Skip to content
Home » [Update] กรมสรรพากร – The Revenue Department (rd.go.th) | ภาษี การ ค้า คือ – NATAVIGUIDES

[Update] กรมสรรพากร – The Revenue Department (rd.go.th) | ภาษี การ ค้า คือ – NATAVIGUIDES

ภาษี การ ค้า คือ: คุณกำลังดูกระทู้

Table of Contents

ผู้ประกอบการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

หมายถึง ผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการโดยผ่านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

วัตถุประสงค์การทำเว็บไซต์ ของผู้ประกอบการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

            การใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการทำการค้านั้น ถือว่าเป็นวิธีที่ได้ผลอย่างคุ้มค่ามาก ทั้งนี้เพราะ อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เข้าถึงคู่ค้าได้ผลอย่างคุ้มค่ามาก ทำให้การนำเสนอขายสินค้าเป็นไป อย่างง่ายได้ รวมทั้งประหยัดต้นทุน ในการสื่อสารด้วย การดำเนินการดังกล่าว ผู้ทำการค้าสามารถทำได้หลายวิธี โดยแต่ละวิธีก็มีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป ดังนี้

                  1. สร้างเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร เป็นการประชาสัมพันธ์หรือประกาศให้บุคคลทั่วไปทราบว่าบริษัท ทำอะไร ขายอะไรในภาพรวม
                      แต่ไม่ลงลึกในรายละเอียดทั้งหมด ใครอยากได้ข้อมูลก็ให้ติดต่อมาอีกครั้งหนึ่ง

                  2. สร้างเว็บไซต์เพื่อแสดงสินค้าในรูปแบบต่างๆ เช่น
                       – สร้างเว็บไซต์เพื่อทดแทนแคตตาล็อค เป็นการลงลึกในการให้รายละเอียดเช่นเดียวกับ การจัดพิมพ์แคตตาล็อค เป็นวิธีที่ประหยัด
                         เพราะการสร้างเว็บเพจ ลงทุนน้อยกว่าการพิมพ์ และการจัดส่งแคตตาล็อค ก็สามารถทำได้ทั่วโลก
                      – สร้างเว็บไซต์เพื่อเป็นโชว์รูม เป็นการโชว์สินค้าหลักและสินค้าใหม่บางส่วน ไม่ต้องการแสดงสินค้าทุกรายการทั้งนี้เพื่อเป็นการดึงดูดใจลูกค้าในเบื้องต้น
                      – สร้างเว็บไซต์เพื่อใช้เป็นงานแสดงสินค้า เป็นการรวบรวมเว็บไซต์ หรือสินค้าประเภทเดียวกันมาจัดแสดงไว้ในเว็บไซต์เดียวกัน เพื่อวัตถุประสงค์ ทางการสนับสนุน
                        การขายหรือให้บริการ เช่น การรวบรวมเว็บไซต์ที่ขาย สินค้าโอทอป หรือรวบรวมรายชื่อโรงแรม ในประเทศไทยไว้ในเว็บไซต์เดียวกัน

                  3. สร้างเว็บไซต์เพื่อการค้า e-Commerce เป็นเว็บไซต์ที่แสดงในส่วนของแคตตาล็อค หรือรายการสินค้าไว้พร้อมกับระบบที่สามารถสั่งซื้อสินค้าได้โดยตรง

                  4. สร้างเว็บไซต์เพื่อเป็น e-Marketplace / e-Marketexchange เป็นเว็บไซต์ศูนย์กลางการซื้อ-ขาย หรือนำเข้า-ส่งออก มาเจอกัน และมีสิ่งอำนวยความสะดวกไว้คอย ให้บริการ
                      เช่นระบบการจ่ายเงิน ระบบการขนส่งสินค้า

                  5. สร้างเว็บไซต์เป็นเครือข่ายการจำหน่ายของตนเอง เป็นเว็บไซต์ที่ให้เฉพาะผู้จำหน่ายที่เป็นตัวแทนในเครือข่ายของตนเองเข้ามาใช้งาน เพื่อการเลือกซื้อสินค้า เสนอสินค้าใหม่

                  6. สร้างเว็บไซต์ เพื่อเป็นช่องทางการขาย เป็นการสร้างเว็บไซต์เพื่อเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการขาย

 

ประเภทของการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

                  ในการทำการค้าต้องประกอบด้วยอย่างน้อย 2 ฝ่ายคือผู้ซื้อและผู้ขาย ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายมีหลายรูปแบบทำให้เราสามารถจัดประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิคส์ ออกเป็นประเภทหลักๆ ดังนี้

                  1. B2C (Business to Customer) คือ การค้าระหว่างผู้ค้าโดยตรงถึงลูกค้าหรือผู้บริโภค เช่น เว็บไซต์ขายหนังสือออนไลน์ เน้นการขายหนังสือออนไลน์ หรือสื่อมัลติมีเดียทางการศึกษา โดยมีกลุ่มลูกค้าเป็นเด็ก นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป โดยการสั่งซื้อสินค้าจะทำผ่านระบบตะกร้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ การชำระเงิน มีทางเลือกให้ลูกค้าเช่น โอนผ่านธนาคาร บัตรเครดิต ไปรษณีย์ธนาณัติ ในส่วนของการจัดส่งผ่านทางไปรษณีย์ หรือสามารถส่งแบบ Delivery ได้ด้วย เช่นร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์ ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น

                  2. B2B (Business to Business) คือ การค้าระหว่างผู้ค้ากับหน่วยธุรกิจเช่นกัน แต่เป็นผู้ประกอบการ ครอบคลุมถึงการขายส่ง การทำการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain Management) หรือเว็บไซต์ที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ที่ต้องการซื้อสินค้า/ บริการ กับผู้ให้บริการธุรกิจ รถเช่า ดำน้ำ สปาร์ กอล์ฟ สวนสนุก เป็นต้น

                  3. C2C (Customer to Customer) เป็นการติดต่อระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค เช่น การติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารในกลุ่มคนที่มีการบริโภค หรือบุคคลทั่วไปอาจจะทำการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง ขายของมือสอง โดยสินค้าที่นำมาเสนอขายได้นั้นครอบคลุมตั้งแต่บ้านราคาหลายสิบล้านไปจนถึงหนังสือราคาไม่กี่บาท เป็นต้น

                  4. B2G (Business to Government) คือ การประกอบธุรกิจระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใช้กันมาก คือ การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เรียกว่า e-Government Prcurement ในประเทศที่มีความก้าวหน้าทางด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่รัฐบาลทำการซื้อหรือจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น การประกาศจัดจ้างของภาครัฐ หรือการใช้ระบบ EDI ในพิธีการศุลกากรของกรมศุลกากร เป็นต้น

                  5. G2C (Government to Customer) การบริการของภาครัฐสู่ประชาชนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิคส์ เช่นการเสียภาษีผ่านอินเตอร์เน็ต การให้บริการบริการข้อมูลสู่ประชาชนผ่านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น

[Update] กรมสรรพากร – The Revenue Department (rd.go.th) | ภาษี การ ค้า คือ – NATAVIGUIDES

ผู้ประกอบการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

หมายถึง ผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการโดยผ่านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

วัตถุประสงค์การทำเว็บไซต์ ของผู้ประกอบการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

            การใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อการทำการค้านั้น ถือว่าเป็นวิธีที่ได้ผลอย่างคุ้มค่ามาก ทั้งนี้เพราะ อินเตอร์เน็ตเป็นสื่อที่เข้าถึงคู่ค้าได้ผลอย่างคุ้มค่ามาก ทำให้การนำเสนอขายสินค้าเป็นไป อย่างง่ายได้ รวมทั้งประหยัดต้นทุน ในการสื่อสารด้วย การดำเนินการดังกล่าว ผู้ทำการค้าสามารถทำได้หลายวิธี โดยแต่ละวิธีก็มีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันไป ดังนี้

                  1. สร้างเว็บไซต์เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร เป็นการประชาสัมพันธ์หรือประกาศให้บุคคลทั่วไปทราบว่าบริษัท ทำอะไร ขายอะไรในภาพรวม
                      แต่ไม่ลงลึกในรายละเอียดทั้งหมด ใครอยากได้ข้อมูลก็ให้ติดต่อมาอีกครั้งหนึ่ง

                  2. สร้างเว็บไซต์เพื่อแสดงสินค้าในรูปแบบต่างๆ เช่น
                       – สร้างเว็บไซต์เพื่อทดแทนแคตตาล็อค เป็นการลงลึกในการให้รายละเอียดเช่นเดียวกับ การจัดพิมพ์แคตตาล็อค เป็นวิธีที่ประหยัด
                         เพราะการสร้างเว็บเพจ ลงทุนน้อยกว่าการพิมพ์ และการจัดส่งแคตตาล็อค ก็สามารถทำได้ทั่วโลก
                      – สร้างเว็บไซต์เพื่อเป็นโชว์รูม เป็นการโชว์สินค้าหลักและสินค้าใหม่บางส่วน ไม่ต้องการแสดงสินค้าทุกรายการทั้งนี้เพื่อเป็นการดึงดูดใจลูกค้าในเบื้องต้น
                      – สร้างเว็บไซต์เพื่อใช้เป็นงานแสดงสินค้า เป็นการรวบรวมเว็บไซต์ หรือสินค้าประเภทเดียวกันมาจัดแสดงไว้ในเว็บไซต์เดียวกัน เพื่อวัตถุประสงค์ ทางการสนับสนุน
                        การขายหรือให้บริการ เช่น การรวบรวมเว็บไซต์ที่ขาย สินค้าโอทอป หรือรวบรวมรายชื่อโรงแรม ในประเทศไทยไว้ในเว็บไซต์เดียวกัน

                  3. สร้างเว็บไซต์เพื่อการค้า e-Commerce เป็นเว็บไซต์ที่แสดงในส่วนของแคตตาล็อค หรือรายการสินค้าไว้พร้อมกับระบบที่สามารถสั่งซื้อสินค้าได้โดยตรง

                  4. สร้างเว็บไซต์เพื่อเป็น e-Marketplace / e-Marketexchange เป็นเว็บไซต์ศูนย์กลางการซื้อ-ขาย หรือนำเข้า-ส่งออก มาเจอกัน และมีสิ่งอำนวยความสะดวกไว้คอย ให้บริการ
                      เช่นระบบการจ่ายเงิน ระบบการขนส่งสินค้า

                  5. สร้างเว็บไซต์เป็นเครือข่ายการจำหน่ายของตนเอง เป็นเว็บไซต์ที่ให้เฉพาะผู้จำหน่ายที่เป็นตัวแทนในเครือข่ายของตนเองเข้ามาใช้งาน เพื่อการเลือกซื้อสินค้า เสนอสินค้าใหม่

                  6. สร้างเว็บไซต์ เพื่อเป็นช่องทางการขาย เป็นการสร้างเว็บไซต์เพื่อเป็นเครื่องมือในการส่งเสริมการขาย

 

ประเภทของการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

                  ในการทำการค้าต้องประกอบด้วยอย่างน้อย 2 ฝ่ายคือผู้ซื้อและผู้ขาย ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายมีหลายรูปแบบทำให้เราสามารถจัดประเภทของพาณิชย์อิเล็กทรอนิคส์ ออกเป็นประเภทหลักๆ ดังนี้

                  1. B2C (Business to Customer) คือ การค้าระหว่างผู้ค้าโดยตรงถึงลูกค้าหรือผู้บริโภค เช่น เว็บไซต์ขายหนังสือออนไลน์ เน้นการขายหนังสือออนไลน์ หรือสื่อมัลติมีเดียทางการศึกษา โดยมีกลุ่มลูกค้าเป็นเด็ก นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไป โดยการสั่งซื้อสินค้าจะทำผ่านระบบตะกร้าสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ การชำระเงิน มีทางเลือกให้ลูกค้าเช่น โอนผ่านธนาคาร บัตรเครดิต ไปรษณีย์ธนาณัติ ในส่วนของการจัดส่งผ่านทางไปรษณีย์ หรือสามารถส่งแบบ Delivery ได้ด้วย เช่นร้านค้าอิเล็กทรอนิกส์ ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ การขายอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น

                  2. B2B (Business to Business) คือ การค้าระหว่างผู้ค้ากับหน่วยธุรกิจเช่นกัน แต่เป็นผู้ประกอบการ ครอบคลุมถึงการขายส่ง การทำการสั่งซื้อสินค้าผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ ระบบห่วงโซ่การผลิต (Supply Chain Management) หรือเว็บไซต์ที่เป็นตัวกลางระหว่างผู้ที่ต้องการซื้อสินค้า/ บริการ กับผู้ให้บริการธุรกิจ รถเช่า ดำน้ำ สปาร์ กอล์ฟ สวนสนุก เป็นต้น

                  3. C2C (Customer to Customer) เป็นการติดต่อระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค เช่น การติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสารในกลุ่มคนที่มีการบริโภค หรือบุคคลทั่วไปอาจจะทำการแลกเปลี่ยนสินค้ากันเอง ขายของมือสอง โดยสินค้าที่นำมาเสนอขายได้นั้นครอบคลุมตั้งแต่บ้านราคาหลายสิบล้านไปจนถึงหนังสือราคาไม่กี่บาท เป็นต้น

                  4. B2G (Business to Government) คือ การประกอบธุรกิจระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐ ที่ใช้กันมาก คือ การจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐที่เรียกว่า e-Government Prcurement ในประเทศที่มีความก้าวหน้าทางด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่รัฐบาลทำการซื้อหรือจัดซื้อจัดจ้างผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น การประกาศจัดจ้างของภาครัฐ หรือการใช้ระบบ EDI ในพิธีการศุลกากรของกรมศุลกากร เป็นต้น

                  5. G2C (Government to Customer) การบริการของภาครัฐสู่ประชาชนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิคส์ เช่นการเสียภาษีผ่านอินเตอร์เน็ต การให้บริการบริการข้อมูลสู่ประชาชนผ่านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น


ร้านค้า บุคคลธรรมดา ยอดขายเท่าไหร่เริ่มเสียภาษี


ยอดขายเท่าไหร่เริ่มเสียภาษี

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ร้านค้า บุคคลธรรมดา ยอดขายเท่าไหร่เริ่มเสียภาษี

ยื่นภาษีออนไลน์ปี 2563 : Ep.6 : #ขายของออนไลน์ วางแผนยื่นและเสียภาษีอย่างไรให้ถูกต้อง ?


พบกับตอนที่ 6 ของคลิปสอนยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาผ่านอินเตอร์เน็ตสำหรับปีภาษี 2563 โดยพรี่หนอม @TAXBugnoms เจ้าเก่าเจ้าเดิม เพิ่มเติมคือทำคลิปยื่นภาษีสอนทุกปีครับ

คลิปนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องภาษีสำหรับ คนขายของออนไลน์กันบ้างว่า ภาษีสำหรับคนขายของออนไลน์ หรือ คนที่ทำธุรกิจนั้น มันคำนวณกันแบบไหน มีวิธียังไง มีอะไรต้องระวังสรรพากรบ้าง รวมถึงการยื่นภาษีแต่ละขั้นตอนสำหรับการขายของออนไลน์ ไปจนถึงหลักการและแนวคิดที่ถูกต้องในการคำนวณภาษีสำหรับคนขายของออนไลน์ทุกคนครับ

ยื่นภาษี ยื่นภาษีออนไลน์ ยื่นภาษีปี2563 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สรรพากร ความรูู้ภาษีขั้นพื้นฐาน TAXBugnoms วิธียื่นภาษีออนไลน์ ยื่นภาษีผ่านอินเตอร์เน็ต ภาษีเงินได้ ภาษี ขายของออนไลน์ ภาษีขายของออนไลน์ ธนาคารส่งข้อมูลให้สรรพากร ภาษีอีคอมเมอซ ภาษีธุรกิจ แม่ค้าออนไลน์ พ่อค้าออนไลน์

กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ

ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms​
Twitter : https://twitter.com/
TAXBugnoms​Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/​
Website : https://taxbugnoms.co/​
Tiktok : https://www.tiktok.com/@taxbugnoms

ยื่นภาษีออนไลน์ปี 2563 : Ep.6 : #ขายของออนไลน์ วางแผนยื่นและเสียภาษีอย่างไรให้ถูกต้อง ?

#ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?


เคยไหม? เวลาไปซื้อของแล้วเค้าบอกว่าของชิ้นเดียวกันมีราคาต่างกัน ถ้าเอา VAT ต้องบวกเพิ่มราคาอีก 7% แต่ถ้าไม่บวก VAT ขายได้ทันทีในราคานี้จ้า อ๊ะ นี่มันคืออะไร ทำไมถึงเกิดเรื่องแบบนี้ได้!!
ก่อนที่จะเล่าว่าทำไมถึงเป็นแบบนั้น ขออธิบายหลักการของภาษีมูลค่าเพิ่มให้ฟังกันก่อน พูดให้ง่ายที่สุด ภาษีมูลค่าเพิ่มคือภาษีที่เรียกเก็บจากผู้ขายสินค้าหรือให้บริการ แต่ผลักภาระให้ผู้บริโภคเป็นคนจ่ายนั่นเอง
ชักจะงงกันไปใหญ่ เอาว่าไม่เป็นไร มาดูตัวอย่างกันดีกว่า สมมติว่า กิจการนี้มีการซื้อสินค้ามาใน 100 บาท แล้วเอามาขายในราคา 200 บาท
ถ้าหากไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
จะเห็นว่ากำไรเท่ากับ 200 100 = 100 บาท
แต่ถ้าหากกิจการตามตัวอย่างมีการจดทะเบียน VAT หรือเรียกภาษากฎหมายว่าเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายสินค้าในราคา 200 บาทจะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มไปอีก 7% หรือ 14 บาท รวมเป็น 214 บาท
และถ้าหากกิจการเดียวกันนี้ไปซื้อของจากธุรกิจที่จดทะเบียน VAT เหมือนกัน ของในราคา 100 บาทนั้น ก็จะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มอีก 7% หรือ 7 บาท รวมเป็น 107 บาท
ทีนี้ เมื่อมีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
กำไรของกิจการก็จะไม่เปลี่ยนหรอกนะ
มันยังเท่าเดิม คือ 100 บาทนั่นแหละ (อ้าว)
แต่สิ่งที่เปลี่ยนคือ
เงิน 14 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีขาย
ส่วน 7 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีซื้อ
โดยในทุกครั้งที่ขายสินค้าให้บริการ (เป็นคนขาย)
จะต้องออกใบกำกับภาษีให้ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด
รายละเอียดเพิ่มเติมรับชมได้ในคลิปนี้เลยจ้า
ภาษี10นาที ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT วางแผนภาษี ลดหย่อนภาษี ภาษีซื้อ ภาษีขาย ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษี คำนวณภาษี ความรู้ภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

#ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?

(คลิปเต็ม) ห่วงหนี้ครัวเรือน สูงถึงร้อยละ 90 !! | ฟังหูไว้หู (15 พ.ย. 64)


ฟังหูไว้หู | 15 พ.ย. 64 On Air
สภาพัฒน์เผย เศรษฐกิจไทยไตรมาส 3/64 หดตัว0.3%, สภาพัฒน์ห่วงหนี้ครัวเรือน กำชับ ธปท.แก้ปัญหาทั้งระบบ, ฟื้นไม่ฟื้น \”ช้อปดีมีคืน\”, \”อาคม\”ชี้ โควิดทำรายได้ท่องเที่ยวหาย 2 ล้านล้าน
ฟังหูไว้หู ทุกวันจันทร์ศุกร์ เวลา 21.00 น.
ทางช่อง 9 MCOT HD หมายเลข 30

(คลิปเต็ม) ห่วงหนี้ครัวเรือน สูงถึงร้อยละ 90 !! | ฟังหูไว้หู (15 พ.ย. 64)

รู้ภาษีใน 1 นาที : ภาษีซื้อคืออะไร เกี่ยวอะไรกับภาษีมูลค่าเพิ่มไหม ?


ภาษีซื้อ คืออะไร เกี่ยวข้องยังไงกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ลองฟังคลิปนี้กับรู้ภาษีใน1นาทีกันดูครับผม

รู้ภาษีใน 1 นาที :  ภาษีซื้อคืออะไร เกี่ยวอะไรกับภาษีมูลค่าเพิ่มไหม ?

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ภาษี การ ค้า คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *