Skip to content
Home » [Update] การจำแนกส่วนต่าง ๆ ของประโยค ตามลักษณะหน้าที่ | imperative คือ – NATAVIGUIDES

[Update] การจำแนกส่วนต่าง ๆ ของประโยค ตามลักษณะหน้าที่ | imperative คือ – NATAVIGUIDES

imperative คือ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

         หากจะพิจารณาโครงสร้างของประโยคตามหน้าที่ (function) ของคำประเภทต่าง ๆ ว่าทำหน้าที่อะไรในประโยคแล้ว โครงสร้างของประโยคจะประกอบด้วยส่วนที่สำคัญที่สุด 3 ส่วนคือ ประธาน (Subject), กริยา (Verb) และส่วนเติมให้สมบูรณ์ (Complement)

ส่วนขยาย (modifiers) เช่น (adjectives, adverbs) และคำเชื่อม (connectives) เช่น prepositions, conjunctions, และอื่นๆ มีหน้าที่ช่วยเพิ่มเติมสนับสนุนที่สำคัญที่สุด โดยที่ modifiers มีหน้าที่ช่วยให้มีความหมายมากขึ้น หรือชัดเจนยิ่งขึ้น และ connectives มีหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ของประโยค เพื่อให้ประโยคเหล่านั้นมีความต่อเนื่องราบรื่น ไม่สะดุด

1. Subject

คือคำ หรือกลุ่มคำที่อาจเป็นบุคคล สิ่งของ สถานที่ หรือสภาวะทางนามธรรม ซึ่งเป็นผู้แสดงออกในประโยค ส่วนใหญ่ subjects ที่เป็นประเภทคำโดด (single words) มักจะเป็นคำประเภท nouns และ pronouns เสมอ เช่น

The Principal called the meeting at 2 o’clock.

He wanted every staff member to attend the meeting.

Verbals (คำคล้าย verbs) เช่น gerund และ infinitive ก็อาจเป็น subject ได้

Jogging is good exercise. (gerund)

To run is more tiring than to walk. (infinitive)

The demonstrative, interrogative และ indefinite pronouns เป็น subjects ได้

That is going to be a difficult task. (demonstrative)

What are your plans for doing it? (interrogative)

Everyone is ready to work with you. (indefinite)

Phrase ที่ทำหน้าที่เหมือน noun เป็น subject ของ sentence ได้

Winning the prize is the thing he is so proud of.

To make this report as comprehensive as possible is our main objective.

Dependent clause ทั้ง clause ก็ทำหน้าที่เป็น subject ได้

Whoever works in the headquarter will be able to supply the information you need.

Whether the report has been approved or not will determine our action.

 

2. Verb 

คือคำที่ใช้แสดงการกระทำของ subject (active verb) หรือการถูกกระทำ (passive verb) และอาจเป็นคำที่แสดงให้รู้จัก subject ซึ่งเรียกกันว่า linking verb ซึ่งไม่ใช่ลักษณะของการกระทำหรือการถูกกระทำแต่อย่างใดก็ได้ เช่น He appears happy. She looks cheerful. ในประโยคหนึ่ง ๆ จะมี verb เสมอเมื่อพูดถึง verb จะต้องนึกถึงตัวกำหนดรูปแบบของ verb 5 กรณีดังต่อไปนี้คือ

– พจน์ (number) – กาล (tense) – การก (voice)

– บุคคล (person)) – มาลา (mood)

ตัวกำหนดทั้ง 5 กรณีนี้จะส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบของ verb ซึ่งอาจเปลี่ยนที่รูปแบบของ verb หรือใช้ auxiliary verbs เหล่านี้ช่วย เช่น be, have, can, may, might, shall, will, should, would, could, must, do

 

Verbs เปลี่ยนแปลงไปตามตัวกำหนดดังนี้

 

2.1 Number กำหนดให้ verb นั้นเป็น singular หรือ plural verb ก็จะต้องเปลี่ยนไปตามนั้น

2.2 Person กำหนดให้ verb เปลี่ยนไปตาม person 3 อย่างคือ บุรุษที่ 1 first person (I), บุรุษที่ 2 second person (you) หรือ บุรุษที่ 3 third person (he, it, they)

2.3 Tense กำหนดให้ verb เปลี่ยนแปลงรูปแบบไปตามเวลาที่เกิดเหตุการณ์แล้วแต่จะเป็น past, present หรือ future

2.4 Mood กำหนดให้ verb เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะของประโยค หรือข้อความที่พูดแล้วแต่ว่าจะเป็นบอกเล่า หรือถาม (indicative mood) ออกคำสั่ง หรือขอร้อง (imperative mood) หรือลักษณะประโยคเป็นแบบเงื่อนไข หรือการสมมุติ (subjunctive mood)

2.5 Voice กำหนดให้ verb เปลี่ยนไปตามลักษณะที่ว่า subject เป็นผู้กระทำต่อ verb (active voice) หรือเป็นผู้ถูกกระทำ (passive voice)

The technician completed the video recording yesterday. (active voice)

Fund-raising activities were organized to help the orphans. (passive voice)

 

Verbs เมื่อพิจารณาตามการกระทำว่า Verb นั้นแสดงการกระทำอะไรหรือไม่ หรือเพียงแต่มาเชื่อมกับประธานเฉย ๆ จะแบ่งได้เป็น 3 ชนิด คือ Transitive verb คือ verb ที่ต้องมีกรรมมารับ เช่น eat, Intransitive verb คือ verb ที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น sleep และ Linking verb ซึ่งมาเชื่อมกับ subject เช่น seem, appear, feel

 

 

 

3. Complement

Complement คือ คำหรือกลุ่มคำที่ตามหลังกริยา และทำให้ประโยคมีความหมายสมบูรณ์ complement อาจเป็น

3.1 กรรมตรง (Direct object)

He bought a beautiful present for his wife.

We are trying to find a solution to this problem.

3.2 กรรมรอง (Indirect object)

He gave a beautiful present to his wife.

3.3 Predicate nominative ได้แก่ predicate noun, predicate complement และ subjective complement ซึ่งก็คือ predicate nominative นั่นเอง Predicate nominative จะตามหลัง linking verbs และทำหน้าที่เป็น subject ในชื่อใหม่

คำที่ทำหน้าที่ predicate nominative เป็นได้ทั้ง noun, pronoun, verbal phrase, หรือ clause

หมายเหตุ: คำว่า predicate แปลง่าย ๆ ก็คือ ภาคแสดงนั่นเอง เช่น He is running แยกเป็น

He = subject และ predicate ก็คือ is running

Noun: He is chairman of the Board of Directors.

Pronoun: They thought the winner was he.

Gerund: My favorite exercise is doing aerobics.

Infinitive phrase: The purpose of this seminar is to find new ways and means to deal with our company’s productivity problem.

Noun Clause: The group leader should be whoever is best qualified.

3.4 Predicate adjective คือ adjective ที่เป็นภาค predicate ของประโยคและขยาย noun หรือ pronoun ที่เป็น subject Predicate adjective จะต้องอยู่หลัง linking verb เสมอ

The flower smell sweet.

He seemed depressed after his wife’s death.

He appears enthusiastic about the subject.

 

 

4. Modifiers (adjectives, adverbs)

อาจเป็น single words, phrases หรือ clauses ก็ได้

Modifiers มีหน้าที่อธิบาย หรือช่วยให้ความหมายของคำต่าง ๆ ในประโยคชัดเจนขึ้น และ Modifiers อาจทำให้ความหมายของประโยคกำกวมถ้าวางไม่ถูกตำแหน่ง

4.1 Adjectives คือคำที่ใช้ขยายหรือจำกัดความหมายของ noun หรือ pronoun ให้ชัดเจนขึ้น

The new employee has been assigned the difficult task of analyzing the statistical reports on income tax.

Somchai was very disappointed; he failed completely in that fierce competition.

4.2 Adverbs คือคำที่ใช้ขยาย verbs, verbals, adjectives หรือ adverbs อื่น ๆ หรืออีกนัยหนึ่ง adverbs คือคำที่ตอบคำถามคำที่ขึ้นต้นด้วย where, how, how much, when, why เช่น

We will organize the party here.

She walks very fast.

Spending money unwisely, he ran out of his allowance.

Submit your report as soon as it is completed.

She went downtown to buy a new piece of jewellery.

5. Connectives

      Connectives มีหน้าที่เชื่อมส่วนของประโยค เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างส่วนที่เชื่อมนั้น conjunctions และ prepositions ถือเป็น connectives ที่สำคัญที่สุดลักษณะสำคัญของ connectives มีดังนี้

  5.1 เชื่อมส่วนของประโยค หรือ clause ที่มีฐานะเท่ากัน ได้แก่ coordinate conjunctions, correlative conjunctions, และ conjunctive adverbs. connectives เหล่านี้ปรากฎอยู่ใน compound sentence . Coordinate conjunctions Connectives ประเภทนี้ใช้มากที่สุด จะใช้เชื่อมส่วนของประโยคที่มีฐานะหรือความสำคัญเท่ากันทางไวยากรณ์ คือ words กับ words, phrases กับ phrases, independent clauses กับ independent clauses คำเหล่านี้ที่ใช้มาก ได้แก่ and, but, or, nor, for, yet    เช่น I go to school, but my sister stays at home.  Correlative conjunctions Connectives ประเภทนี้จะเป็นคำคู่ ใช้เชื่อมส่วนของประโยคที่มีฐานะเท่ากันเหมือน coordinate conjunctions แต่คำที่ใช้เป็นคู่นั้นจะต้องตามด้วยคำชนิดเดียวกัน ตัวอย่าง connectives ประเภทนี้ได้แก่ either…or, neither…nor, not only…but also, both…and  เช่น Either he leaves or I will.

Conjunctive adverbs ประเภทนี้ใช้เชื่อม independent clauses ด้วยกันเพื่อแสดงความสัมพันธ์อย่างไรก็ดีถึงแม้ clauses ที่ถูกเชื่อมจะเป็น independent clauses แต่ก็เป็น independent ในเชิงไวยากรณ์เท่านั้น ในแง่ความหมายที่สมบูรณ์จริง ๆ แล้วยังไม่สมบูรณ์ หากยังต้องอาศัย clause ที่มาก่อนจึงจะสมบูรณ์อย่างแท้จริง Conjunctive adverbs ที่ใช้มากคือ therefore, however, consequently, accordingly, subsequently, furthermore, moreover, nevertheless เช่น This task is very difficult; therefore, we need all of us to co-operate.

  5.2 เชื่อมส่วนของประโยคที่มีฐานะไม่เท่ากัน ได้แก่ subordinate conjunctions, relative pronouns, และ relative adverbs. connectives เหล่านี้จะปรากฏอยู่ใน complex sentence Subordinate conjunctions Connectives ประเภทนี้ใช้นำ dependent adverb clauses และเชื่อม independent clauses คำเหล่านี้ที่ใช้มาก ได้แก่ before, since, after, as, because, if, unless, until, although เช่น Although Sompong works very hard, his boss seems to be displeased with his performance.

     5.3 Prepositions  คือคำที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง verbs กับ noun ซึ่งเป็น object ของ preposition นั้น และช่วยทำให้ความหมายของ verbs ที่ถูกเชื่อมเปลี่ยนไปจากเดิมได้ เช่น to, of, by, from, between, in, over, under, for เช่น The cat is under the table.

 

6. Verbals

Verbals เป็นคำที่สร้างจาก verbs แต่ไม่มีฐานะเป็น verbs, verbals มี 3 ชนิดคือ infinitive, participle และ gerund

6.1 Infinitives (to go, to run, to see, etc.)  Infinitives ทำหน้าที่เหมือน noun, adjective หรือ adverb ได้

I like to dance. (noun)

A book to read is what the child wants. (adjective)

They went to play basketball. (adverb)

6.2 Participle  มี 3 ชนิดคือ present participle (reading, printing, feeling, etc.), past participle (written, typed, built, etc.) และ perfect participle (having written, having typed, having built, etc.)

Participle ทำหน้าที่อย่างเดียวคือเป็น adjective เท่านั้น คือขยายคำนามที่เป็นประธานของประโยค

Going to the basement, John slipped. (adjective)

Typed and signed, the letter was mailed today. (adjective)

Having seen the accident, she called the police. (adjective)

6.3 Gerund (swimming, running breaking, etc.)  โดยทั่วไปทำหน้าที่เป็น noun

David enjoys playing games on the internet. (noun) ทำหน้าที่กรรมตามหลังคำกริยา enjoy

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…

[NEW] การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน | imperative คือ – NATAVIGUIDES

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปเรียนรู้เกี่ยวกับ การใช้ประโยคคำสั่ง หรือ Imperative sentence ในชีวิตประจำวัน กันนะคะ
ซึ่งเราจะเจอประโยคเหล่านี้ตั้งแต่ตื่นนอน ทานข้าว เดินไปโรงเรียน ไปดูหนัง ข้ามถนน ข้ามสะพาน ขึ้นแท็กซี่ และในกิจกรรมอื่นๆอีกมากมาย หากว่าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย

รูปแบบและโครงสร้างประโยคคำสั่ง Imperative sentence

 

 

คือประโยคที่เจอบ่อยเมื่อต้องพูด ให้คำคำปรึกษา แนะนำ  ตักเตือน ออกคำสั่ง  ขอร้อง บอกทาง และโดยทั่วไปแล้วจะขึ้นต้นประโยค
ด้วยกริยา (Verb) ในรูป Infinitive หรือ กริยาช่องที่ 1 ไม่ผัน ลงท้ายด้วย full-stop (.) หรือ exclamation mark (!) ขึ้นอยู่กับบริบทของการใช้

 

  • Imperative sentence ในรูปแบบประโยคบอกเล่าจะ ใช้ Verb base form (V.1) ขึ้นต้นประโยคแล้วตามด้วยสิ่งที่จะสั่งให้ทำ หรืออาจใช้ Verb แค่คำเดียวก็ได้ เช่น

Move out! แปลว่า ออกไป
Move on. แปลว่า เดินหน้าต่อไปได้แล้วนะ
Stay strong. แปลว่า เข้มแข็งหน่อยสิ
Go for it. แปลว่า ลุยเลย
Stay focus. แปลว่า มีสมาธิหน่อยสิ

อธิบายเพิ่มเติม: ถ้าต้องการให้ประโยค Imperative สุภาพยิ่งขึ้น ควรเติม ‘do’ ไว้ข้างหน้า ตัวอย่างเช่น

 Do study hard. แปล ต้องขยันเรียนนะ

 Do come. แปล ต้องมานะ

Do go to school.  แปล ต้องไปโรงเรียนนะ

Do have breakfast every morning. แปล ต้องทานอาหารเช้าทุกๆ เช้านะ

Do miss me. แปล คิดถึงฉันด้วยนะ

การใช้ กริยา “Be…” ขึ้นต้นประโยค

 

Be + คำนาม หรือ article + คำนาม

Be a good boy.
จงเป็นเด็กดี

Be a good role model.
จงเป็นตัวอย่างที่ดี

Be brave.
จงกล้าหาญ

Be kind.
จงมีเมตตา

 

Imperative sentence ในรูปแบบประโยคปฏิเสธ

 

Imperative Sentence in negetive sentence

 

หากต้องการทำให้เป็นรูปแบบประโยคปฏิเสธ เพียงแค่วาง do not (don’t) หน้าคำกริยา จะได้โครงสร้าง
Don’t + V. infinitive เช่น

Don’t eat late.
= อย่าทานข้าวเหลด

 

Don’t copy a homework.
= อย่าลอกงานเพื่อน

Don’t go alone.
= อย่าไปคนเดียว

 

เพิ่มเติม: Imperative sentence ที่ขึ้นต้นด้วยกริยา ‘be’ ก็เช่นเดียวกัน เพียงวาง don’t หน้ากริยา be เช่น

Don’t be silly.
= อย่างี่เง่า

Don’t be noisy here.
= อย่าเสียงดังที่นี่

Don’t be grumpy.
= อย่าวีน (อย่าอารมณ์เสียเลย)

 

Imperative sentence ในเชิงขอร้อง

Imperative Sentence_ขอร้อง

เราสามารถใช้ Imperative sentence ในเชิงขอร้องได้ โดยเพียงเติม Please (กรุณา)
เข้าไปวางไว้หน้าหรือท้ายประโยคก็ได้ เพื่อให้ดูสุภาพขึ้น เช่น

  • Please

    give me a chance.
    = กรุณาให้โอกาสฉันด้วย

 

  • Walk faster,

    please.

    = กรุณาเดินเร็วขึ้นด้วย

 

 ประโยคคำสั่ง(แบบชักชวน)

Imperative Sentence

ประโยคคำสั่งที่ใช้ไนความหมายแบบชักชวนนี้ มีอยู่รูปเดียวคือ Let’s (Let us) เป็นการชักชวน แบบเป็นกันเอง เช่น เพื่อนชวนเพื่อนออกไปกินข้าว พี่ชวนน้องไปเที่ยว เป็นต้น โดยที่ผู้ถามอาจจะไม่ต้องการคำตอบแต่เป็นเพียงการชวนไปทำอะไรบางอย่าง อย่างมีจุดมุ่งหมาย จะเรียกว่าสั่งแบบชวนแบบนั้นก็ได้ค่ะ ซึ่ง มีโครงสร้าง ดังนี้นะคะ

 โครงสร้างประโยคคำสั่ง (แบบชักชวน)

 

” Let’s + V. infinitive…”


Ex. Let’s go to school, shall we?
ไปโรงเรียนกันเถอะ ป้ะ 

 

 

ตัวอย่าง

Let’s go to the canteen, shall we?
ไปโรงอาหารกันเถอะ ป้ะ

เพิ่มเติม: บางประโยคอาจจะมีคำว่า Shall we? ต่อท้ายด้วยเพื่อเป็นการชักชวน
แปลว่า ไปกันเถอะ(ป้ะ) เข้ามาด้วย ซึ่งใช้กับเพื่อนหรือการชวนคนสนิท


ประโยคแนะนำที่เจอในชีวิตประจำวัน

 

ประโยคคำแนะนำส่วนใหญ่แล้วจะเจอในรูปแบบของประโยคบอกเล่าซึ่งจะมีความหมายในทางเสนอแนะมากกว่า บางครั้งก็เป็นการให้ความคิดเห็นและแนะว่าควรทำหรือไม่ควรทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งถือเป็นการเสนอแนะโดยตรงมีโครงสร้างดังนี้ค่ะ

ตัวอย่าง

I suggest (that) you should take a bus to school.

ฉันขอเสนอแนะว่า เธอควรขึ้นรถบัสไปโรงเรียน

 

I advise we should go jogging everyday.
ฉันขอแนะนำว่า เราควรไปวิ่งทุกวัน

 

I propose that we should not miss the flight.
ฉันขอเสนอว่า ว่าเราไม่ควรตกเที่ยวบิน

 

I ought to help my mom wash the dishes.
ฉันควรจะ ช่วยคุณแม่ล้างจาน

 

I advise you should water your plants every day.
ฉันแนะนำให้คุณรดน้ำต้นไม้ทุกวัน

 

 

 ประโยคเชิง “ชักชวน ” ในชีวิตประจำวัน

 

ในชีวิตประจำวันของเรานั้น ล้วนจะต้องเจอกลุ่มประโยคคำถามในเชิงชักชวน และการเสนอแนะที่ใช้เป็นรูปแบบคำถามนั้นถือเป็น การเสนอแนะชักชวนทางอ้อม เพื่อแสดงถึงการเกรงใจซึ่งเป็นนิสัยที่คนไทยส่วนใหญ่มีอยู่แล้ว ต้องการคำตอบหรือการตกลงไม่ตกลงจากอีกฝ่ายหนึ่งด้วย ประโยคคำถามที่ใช้มีดังนี้

  • ถามแบบรูปประโยค Yes/No Question :

Shall we…………?

เรา………กันดีมั้ย

  • ถามแบบรูปประโยค Wh- Questions :

Why don’t we………..?

เรา .. … กันมั้ย

How about……….?

…………….ดีมั้ย

  • ถามแบบรูปประโยค  Indirect Questions :

I wonder if we
ฉันไม่ทราบว่า เรา………….มั้ย

ตัวอย่าง:

Shall we read books at the library?

เราไปอ่านหนังสือที่ห้องสมุดกันเถอะ

Why don’t we walk to school?

ทำไมเราไม่เดินไปโรงเรียนกันนะ (หรือ เดินไปโรงเรียนกันดีกว่า)

How about playing a football after school?

เย็นนี้ เล่นฟุตบอลกันเถอะ

I wondered if we should sit with them?

ฉันว่าเราควรไปนั่งกับพวกเขากันเถอะ

Shall we book a movie ticket?

เราจองตั๋วหนังกันดีมั้ย

Shall we go to the wedding?
เราควรไปงานแต่งกันมั้ย

I wondered if we can wear a mask during Covid-19 everyday?
ฉันว่าเราควรใส่หน้ากากทุกวันในช่วงโควิดนี้

How about eating out today?
วันนี้ไปกินข้าวนอกบ้านกันดีกว่า

 

การตอบรับ (Accepting)

 

Yes! ได้เลย
Of course. แน่นอน
That’s a good/ great idea/ What a good idea.
เป็นความคิดที่ดีมากๆ

That’s interesting.
น่าสนใจดี

Yes/ Of course/ Certainly/Absolutely/ Surely
ไปแน่นอน

 การตอบปฏิเสธ (Refusing)

 

Sorry, I can’t go.
ขอโทษด้วยนะ ฉันไปไม่ได้

Sorry, I already had a plan.
ขอโทษนะพอดีว่ามีแผนแล้ว

I’m afraid I won’t be able to come.
ดิฉันเกรงว่าคงจะไปไม่ได้นะคะ

Sorry, I’d love to but I already had an appointment.
ขอโทษที ฉันก็อยากไปนะ แต่บังเอิญว่าดันฉันมีนัดแล้วอะ

 I really don’t think I can go, and I must say sorry.
ฉันคิดว่าฉันคงจะไปไม่ได้จริงๆค่ะ ต้องขอโทษนะคะ

 

ครูหวังเป็นอย่างยิ่งว่านักเรียนที่น่ารักทุกคนจะได้รับประโยชน์และความรู้จากการอ่านบทความนี้นะคะ ขอให้สนุกและมีความสุขกับการเรียนนะคะทุกคน
เลิฟๆ

 

+1


คำสั่งภาษาอังกฤษง่ายนิดเดียว / Imperative Sentences


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

คำสั่งภาษาอังกฤษง่ายนิดเดียว / Imperative Sentences

Classroom Commands, English for Children Good TPR Lesson


http://www.freddiesville.com/videos/classroomcommandssitdownstandup/
Classroom Commands: Sit down/Stand up
• Topic: Classroom Commands sit down, stand up
• Communication Objectives: To learn to understand and respond to classroom commands.
• Language Objectives: To learn to give and follow orders using short phrases in the imperative form.
• Vocabulary: commands sit, stand, hands, clap, stamp, feet, up, down
• Sentence Structures:
o Sit down. Stand up. Clap your hands. Turn around.
• Grammar: This lesson will focus on using imperative sentences for giving direct orders and requests. They can end in a full stop (period) or exclamation mark depending on the intensity of the command.
• Stand up.
• Sit down.

Classroom Commands, English for Children Good TPR Lesson

imperatives


Educational video for beginnerlevel ESL learners explaining the imperative forms. Created using PowToon Free sign up at http://www.powtoon.com/youtube/ Create animated videos and animated presentations for free. PowToon is a free tool that allows you to develop cool animated clips and animated presentations for your website, office meeting, sales pitch, nonprofit fundraiser, product launch, video resume, or anything else you could use an animated explainer video. PowToon’s animation templates help you create animated presentations and animated explainer videos from scratch. Anyone can produce awesome animations quickly with PowToon, without the cost or hassle other professional animation services require.

imperatives

Imperative Sentence คืออะไร ใช้เมื่อไหร่


Imperative Sentence เป็นประโยคสั้นๆ
ที่ขึ้นต้นด้วยกริยา (Verb) ในรูป Infinitive มาขึ้นต้นประโยค
เพื่อใช้เป็นประโยคแสดงการออกคำสั่ง
สื่อการเรียนวิชาภาษาอังกฤษระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Imperative Sentence คืออะไร ใช้เมื่อไหร่

IMPERATIVES – How to give commands in English


Imperative verbs are used for giving orders, but they can sound rude and offend others if you are not careful. This lesson is designed to teach you how to get what you want using imperative verbs while being polite. After watching this video, please practice by doing our quiz. Expect great results with little effort in this essential English lesson. Take the quiz here: http://www.engvid.com/howtogivecommandsinenglish/
TRANSCRIPT
Straighten that spine! Stand up straight! Imperatives. Welcome. James, from EngVid. If I seem crazy, I was giving orders, sir! Okay? An \”imperative\” is a command. I mean, we have statements in English. We have questions. You know, we’ve done lessons on those. An imperative is usually a command. I’m going to give you a quick primer, or quick lesson, on imperatives. Nothing special. And then, I want to do something a little different. I want to show you how to modify it. So let’s look at imperatives.
What is an imperative? As I said, it’s a command. You tell somebody to do something. You do not ask. You just tell them and expect it to be done. \”Shut up. Sit down. Get out.\” That’s it.
Next, how do we make an imperative? Well, when I said, \”Shut up. Sit down. Get out\”, you notice the verb is in the infinitive form minus \”to\”. There is no \”to\”. \”I have to\”, \”got to\” nothing. Just the verb or you could say \”base form\”. Right? No particle \”to\”.
Next, an imperative, when given, it’s in the second person. I know not everybody understands the second and third person, so I’ll be quick, but hopefully easy. I’ll make it easy for you. First person is \”I\”. I am the first person. You speak about yourself. The third person is when you talk about groups and others. Right? \”They\” or \”them\” or \”we\”. The second person is a strange one. It’s \”you\”. Well, sometimes, you want to say to someone, like, \”You can do this. You can do that.\” That’s the second person because I’m speaking to someone directly, and that’s you, you the audience. \”You\” can be either singular or plural. When we talk about imperatives, we’re talking about \”you\”. \”Sit down. You sit down.\” We just don’t say it. Right? So when somebody tells you to sit down, really, they’re saying, \”You sit down.\” They just don’t say it. It’s understood. And a command is direct. You cannot interpret which means trying to translate or figure it out you’re just supposed to do it. Right? \”Drive slower.\” Don’t try to translate. Just do it. Right?
Now, also, one other small thing. Usually, imperatives are not given with modals. There’s a small exception. It doesn’t happen often, but sometimes, we use \”be able to\”. But when we use \”be able to\”, it’s very specific. Here we go. Okay? Your instructor or coach at the gym might say to you, right, \”You need to be able to do 100 pushups tomorrow.\” \”Be able to\”. It’s an order. It’s not asking you. It’s not \”can you do them?\” It’s, \”Be able to read this or recite this tomorrow.\” You must do it. It’s an order. It’s the only exception, really, with modals. Otherwise, we don’t. And this is rarely used. But I know there are some of you out there who will go, \”I heard\” and I’m telling you. So got you. All right? This is the rare exception. Otherwise, modals aren’t used with imperatives.
That’s a quick imperative lesson. So we use imperatives all the time. But if you use them and I see students doing it regularly you offend people because they are strong. They can be rude. I know in many of your cultures, you have a language for politeness. In English, we don’t necessarily, but we can modify the imperative to make it more polite. I’m going to show you today a few ways to do that. All right? So let’s go to the board.
Private E, stand down. All right? Let’s start off with \”please\”, \”please and thank you\”. You hear this all the time. \”Please, please, please, thank you, thank you.\” You know this is polite. Well, how do we use \”please\” with an imperative, right, to make it soft? Well, one of the first things I want to tell you is when we use the imperative like \”sit down\”, \”sit down\” is an order. It’s not nice. \”Sit down!\” Right? \”Behave!\” But if I say, \”Please sit down\”, I’m offering it to you. I’m still telling you what to do, but I’m being polite. So when we really want to be polite but still followed right? You still want to do it you put \”please\” at the beginning of the sentence. \”Please sit down. Please introduce yourself.\” If you drop the \”please\”, listen to what I’m saying. \”Please sit down.\” \”Sit down.\” \”Please introduce yourself.\” \”Introduce yourself.\” I’m still saying you must do this, but what I’m actually doing is being polite by saying \”please\” first.

IMPERATIVES – How to give commands in English

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ imperative คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *