าเพิ่ม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *