Skip to content
Home » [Update] สรรพากร แจงปมเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม e – service หลังกม.มีผลบังคับใช้ 1 ก.ย. 64 | รายงาน เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

[Update] สรรพากร แจงปมเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม e – service หลังกม.มีผลบังคับใช้ 1 ก.ย. 64 | รายงาน เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

รายงาน เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม: คุณกำลังดูกระทู้

ครม.เห็นชอบ ร่างกฎหมายเก็บภาษีแพลตฟอร์มดิจิทัลจากต่างประเทศ (อี-เซอร์วิส)

ไม่จริง!! อย่าหลงเชื่อข่าว รัฐบาลขึ้นแวต 9%

วันนี้ 12 ก.พ. 2564 กรมสรรพากร ได้ชี้แจงรายละเอียด พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 53) พ.ศ.2564 การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ (e-Service) เริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ก.ย.2564 เป็นต้นไป

1. ความเป็นมา

เทคโนโลยีในยุคดิจิทัลได้ส่งผลให้รูปแบบการให้บริการเปลี่ยนแปลงไป ผู้ประกอบการที่อยู่ในต่างประเทศสามารถให้บริการแก่บุคคลต่าง ๆ ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมทั้งมีแพลตฟอร์มซึ่งทำหน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการจำนวนมาก ทำให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงบริการอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เกม เพลง ภาพยนตร์ จากผู้ประกอบการที่อยู่ในต่างประเทศได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว   

ในปี 2563 ประเทศไทยมีจำนวนประชากรกว่า 69 ล้านคน และมีอัตราการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตสูงถึง 75 % และจากผลสำรวจของ Globalwebindex พบว่าประชากรไทยอายุระหว่าง 16-64 ปี มากกว่า 50% ดูวิดีโอ ฟังเพลง และฟังวิทยุออนไลน์ ส่งผลให้มีการใช้บริการออนไลน์เติบโตอย่างต่อเนื่อง เช่น การซื้อขายเพลงออนไลน์เติบโต 9% การซื้อขายวีดีโอเกมเติบโต 7.8% และการโฆษณาออนไลน์เติบโต 16% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา

2. ปัญหาสะสมก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม

ที่ผ่านมาผู้ประกอบการในประเทศที่ให้บริการ e – Service ต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ยื่นแบบ และชำระภาษีมูลค่าเพิ่มมาโดยตลอด ในขณะที่ผู้ประกอบการต่างประเทศ หรืออิเล็กทรอนิกส์แพลตฟอร์มต่างประเทศที่ให้บริการ e-Service  ในประเทศไทย ไม่ต้องดำเนินการดังกล่าว เนื่องจากกฎหมายเดิมไม่ได้ครอบคลุมถึง ส่งผลให้เกิดความไม่เป็นธรรมในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เกิดความได้เปรียบ เสียเปรียบในการดำเนินธุรกิจ ระหว่างผู้ประกอบการไทยกับผู้ประกอบการต่างประเทศ ซึ่งหลายประเทศที่ใช้ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มต่างก็เผชิญปัญหาดังกล่าวเช่นเดียวกัน

3. ทางออกที่เป็นมาตรฐานสากล

นานาประเทศจึงได้ร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหา โดยดำเนินการตามคำแนะนำของ OECD      ที่กำหนดให้ผู้ประกอบการต่างประเทศหรืออิเล็กทรอนิกส์แพลตฟอร์มต่างประเทศ จดทะเบียนและนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มให้แก่หน่วยงานจัดเก็บภาษี  ซึ่งประเทศที่จัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มส่วนใหญ่ (มากกว่า 60 ประเทศ)  ได้ออกหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายภาษีมูลค่าเพิ่ม ตามคำแนะนำดังกล่าว เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ไต้หวัน สิงคโปร์ มาเลเซีย เป็นต้น

4. ธุรกิจประเภทใดบ้าง ที่ต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับนี้

ผู้ประกอบการที่ให้บริการ e-Service จากต่างประเทศ ได้แก่ การให้บริการดาวน์โหลด หนัง/ภาพยนตร์  เพลง เกม สติกเกอร์ นายหน้า สื่อโฆษณา เป็นต้น แพลตฟอร์มต่างประเทศที่ให้บริการในประเทศไทย เช่น Apple Google Facebook Netflix Line Youtube Tiktok และมีรายได้จากการให้บริการเกิน 1.8 ล้านบาทต่อปี

5. กรมสรรพากรได้ดำเนินการและเตรียมอย่างไรบ้าง

 5.1 ด้านกฎหมาย

กรมสรรพากรได้ดำเนินการแก้ไขประมวลรัษฎากรตามแนวทางของ OECD โดยเสนอร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณี การให้บริการ ทางอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ (e-Service)) โดยกำหนดให้

ผู้ให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์จากต่างประเทศ รวมทั้งอิเล็กทรอนิกส์แพลตฟอร์ม ที่มีรายได้เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี จากการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์แก่ผู้ใช้บริการในประเทศไทยซึ่งไม่ใช่ผู้ประกอบการจดทะเบียน ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ยื่นแบบแสดงรายการ และนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นรายเดือนให้แก่กรมสรรพากร ภายใต้ระบบ pay-only (ห้ามหักภาษีซื้อ) โดยไม่ต้องจัดทำใบกำกับภาษีและรายงานภาษีซื้อ

ขณะนี้กฎหมายได้ผ่านการพิจารณาของรัฐสภาแล้วและประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา จะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2564 เป็นต้นไป

5.2 ด้านระบบอำนวยความสะดวกและการให้บริการ

กรมสรรพากรได้พัฒนาระบบ Simplified VAT System for e-Service (SVE) เป็นระบบการจดทะเบียน การยื่นแบบฯ และการชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่มีความง่าย ทันสมัย และไม่แตกต่างจาก best practice ในต่างประเทศ ซึ่งผู้ประกอบการได้ปฏิบัติตามอยู่แล้ว ช่วยให้ผู้ประกอบการใช้บริการได้อย่างสะดวก รวดเร็ว   ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ บนเว็บไซต์ของกรมสรรพากร www.rd.go.th และเน้นการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการได้รับความรู้ความเข้าใจ และสามารถดำเนินการได้ถูกต้อง

6. การตรวจสอบและการบังคับใช้กฎหมาย ทำได้หรือไม่ อย่างไร

6.1 สามารถใช้กลไกการตรวจสอบโดยการเชิญพบ หรือออกหมายไปยังผู้ประกอบการเพื่อตรวจสอบและประเมินเรียกเก็บภาษี

6.2 การออกหมายเรียกพยานผู้เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันการเงินต่าง ๆ เพื่อขอข้อมูลการทำธุรกรรมผ่านสถาบันการเงิน มาใช้ประกอบการตรวจสอบและประเมินเรียกเก็บภาษี

6.3 การแสดงรายชื่อของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ผ่านเว็บไซต์ของกรมสรรพากร ทำให้ผู้ใช้บริการหรือผู้ประกอบการต่างประเทศตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ ซึ่งเป็นวิธีที่นานาประเทศใช้ ซึ่งจะก่อให้เกิดมาตรการลงโทษทางสังคม (Social Sanction) แก่ผู้ประกอบการที่ไม่ยอมจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

7. จากมุมมองของผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง

ที่ผ่านมากรมสรรพากรได้หารือกับผู้ประกอบการต่างประเทศและหน่วยงานจัดเก็บภาษีในหลายประเทศ ที่มีการใช้กฎหมายเช่นเดียวกันนี้ พบว่า

7.1 ผู้ประกอบการต่างประเทศส่วนใหญ่ มีความเข้าใจในหลักการของกฎหมายและได้ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของต่างประเทศ ที่มีหลักการเดียวกันกับร่างกฎหมายนี้อยู่แล้ว

7.2 จากข้อมูลของหน่วยงานจัดเก็บภาษีในต่างประเทศพบว่า ผู้ประกอบการต่างประเทศให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ทางภาษีเป็นอย่างดี

8. ความร่วมมือก่อเกิดพลังเสริมเพิ่มประสิทธิภาพ

กฎหมายฉบับนี้เพียงอย่างเดียว อาจไม่เพียงพอที่จะทำให้การจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพ ทั้งระบบ จำเป็นต้องอาศัย

8.1 ความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางภาษีระหว่างประเทศ เช่น การเข้าเป็นภาคีความ ตกลง Multilateral Convention on Mutual Administrative Assistance in Tax Matters (MAC) ที่มีบทบัญญัติครอบคลุมการแลกเปลี่ยนข้อมูลทุกรูปแบบ รวมทั้งการแลกเปลี่ยนข้อมูลอัตโนมัติระหว่างประเทศ (Automatic Exchange of Information หรือ AEOI) เพื่อรองรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางการเงินแบบอัตโนมัติในรูปแบบ Common Reporting Standard (CRS)

8.2  ความร่วมมือจากภาคประชาชน ในการสนับสนุนและใช้บริการจากผู้ประกอบการที่ปฏิบัติตามกฎหมาย  หากพบรายใดที่ไม่ปฏิบัติตามกฎหมายให้รีบแจ้งกรมสรรพากร ก็จะมีส่วนช่วยให้การจัดเก็บภาษี มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

9. ข้อดีของกฎหมายและประโยชน์ที่ประเทศจะได้รับ

9.1 สร้างความเป็นธรรมในการเสียภาษี ระหว่างผู้ประกอบการไทยกับผู้ประกอบจากการต่างประเทศ                                                                                                                                        

9.2ช่วยปิดช่องโหว่ของกฎหมาย โดยกำหนดให้ผู้ประกอบการที่ให้บริการ e-Service จากต่างประเทศ ต้องจดทะเบียนเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม มีหน้าที่ยื่นแบบและนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้กับกรมสรรพากรเช่นเดียวกับผู้ประกอบการในประเทศ

9.3 ยกระดับแนวทางการบริหารจัดเก็บภาษีของประเทศไทย ให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ    สอดรับกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัลและรูปแบบการดำเนินธุรกิจในปัจจุบันยิ่งขึ้น

9.4 สร้างรายได้ที่ยั่งยืนให้กับประเทศ คาดว่าจะจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้เพิ่มขึ้นปีละ 5,000 ล้านบาท เป็นรายได้ของรัฐที่นำไปใช้ในการพัฒนาประเทศ

อัปเดตข่าวล่าสุดก่อนใคร Add friend ได้ที่ @PPTVOnline

[NEW] การเตรียมเอกสารส่งภาษีซื้อ-ภาษีขาย (ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30) | รายงาน เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม – NATAVIGUIDES

การเตรียมเอกสารส่งภาษีซื้อ-ภาษีขาย (ยื่นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภ.พ.30)

By posted on May 2, 2019 5:08PM


วิธีการรวมทำรูปเล่มรายงาน By Champ ThitZan


คลิปนี้ จัดทำขึ้นมาเพื่อผู้ที่ต้องการความรู้ความเข้าใจเท่านั้น ไม่ได้แสวงหาผลประโยชน์อันใด

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

วิธีการรวมทำรูปเล่มรายงาน By Champ ThitZan

ภาษีมูลค่าเพิ่ม0 0


รายงานวิชาภาษีอากร เรื่องภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม0 0

#ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?


เคยไหม? เวลาไปซื้อของแล้วเค้าบอกว่าของชิ้นเดียวกันมีราคาต่างกัน ถ้าเอา VAT ต้องบวกเพิ่มราคาอีก 7% แต่ถ้าไม่บวก VAT ขายได้ทันทีในราคานี้จ้า อ๊ะ นี่มันคืออะไร ทำไมถึงเกิดเรื่องแบบนี้ได้!!
ก่อนที่จะเล่าว่าทำไมถึงเป็นแบบนั้น ขออธิบายหลักการของภาษีมูลค่าเพิ่มให้ฟังกันก่อน พูดให้ง่ายที่สุด ภาษีมูลค่าเพิ่มคือภาษีที่เรียกเก็บจากผู้ขายสินค้าหรือให้บริการ แต่ผลักภาระให้ผู้บริโภคเป็นคนจ่ายนั่นเอง
ชักจะงงกันไปใหญ่ เอาว่าไม่เป็นไร มาดูตัวอย่างกันดีกว่า สมมติว่า กิจการนี้มีการซื้อสินค้ามาใน 100 บาท แล้วเอามาขายในราคา 200 บาท
ถ้าหากไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
จะเห็นว่ากำไรเท่ากับ 200 100 = 100 บาท
แต่ถ้าหากกิจการตามตัวอย่างมีการจดทะเบียน VAT หรือเรียกภาษากฎหมายว่าเป็นผู้ประกอบการภาษีมูลค่าเพิ่ม การขายสินค้าในราคา 200 บาทจะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มไปอีก 7% หรือ 14 บาท รวมเป็น 214 บาท
และถ้าหากกิจการเดียวกันนี้ไปซื้อของจากธุรกิจที่จดทะเบียน VAT เหมือนกัน ของในราคา 100 บาทนั้น ก็จะกลายเป็นว่าต้องบวกเพิ่มอีก 7% หรือ 7 บาท รวมเป็น 107 บาท
ทีนี้ เมื่อมีภาษีมูลค่าเพิ่มมาเกี่ยวข้อง
กำไรของกิจการก็จะไม่เปลี่ยนหรอกนะ
มันยังเท่าเดิม คือ 100 บาทนั่นแหละ (อ้าว)
แต่สิ่งที่เปลี่ยนคือ
เงิน 14 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีขาย
ส่วน 7 บาท นั้นจะถูกเรียกว่า ภาษีซื้อ
โดยในทุกครั้งที่ขายสินค้าให้บริการ (เป็นคนขาย)
จะต้องออกใบกำกับภาษีให้ถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนด
รายละเอียดเพิ่มเติมรับชมได้ในคลิปนี้เลยจ้า
ภาษี10นาที ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT วางแผนภาษี ลดหย่อนภาษี ภาษีซื้อ ภาษีขาย ยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษี คำนวณภาษี ความรู้ภาษี
ซีรีย์ ภาษี10นาที ซีรีย์ที่สอนเรื่องภาษีโดยพรี่หนอม TAXBugnoms เพื่อให้ความรู้ภาษีเข้าใจง่ายขึ้น ทุกวันอังคารเวลา 2 ทุ่ม เริ่มตั้งแต่ปลายเดือนสิงหาคม 2562 เป็นต้นไป และจะทำจนกว่าขี้เกียจทำ 555
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/

#ภาษี10นาที Ep.3 : ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT คืออะไร มาจากไหน คำนวณยังไง?

การเขียนรายงาน – สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.4


พบสื่อการเรียนการสอนมากมายที่
ฝากติดตามเพจ/channel ด้วยครับ
webpage : http://www.kruao.com (ครูโอ๋)
fanpage : https://goo.gl/O22C3X
google+ : https://goo.gl/OBu7ia
youtube : https://goo.gl/bZlYwE
สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.4
เรื่อง การเขียนรายงาน
ถ้าสื่อนี้ดีมีประโยชน์อยากให้ช่วยกดไลค์ หรือ กดติดตามครับ
จะได้มีคนเห็นสื่อการเรียนการสอนนี้มากขึ้น
เพื่อเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย ในการเรียนการสอน
การทบทวน เป็นสื่อการสอน เป็นสื่อการเรียน ถือว่าท่าน
ได้ช่วยสนับสนุนการเรียนการสอนให้เด็กไทย หรือคนที่ยัง
ไม่รู้ว่ามีช่องเผื่อแพร่สื่อเหล่านี้ครับผม
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การเขียนรายงาน - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.4

พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ – เรียนและงาน【Official Audio】


\”เรียนและงาน\” อีกหนึ่งเพลงดีๆ จากปู พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ นักร้องเพื่อชีวิตชื่อดังขวัญใจประชาชนชาวไทย
เนื้อเพลง
ออกเดินจากบ้านสู่เมืองฟ้า สู่เมืองเทวาเมืองบางกอก
เดินทางเดียวดายจากบ้านนอก มาเล่า มาเรียน มาศึกษา
เจอะคนทั้งแบบนี้แบบนั้น เจอะทั้งแมงวันทั้งจิ้งจอก
เจอทั้งคนดีคนกลับกลอก คนหวังปลอกลอก มีมากมาย

ตั้งใจร่ำเรียนทุกค่ำเช้า ถึงหนักถึงเบาไม่ร้องบอก
อยู่ไปวันๆ เหมือนมีปลอก ลากคอให้เดินตามทาง
ชี้ให้ฉันเดินไปทางไหน จะเร่งรีบไปตามคุณบอก
หัวใจเฉื่อยชาแต่ช้ำชอก แตกหักยับเยิน..ป่นปี้
ชี้ให้ฉันเขียนฉันรีบเขียน ชี้ให้ฉันเรียนให้ฉันสอบ
แข่งขันกันไปหลายรอบ มาเลือกเอาม้าพันธุ์ดี
ทำเพื่อหนทางที่วาดหวัง รีดเข็นพลังพุ่งพวยออก
ก็ตามประสาคนจนตรอก หวังงานทำเงินเลี้ยงครอบครัว..
จวบจนฉันจบการศึกษา รับใบปริญญาที่ฉันชอบ
สุขใจแค่ไหนไม่ต้องบอก ยิ้มพลางเดินพลางสบายดี
รีบเดินย้ำต๊อกหางาน ความสุขชื่นบานที่เคยมี
เริ่มหดเริ่มหายลงทุกที ไม่มี ไม่มี ไม่มีงาน
รับคน15 คนทำงาน เด็กฝากเด็กท่านเอา 1 โหล
ที่เหลือหมื่นพันร้องไห้โฮ ระบบทางแก้ไม่มี…………โอ๊ย….
หลายที่หลายแห่งคนทำงาน เช้าชามเย็นชาม 2 ขั้นป
แต่คนขยันทำงานดี ไม่มี ไม่มี ไม่มองมา
อย่างงี้เมื่อไหร่บ้านเมืองไทย เจริญก้าวไปทัดเทียมทัน
นานาประเทศดังคำขวัญ เขียนเอาไว้สวยดี

อุตส่าห์ร่ำเรียนมาแทบตาย แต่ผลสุดท้ายต้องตกงาน
หมดเงินหมดแรงอยู่ตั้งนาน วิมานมาพังไร้ชิ้นดี
แม่จ๋า.. ลูกกลับมาแนบเนา กลับสู่บ้านเราด้วยช้ำชอก
ทุ่มเทกายใจให้บ้านนอก หลังถูกจับขังหลายปี
แม่จ๋า.. ลูกกลับมาแนบเนา กลับสู่บ้านเราด้วยช้ำชอก
ทุ่มเทกายใจให้บ้านนอก หลังถูกจับขังหลายปี
【 ช่องทางติดตามข่าวสาร ปู พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ 】
Facebook ► http://www.facebook.com/pupongsitofficial
Instagram ► http://instagram.com/pupongsitofficial
LINE ► @PuPongsitOfficial หรือ http://line.me/ti/p/%40pupongsitofficial
TikTok ► https://vt.tiktok.com/ZSJBeAeu5/

พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ - เรียนและงาน【Official Audio】

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ รายงาน เรื่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *