Skip to content
Home » [Update] คำศัพท์เกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลาย | สาม คํา – NATAVIGUIDES

[Update] คำศัพท์เกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลาย | สาม คํา – NATAVIGUIDES

สาม คํา: คุณกำลังดูกระทู้

Gender identity (อัตลักษณ์ทางเพศ) หมายถึง ความรู้สึกล้ำลึกภายในของบุคคลเกี่ยวกับเพศภาวะ ซึ่งอาจจะสอดคล้องหรือตรงข้ามกับเพศโดยกำเนิดของตน รวมทั้งความรู้สึกทางสรีระ (ซึ่งหากสามารถ เลือกได้อาจเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงแก้ไขลักษณะ และการทำงานทางกายภาพด้วยวิธีทางการแพทย์ การผ่าตัด หรือวิธีอื่นใด) รวมทั้งการแสดงออกทางเพศภาวะ เช่น การแต่งกาย การพูดจา และกิริยาอื่นๆ

นอกจากสองคำนี้ คำว่า “การแสดงออกทางเพศ” เป็นอีกคำหนึ่งที่มักใช้บ่อยในการพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นความหลากหลายทางเพศ

Gender expression (การแสดงออกทางเพศ) หมายถึง การแสดงออกถึงอัตลักษณ์ทางเพศของแต่ละบุคคล และการแสดงออกที่รับรู้ในสายตาของผู้อื่น โดยทั่วไป คนเรามักจะมีการแสดงออกทางเพศที่ตรงกับอัตลักษณ์ทางเพศของตนไม่ว่าจะมีเพศกำเนิดเป็นเพศใดก็ตาม

คำศัพท์สากล

คำศัพท์ต่อไปนี้เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายในการอธิบายถึงบุคคลที่มีวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลาย

Gay (เกย์) – ผู้ชายที่รักผู้ชายด้วยกัน ทางอารมณ์ ทางความสัมพันธ์ทางเพศ หรือทางกาย

Lesbian (เลสเบี้ยน) – ผู้หญิงที่รักผู้หญิงด้วยกัน ทางอารมณ์ ทางความสัมพันธ์ทางเพศหรือทางกาย

Bisexual (คนรักสองเพศ) – บุคคลที่รักได้ทั้งชายและหญิง ทางอารมณ์ ทางความสัมพันธ์ทางเพศ หรือทางกาย

Transgender (คนข้ามเพศ) – ผู้ที่รู้สึกพึงพอใจกับเพศภาวะหรืออัตลักษณ์ทางเพศที่ตรงข้ามกับเพศ กำเนิดของตน

Intersex (คนที่มีเพศกำกวม) – เป็นคำศัพท์ที่ใช้กับภาวะหลายประการที่บุคคลหนึ่งเกิดมาพร้อมกับสรีระทางเพศหรืออวัยวะสืบพันธุ์ที่กำกวม คืออาจมีลักษณะที่ไม่ตรงกับเพศชายหรือหญิง หรือมีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศ

Queer (เควียร์) – ศัพท์วิชาการที่หมายรวมถึงคนที่ไม่ใช่คนรักต่างเพศหรือไม่ได้มีวิถีเช่นเดียวกับคนรักต่างเพศ แม้ว่า LGBT ส่วนหนึ่งไม่เห็นด้วยกับการใช้คำนี้เพราะความหมายแฝงในเชิงลบในอดีต แต่สมาชิก LGBT อีกส่วนหนึ่งก็หันกลับมายอมรับคำๆนี้ในเชิงสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ที่แตกต่าง

LGBT (กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ) – คำย่อซึ่งหมายถึงกลุ่มคนที่เป็นเลสเบี้ยนเกย์ รักสองเพศ และคนข้ามเพศ ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับคำย่อ GLBT คำย่อ LGBTIหรือ LGBTIQ ซึ่งรวม อักษรย่อสำหรับคนที่มีเพศกำกวมและเควียร์โดยชัดเจนก็ใช้ด้วยเช่นกัน ในที่นี้ LGBT ใช้หมายรวมถึง คนที่มีเพศกำกวมและเควียร์ด้วยเช่นกัน

MSM (ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย) – ย่อมาจาก “Men who have Sex with Men” เป็นคำที่ใช้ เรียกประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อเอชไอวีแต่อาจไม่ได้เรียกตัวเองว่าเป็นชายรักชายหรือชายรักสองเพศ

Sexual Minorities (คนกลุ่มน้อยทางเพศ) – หมายถึง กลุ่มคนที่ถูกเลือกปฏิบัติเพราะอัตลักษณ์หรือวิถีทางเพศของตน ได้แก่ เกย์ เลสเบี้ยน คนรักสองเพศ คนข้ามเพศ และอัตลักษณ์ทางเพศ ในประเพณีดั้งเดิม ในหลายภูมิภาคทั่วโลก เช่น hijras, kothis, warias,กะเทย, berdache ฯลฯ

Transsexual (คนที่มีจิตใจเหมือนเพศตรงข้าม) – หมายถึง คนที่เกิดมามีสภาพด้านร่างกายเป็นเพศหนึ่ง แต่มีอารมณ์ จิตใจ และเลือกที่จะใช้ชีวิตในบทบาททางเพศที่เป็นอีกเพศหนึ่ง ไปจนถึงการเลือกที่จะแปลงเพศ

Transvestite/Cross-dresser (ชายแต่งหญิง หรือ หญิงแต่งชาย) – หมายถึง คนที่ชอบแต่งตัวเป็นเพศตรงข้ามเป็นครั้งคราว และมีความรู้สึกเป็นเพศตรงข้ามตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงอย่างชัดเจน บางคน อาจได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์เพื่อเปลี่ยนไปเป็นอีกเพศหนึ่ง และใช้ชีวิตในเพศตรงข้ามอย่างถาวรส่วนบางคนอาจพอใจกับการแต่งกายเป็นเพศตรงข้ามเป็นครั้งคราวไปจนตลอดชีวิต

Transperson/people/man/woman (คนข้ามเพศ) – ป็นคำที่ใช้หมายรวมถึงคนที่มีอัตลักษณ์ หรือการแสดงออกทางเพศที่แตกต่างจากเพศกำเนิด ได้แก่ ชายหรือหญิงที่รู้สึกเหมือนเพศตรงข้าม หรือคนที่เรียกตัวเองว่าเป็นคนที่มีจิตใจเหมือนเพศตรงข้าม คนข้ามเพศ ชายแต่งหญิง/หญิงแต่งชาย คนสองเพศ คนหลายเพศ เควียร์ (queer หรือ gender queer) คนไร้เพศ เพศทางเลือก หรืออัตลักษณ์ และการแสดงออกทางเพศอื่นใดก็ตามที่ไม่ตรงตามมาตรฐานความเป็นชายหรือหญิงโดยทั่วไป คนกลุ่มนี้ มักแสดงออกทางเพศภาวะของตนโดยการแต่งกาย บุคลิกภาพ การเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพ รวมถึง การผ่าตัดดัดแปลงทางเพศต่างๆ ด้วย

FTM (ชายข้ามเพศ) – ย่อมาจาก Female-To-Male ใช้หมายถึงคนที่ข้ามเพศจากหญิงเป็นชาย คือ คนที่เกิดมาเป็นเพศหญิงโดยกำเนิดแต่มองว่าตนเป็นชายในภายหลัง เรียกว่าtransman หรือ ชายข้ามเพศ (คำนี้ควรใช้อย่างระมัดระวังเพราะอาจสื่อถึงแนวความคิดที่ว่าโลกนี้มีเพียงสองเพศเท่านั้น)

MTF (หญิงข้ามเพศ) – ย่อมาจาก Male-To-Female ใช้หมายถึงคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิง คือ คนที่เกิดมาเป็นเพศชายโดยกำเนิดแต่มองว่าตนเป็นหญิงในภายหลัง เรียกว่า transwoman หรือหญิงข้ามเพศ (เช่นเดียวกับ FTM คำนี้ควรใช้อย่างระมัดระวัง เพราะอาจสื่อถึงแนวความคิดที่ว่าโลกนี้มีเพียงสองเพศเท่านั้น)

คำศัพท์ภาษาไทย

ศัพท์ในภาษาอังกฤษบางคำ เช่น gay, lesbian, bisexual, transgender และ intersex ได้รับการยอมรับและนำมาใช้ในภาษาไทย โดยมีการปรับให้เข้ากับวัฒนธรรมและรายละเอียด ความถูกต้องบางประการคำเหล่านี้ ได้แก่

เกย์ ในประเทศไทยใช้หมายถึงผู้ชายเท่านั้น ผู้หญิงที่รักเพศเดียวกันจะไม่ถูกเรียกว่าเกย์แต่จะเรียกว่า ทอม ดี้ หรือ เลส (เลสเบี้ยน) แทน ขึ้นอยู่กับอัตลักษณ์หรือการแสดงออกทางเพศของบุคคลผู้นั้น ปัจจุบัน มีคำเฉพาะที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่ที่ใช้หมายรวมถึงชายหรือหญิงที่รักเพศเดียวกัน (ดูข้างล่าง)

เลสเบี้ยน เป็นคำที่มีการใช้บ้างแต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมจากหญิงรักหญิงไทย เนื่องจากความหมายที่ค่อนไปในทางลบว่าหมายถึงหญิงที่ผิดปกติด้านจิตใจ

ไบ เป็นคำที่ใช้เรียกคนรักสองเพศอย่างไม่เป็นทางการ และใช้ในบริบทเดียวกันกับในภาษาอังกฤษ (bisexual) แม้ว่าจะมีคนไทยน้อยมากที่เปิดเผยตัวคนว่าเป็นคนรักสองเพศ

ทีจี (TG) – มักใช้กันในกลุ่มนักเคลื่อนไหวเพื่อคนข้ามเพศและสมาชิกของกลุ่มคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงในไทย เพื่อแทนคำว่า transgenderคำว่า หญิงข้ามเพศ และ ชายข้ามเพศ ซึ่งแปลตรงตัวจาก transwoman และ transmanกำลังได้รับความนิยมในกลุ่ม LGBT ของไทย

คำศัพท์ภาษาไทยหลายคำใช้กันอย่างแพร่หลาย และใช้เฉพาะในบริบทความหลากหลายด้านอัตลักษณ์ทางเพศของไทยเท่านั้น เช่น

ชายรักชาย, ชรช. – หมายถึง ผู้ชายที่รักผู้ชายด้วยกัน เป็นคำที่เป็นที่นิยมสำหรับชายที่เป็นเกย์

หญิงรักหญิง, ญรญ. – หมายถึง ผู้หญิงที่รักผู้หญิงด้วยกัน เป็นคำที่นิยมแทนคำว่าเลสเบี้ยน ทอม และดี้

ทอมมาจาก tomboy ในภาษาอังกฤษ หมายถึงผู้หญิงที่มีลักษณะเหมือนผู้ชายและชอบเพศหญิงที่อาจไม่ใช่คนที่เป็นดี้เสมอไป

ดี้มาจาก lady ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ผู้หญิงที่มีลักษณะหรือการแสดงออกที่เป็นหญิงและชอบผู้หญิงด้วยกันซึ่งอาจจะไม่ได้เป็นทอมเสมอไป

เลส มาจาก lesbian ในภาษาอังกฤษ หมายถึงผู้หญิงที่มีลักษณะการแสดงออกทางเพศไม่ต่างจากผู้หญิงทั่วไปแต่ชอบเพศหญิงเหมือนกัน

กะเทยหมายถึง คนที่เกิดมาเป็นชายโดยกำเนิดแต่มีลักษณะภายนอก การแสดงออกและพฤติกรรม ที่เหมือนผู้หญิง คำนี้มีที่มาทางประวัติศาสตร์และทางการแพทย์ (กะเทยใช้เหมือนคำว่า hermaphrodite ในภาษาอังกฤษ) ซึ่งมีความหมายทางการแพทย์ว่าคนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง และแต่เดิมใช้เรียกผู้ที่มีจิตใจเป็นเพศตรงข้าม (transsexual)ทั้งจากชายเป็นหญิงและจากหญิงเป็นชาย แต่ในปัจจุบันใช้เรียกเฉพาะคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงเท่านั้น คนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงบางคน โดยเฉพาะคนที่ต้องการแปลงเพศไม่นิยมคำนี้เท่าใดนัก ในขณะที่คนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงคนอื่นๆ ยอมรับความหมายที่สื่อถึงอัตลักษณ์ทางเพศที่อยู่ระหว่างความเป็นหญิงและชายของคำๆ นี้

สาวประเภทสองหมายถึงผู้หญิงประเภทที่สอง ใช้เรียกกะเทยและคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงที่มีลักษณะการแสดงออกคล้ายกับเพศหญิง

ตุ๊ดมาจากภาพยนตร์เรื่อง Tootsie นำแสดงโดยดัสติน ฮอฟแมน เป็นคำเรียกที่ใช้เหมือนกับคำว่า fag หรือ faggot ในภาษาอังกฤษ มีความหมายในลักษณะดูถูกเหยียดหยามสำหรับชายที่เป็นเกย์ กะเทย และคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิง แต่อาจได้รับการยอมรับจากคนรุ่นใหม่ อย่างไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำนี้

เพศที่สามหมายถึง คนที่เป็นเพศที่สาม ใช้เรียกคนที่ไม่ใช่คนรักต่างเพศ ได้แก่ เลสเบี้ยนเกย์ คนรักสองเพศ และคนข้ามเพศ คำนี้ไม่เป็นที่นิยมนักในกลุ่ม LGBT เนื่องจากมีนัยสื่อถึงชนชั้นทางเพศ

คนข้ามเพศ มาจากคำว่า transgender ในภาษาอังกฤษ หญิงข้ามเพศ – มาจากคำว่า transwoman ในภาษาอังกฤษ ใช้เรียกคนข้ามเพศจากหญิงเป็นชายที่กำลังอยู่ในขั้นตอนการแปลงเพศหรือได้แปลงเพศเป็นหญิงแล้ว

ชายข้ามเพศมาจากคำว่า transman ในภาษาอังกฤษ ใช้เรียกคนข้ามเพศจากหญิงเป็นชายที่กำลัง อยู่ในขั้นตอนการแปลงเพศหรือได้แปลงเพศเป็นชายแล้ว

เพศกำกวมหมายถึงลักษณะการมีสรีระทางเพศหรืออวัยวะสืบพันธุ์ที่กำกวม ไม่ตรงกับลักษณะเพศชายหรือเพศหญิง หรือมีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศ (intersexuality) เป็นลักษณะของ คนที่มีเพศกำกวม (intersex)

คนสองเพศเป็นอีกคำหนึ่งที่ใช้เรียกคนที่มีเพศ

 

ขอบคุณข้อมูลจาก

อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย / บุษกร สุริยสาร ; องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประจำประเทศไทย กัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ; โครงการส่งเสริมสิทธิ ความหลากหลาย และความเท่าเทียมในโลกของการทำงาน (PRIDE). – กรุงเทพฯ : องค์การแรงงานระหว่างประเทศ, 2557

ป้ายคำ

[Update] คำศัพท์เกี่ยวกับวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลาย | สาม คํา – NATAVIGUIDES

Gender identity (อัตลักษณ์ทางเพศ) หมายถึง ความรู้สึกล้ำลึกภายในของบุคคลเกี่ยวกับเพศภาวะ ซึ่งอาจจะสอดคล้องหรือตรงข้ามกับเพศโดยกำเนิดของตน รวมทั้งความรู้สึกทางสรีระ (ซึ่งหากสามารถ เลือกได้อาจเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงแก้ไขลักษณะ และการทำงานทางกายภาพด้วยวิธีทางการแพทย์ การผ่าตัด หรือวิธีอื่นใด) รวมทั้งการแสดงออกทางเพศภาวะ เช่น การแต่งกาย การพูดจา และกิริยาอื่นๆ

นอกจากสองคำนี้ คำว่า “การแสดงออกทางเพศ” เป็นอีกคำหนึ่งที่มักใช้บ่อยในการพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นความหลากหลายทางเพศ

Gender expression (การแสดงออกทางเพศ) หมายถึง การแสดงออกถึงอัตลักษณ์ทางเพศของแต่ละบุคคล และการแสดงออกที่รับรู้ในสายตาของผู้อื่น โดยทั่วไป คนเรามักจะมีการแสดงออกทางเพศที่ตรงกับอัตลักษณ์ทางเพศของตนไม่ว่าจะมีเพศกำเนิดเป็นเพศใดก็ตาม

คำศัพท์สากล

คำศัพท์ต่อไปนี้เป็นคำที่ใช้กันแพร่หลายในการอธิบายถึงบุคคลที่มีวิถีทางเพศและอัตลักษณ์ทางเพศที่หลากหลาย

Gay (เกย์) – ผู้ชายที่รักผู้ชายด้วยกัน ทางอารมณ์ ทางความสัมพันธ์ทางเพศ หรือทางกาย

Lesbian (เลสเบี้ยน) – ผู้หญิงที่รักผู้หญิงด้วยกัน ทางอารมณ์ ทางความสัมพันธ์ทางเพศหรือทางกาย

Bisexual (คนรักสองเพศ) – บุคคลที่รักได้ทั้งชายและหญิง ทางอารมณ์ ทางความสัมพันธ์ทางเพศ หรือทางกาย

Transgender (คนข้ามเพศ) – ผู้ที่รู้สึกพึงพอใจกับเพศภาวะหรืออัตลักษณ์ทางเพศที่ตรงข้ามกับเพศ กำเนิดของตน

Intersex (คนที่มีเพศกำกวม) – เป็นคำศัพท์ที่ใช้กับภาวะหลายประการที่บุคคลหนึ่งเกิดมาพร้อมกับสรีระทางเพศหรืออวัยวะสืบพันธุ์ที่กำกวม คืออาจมีลักษณะที่ไม่ตรงกับเพศชายหรือหญิง หรือมีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศ

Queer (เควียร์) – ศัพท์วิชาการที่หมายรวมถึงคนที่ไม่ใช่คนรักต่างเพศหรือไม่ได้มีวิถีเช่นเดียวกับคนรักต่างเพศ แม้ว่า LGBT ส่วนหนึ่งไม่เห็นด้วยกับการใช้คำนี้เพราะความหมายแฝงในเชิงลบในอดีต แต่สมาชิก LGBT อีกส่วนหนึ่งก็หันกลับมายอมรับคำๆนี้ในเชิงสัญลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความภาคภูมิใจในอัตลักษณ์ที่แตกต่าง

LGBT (กลุ่มคนที่มีความหลากหลายทางเพศ) – คำย่อซึ่งหมายถึงกลุ่มคนที่เป็นเลสเบี้ยนเกย์ รักสองเพศ และคนข้ามเพศ ซึ่งมีความหมายเช่นเดียวกับคำย่อ GLBT คำย่อ LGBTIหรือ LGBTIQ ซึ่งรวม อักษรย่อสำหรับคนที่มีเพศกำกวมและเควียร์โดยชัดเจนก็ใช้ด้วยเช่นกัน ในที่นี้ LGBT ใช้หมายรวมถึง คนที่มีเพศกำกวมและเควียร์ด้วยเช่นกัน

MSM (ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย) – ย่อมาจาก “Men who have Sex with Men” เป็นคำที่ใช้ เรียกประชากรชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีความเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อเอชไอวีแต่อาจไม่ได้เรียกตัวเองว่าเป็นชายรักชายหรือชายรักสองเพศ

Sexual Minorities (คนกลุ่มน้อยทางเพศ) – หมายถึง กลุ่มคนที่ถูกเลือกปฏิบัติเพราะอัตลักษณ์หรือวิถีทางเพศของตน ได้แก่ เกย์ เลสเบี้ยน คนรักสองเพศ คนข้ามเพศ และอัตลักษณ์ทางเพศ ในประเพณีดั้งเดิม ในหลายภูมิภาคทั่วโลก เช่น hijras, kothis, warias,กะเทย, berdache ฯลฯ

Transsexual (คนที่มีจิตใจเหมือนเพศตรงข้าม) – หมายถึง คนที่เกิดมามีสภาพด้านร่างกายเป็นเพศหนึ่ง แต่มีอารมณ์ จิตใจ และเลือกที่จะใช้ชีวิตในบทบาททางเพศที่เป็นอีกเพศหนึ่ง ไปจนถึงการเลือกที่จะแปลงเพศ

Transvestite/Cross-dresser (ชายแต่งหญิง หรือ หญิงแต่งชาย) – หมายถึง คนที่ชอบแต่งตัวเป็นเพศตรงข้ามเป็นครั้งคราว และมีความรู้สึกเป็นเพศตรงข้ามตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงอย่างชัดเจน บางคน อาจได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์เพื่อเปลี่ยนไปเป็นอีกเพศหนึ่ง และใช้ชีวิตในเพศตรงข้ามอย่างถาวรส่วนบางคนอาจพอใจกับการแต่งกายเป็นเพศตรงข้ามเป็นครั้งคราวไปจนตลอดชีวิต

Transperson/people/man/woman (คนข้ามเพศ) – ป็นคำที่ใช้หมายรวมถึงคนที่มีอัตลักษณ์ หรือการแสดงออกทางเพศที่แตกต่างจากเพศกำเนิด ได้แก่ ชายหรือหญิงที่รู้สึกเหมือนเพศตรงข้าม หรือคนที่เรียกตัวเองว่าเป็นคนที่มีจิตใจเหมือนเพศตรงข้าม คนข้ามเพศ ชายแต่งหญิง/หญิงแต่งชาย คนสองเพศ คนหลายเพศ เควียร์ (queer หรือ gender queer) คนไร้เพศ เพศทางเลือก หรืออัตลักษณ์ และการแสดงออกทางเพศอื่นใดก็ตามที่ไม่ตรงตามมาตรฐานความเป็นชายหรือหญิงโดยทั่วไป คนกลุ่มนี้ มักแสดงออกทางเพศภาวะของตนโดยการแต่งกาย บุคลิกภาพ การเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพ รวมถึง การผ่าตัดดัดแปลงทางเพศต่างๆ ด้วย

FTM (ชายข้ามเพศ) – ย่อมาจาก Female-To-Male ใช้หมายถึงคนที่ข้ามเพศจากหญิงเป็นชาย คือ คนที่เกิดมาเป็นเพศหญิงโดยกำเนิดแต่มองว่าตนเป็นชายในภายหลัง เรียกว่าtransman หรือ ชายข้ามเพศ (คำนี้ควรใช้อย่างระมัดระวังเพราะอาจสื่อถึงแนวความคิดที่ว่าโลกนี้มีเพียงสองเพศเท่านั้น)

MTF (หญิงข้ามเพศ) – ย่อมาจาก Male-To-Female ใช้หมายถึงคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิง คือ คนที่เกิดมาเป็นเพศชายโดยกำเนิดแต่มองว่าตนเป็นหญิงในภายหลัง เรียกว่า transwoman หรือหญิงข้ามเพศ (เช่นเดียวกับ FTM คำนี้ควรใช้อย่างระมัดระวัง เพราะอาจสื่อถึงแนวความคิดที่ว่าโลกนี้มีเพียงสองเพศเท่านั้น)

คำศัพท์ภาษาไทย

ศัพท์ในภาษาอังกฤษบางคำ เช่น gay, lesbian, bisexual, transgender และ intersex ได้รับการยอมรับและนำมาใช้ในภาษาไทย โดยมีการปรับให้เข้ากับวัฒนธรรมและรายละเอียด ความถูกต้องบางประการคำเหล่านี้ ได้แก่

เกย์ ในประเทศไทยใช้หมายถึงผู้ชายเท่านั้น ผู้หญิงที่รักเพศเดียวกันจะไม่ถูกเรียกว่าเกย์แต่จะเรียกว่า ทอม ดี้ หรือ เลส (เลสเบี้ยน) แทน ขึ้นอยู่กับอัตลักษณ์หรือการแสดงออกทางเพศของบุคคลผู้นั้น ปัจจุบัน มีคำเฉพาะที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่ที่ใช้หมายรวมถึงชายหรือหญิงที่รักเพศเดียวกัน (ดูข้างล่าง)

เลสเบี้ยน เป็นคำที่มีการใช้บ้างแต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมจากหญิงรักหญิงไทย เนื่องจากความหมายที่ค่อนไปในทางลบว่าหมายถึงหญิงที่ผิดปกติด้านจิตใจ

ไบ เป็นคำที่ใช้เรียกคนรักสองเพศอย่างไม่เป็นทางการ และใช้ในบริบทเดียวกันกับในภาษาอังกฤษ (bisexual) แม้ว่าจะมีคนไทยน้อยมากที่เปิดเผยตัวคนว่าเป็นคนรักสองเพศ

ทีจี (TG) – มักใช้กันในกลุ่มนักเคลื่อนไหวเพื่อคนข้ามเพศและสมาชิกของกลุ่มคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงในไทย เพื่อแทนคำว่า transgenderคำว่า หญิงข้ามเพศ และ ชายข้ามเพศ ซึ่งแปลตรงตัวจาก transwoman และ transmanกำลังได้รับความนิยมในกลุ่ม LGBT ของไทย

คำศัพท์ภาษาไทยหลายคำใช้กันอย่างแพร่หลาย และใช้เฉพาะในบริบทความหลากหลายด้านอัตลักษณ์ทางเพศของไทยเท่านั้น เช่น

ชายรักชาย, ชรช. – หมายถึง ผู้ชายที่รักผู้ชายด้วยกัน เป็นคำที่เป็นที่นิยมสำหรับชายที่เป็นเกย์

หญิงรักหญิง, ญรญ. – หมายถึง ผู้หญิงที่รักผู้หญิงด้วยกัน เป็นคำที่นิยมแทนคำว่าเลสเบี้ยน ทอม และดี้

ทอมมาจาก tomboy ในภาษาอังกฤษ หมายถึงผู้หญิงที่มีลักษณะเหมือนผู้ชายและชอบเพศหญิงที่อาจไม่ใช่คนที่เป็นดี้เสมอไป

ดี้มาจาก lady ในภาษาอังกฤษ หมายถึง ผู้หญิงที่มีลักษณะหรือการแสดงออกที่เป็นหญิงและชอบผู้หญิงด้วยกันซึ่งอาจจะไม่ได้เป็นทอมเสมอไป

เลส มาจาก lesbian ในภาษาอังกฤษ หมายถึงผู้หญิงที่มีลักษณะการแสดงออกทางเพศไม่ต่างจากผู้หญิงทั่วไปแต่ชอบเพศหญิงเหมือนกัน

กะเทยหมายถึง คนที่เกิดมาเป็นชายโดยกำเนิดแต่มีลักษณะภายนอก การแสดงออกและพฤติกรรม ที่เหมือนผู้หญิง คำนี้มีที่มาทางประวัติศาสตร์และทางการแพทย์ (กะเทยใช้เหมือนคำว่า hermaphrodite ในภาษาอังกฤษ) ซึ่งมีความหมายทางการแพทย์ว่าคนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง และแต่เดิมใช้เรียกผู้ที่มีจิตใจเป็นเพศตรงข้าม (transsexual)ทั้งจากชายเป็นหญิงและจากหญิงเป็นชาย แต่ในปัจจุบันใช้เรียกเฉพาะคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงเท่านั้น คนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงบางคน โดยเฉพาะคนที่ต้องการแปลงเพศไม่นิยมคำนี้เท่าใดนัก ในขณะที่คนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงคนอื่นๆ ยอมรับความหมายที่สื่อถึงอัตลักษณ์ทางเพศที่อยู่ระหว่างความเป็นหญิงและชายของคำๆ นี้

สาวประเภทสองหมายถึงผู้หญิงประเภทที่สอง ใช้เรียกกะเทยและคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิงที่มีลักษณะการแสดงออกคล้ายกับเพศหญิง

ตุ๊ดมาจากภาพยนตร์เรื่อง Tootsie นำแสดงโดยดัสติน ฮอฟแมน เป็นคำเรียกที่ใช้เหมือนกับคำว่า fag หรือ faggot ในภาษาอังกฤษ มีความหมายในลักษณะดูถูกเหยียดหยามสำหรับชายที่เป็นเกย์ กะเทย และคนข้ามเพศจากชายเป็นหญิง แต่อาจได้รับการยอมรับจากคนรุ่นใหม่ อย่างไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงการใช้คำนี้

เพศที่สามหมายถึง คนที่เป็นเพศที่สาม ใช้เรียกคนที่ไม่ใช่คนรักต่างเพศ ได้แก่ เลสเบี้ยนเกย์ คนรักสองเพศ และคนข้ามเพศ คำนี้ไม่เป็นที่นิยมนักในกลุ่ม LGBT เนื่องจากมีนัยสื่อถึงชนชั้นทางเพศ

คนข้ามเพศ มาจากคำว่า transgender ในภาษาอังกฤษ หญิงข้ามเพศ – มาจากคำว่า transwoman ในภาษาอังกฤษ ใช้เรียกคนข้ามเพศจากหญิงเป็นชายที่กำลังอยู่ในขั้นตอนการแปลงเพศหรือได้แปลงเพศเป็นหญิงแล้ว

ชายข้ามเพศมาจากคำว่า transman ในภาษาอังกฤษ ใช้เรียกคนข้ามเพศจากหญิงเป็นชายที่กำลัง อยู่ในขั้นตอนการแปลงเพศหรือได้แปลงเพศเป็นชายแล้ว

เพศกำกวมหมายถึงลักษณะการมีสรีระทางเพศหรืออวัยวะสืบพันธุ์ที่กำกวม ไม่ตรงกับลักษณะเพศชายหรือเพศหญิง หรือมีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศ (intersexuality) เป็นลักษณะของ คนที่มีเพศกำกวม (intersex)

คนสองเพศเป็นอีกคำหนึ่งที่ใช้เรียกคนที่มีเพศ

 

ขอบคุณข้อมูลจาก

อัตลักษณ์และวิถีทางเพศในประเทศไทย / บุษกร สุริยสาร ; องค์การแรงงานระหว่างประเทศ ประจำประเทศไทย กัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ; โครงการส่งเสริมสิทธิ ความหลากหลาย และความเท่าเทียมในโลกของการทำงาน (PRIDE). – กรุงเทพฯ : องค์การแรงงานระหว่างประเทศ, 2557

ป้ายคำ


สามคำจากใจ (Ost.ลิเก๊..ลิเก) – ก๊อท จักรพันธ์【OFFICIAL MV】


เพลง : สามคำจากใจ
ศิลปิน : ก๊อท จักรพันธ์
อัลบั้ม : เพลงประกอบละคร ลิเก๊..ลิเก
Digital Download : 123 1007204 3
KKBOX : http://kkbox.fm/6c18Hq
iTunes : https://goo.gl/dqZBLf
คุณจะไม่พลาดการติดตาม \”Music Video\” ใหม่ๆ และกิจกรรมความเคลื่อนไหวจาก \”แกรมมี่ โกลด์\” ได้ก่อนใคร ที่ YouTube Channel ของ \”GMM GRAMMY GOLD\” กดเลย!!!
วันนี้คุณสามารถติดตามชมมิวสิควีดีโอและคว­­ามเคลื่อนไหวทุกศิลปินจาก แกรมมี่ โกลด์ ที่คุณชอบได้อย่างจุใจก่อนใครที่ช่อง แฟนทีวี ทางกล่อง GMM Z เคเบิลทีวีไทยทั่วประเทศหรือดาวน์โหลดแอพล­­ิเคชั่น GMM Z เพื่อรับชมได้ทุกที่ทุกเวลาที่คุณต้องการ ได้ฟรีผ่าน iTunes และ Google Play
ติดต่องานแสดงศิลปิน แกรมมี่ โกลด์ โทร.026699159
ติดตามอัพเดทผลงานศิลปินค่ายแกรมมี่ โกลด์ ได้ที่
https://www.facebook.com/prgrammy.gold
https://www.facebook.com/GrammyGoldFAN

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สามคำจากใจ (Ost.ลิเก๊..ลิเก) - ก๊อท จักรพันธ์【OFFICIAL MV】

URBOYTJ – กอดได้ไหม (ONE LAST TIME) – Official MV


Produced By URBOYTJ
Arranged By Jirayut Phaloprakarn
Composed By Jirayut Phaloprakarn, Janpat Montrelerdrasme
Written By Jirayut Phaloprakarn, Piyawat Meekruea
Piano By Janpat Montrelerdrasme, Prateep SiriIssranan
String By Narongsak Sribandasakwatcharakorn
Guitar By Narurthai Samattanawin
Mixed By Alonzo Vargas
Mastered By Will Quinnell
VERSE
ไม่ได้มาเรียกร้องอะไร
แค่ต้องการมาใช้คำลา
บอกคนนั้นให้รอหน่อยนะ
ขอเวลาไม่นาน
สิ่งที่เราได้สร้างกันมา
ที่มันพังคงถึงเวลา
ไม่อยากฟังก็ฟังหน่อยนะ
ใช้เวลาไม่นาน
PRE
รู้บ้างไหมว่าฉันโคตรอบอุ่น
ตอนเวลาที่เธอนั้นโอบกอด
ไม่ต้องพูดอะไรฉันก็ยิ้มได้
แค่มีเธออยู่ข้างกัน
แต่วันนี้ฉันแค่มาลา
ไม่ได้มาเพื่อจะทำตัววุ่นวาย
HOOK
กอดกันหน่อยได้ไหม
ให้วันเวลาเก่าๆ, ให้วันที่เคยมีเรา
ก่อนที่เธอจะเป็นของใคร
Hold me one last time
กอดกันหน่อยได้ไหม
ถ้าเค้าไม่ว่าอะไร
แค่ขอให้เค้าเข้าใจ Baby,
ก่อนที่จะเสียเธอไปจริงๆ
VERSE 2
ไม่อาจที่จะย้อนคืนไป
เธอก็ไปไม่ย้อนคืนมา
แค่ยินดีที่ได้มาหา
แล้วจะไปให้ไกล
PRE, HOOK,
BRIDGE
ก็รู้ดีว่าฉันคงไม่มีสิทธิ์
ให้คิดแค่ในใจจะดีกว่า
รู้ดีว่าต้องทำไง
แต่ฝืนหัวใจไม่ได้
ยอมเป็นตัววายร้าย
อยากกอดในวันที่สาย
ถ้าขอเธอได้จะจำจนวันสุดท้าย
HOOK,
URBOYTJ กอดได้ไหม ONELASTTIME
Director : DIRECTORNET​
Assistant Director : KANNAP​
Production​ Manager​ : MIM
DIRECTOR OF PHOTOGRAPHY :
BOBBYBRASS​
GAFFER​ : PRAKARN MOONSARN
CAMERA TEAM : LIFEBOAT​ CAMERA​
LIGHTING \u0026 GRIP TEAM : CINERENT THAILAND.CO.,LTD​ \u0026​ GEAR​ HEAD​ CO., LTD
ART DIRECTOR : KANTAPIT​ KAEWTHAI​
MAKE UP / HAIR : THOTSAPOL WONGBANCHANG, JATHUPONG CHUMJAM
Stylist: URBOYTJ, MAMAHIPPO, LOMA​ SOMKAEW
LOCATION​ MANAGER​ : SUPAKITH ENSARN
COLORLIST : BOAT​ NITISARD​
EDITOR : DIRECTORNET​
CHOREOGRAPHER : TAKA

URBOYTJ - กอดได้ไหม (ONE LAST TIME) - Official MV

ขอ 3 คำ : หลวงไก่ อาร์ สยาม [Official MV]


โหลดเสียงรอสาย : 223111
โหลด MP3 : http://goo.gl/vN91H9
ฟังเพลงที่ LINE MUSIC : https://goo.gl/OXzm3U
ฟังเพลงที่ Deezer : http://goo.gl/mWbE3e
Download on iTunes : https://goo.gl/ufjPmK
facebook : http://fb.com/RsiamMusicPage

หลวงไก่ อาร์ สยาม “ขอ 3 คำ” จัดไป _ _ _ ?
“จัดมาเลยสามคำ แหลงให้ตำหัวใจ ไม่ใช่วัวใช่ควาย ฉันเข้าใจแค่พูดมา
จัดมาเลยสามคำ ให้ได้จำยังดีเสียกว่า เงียบไม่ยอมพูดจามันโหดร้าย จัดไป…เราเลิกกัน”
ท่อน Hook โดนๆ บวกกับน้ำเสียงหนักแน่น จริงใจ สไตล์หลวงไก่ อาร์สยาม ทำให้เพลงนี้สื่อสารได้โดนใจคนที่กำลังจะโดนทิ้ง
…ส่วนคนที่กำลังจะทิ้งใคร ก็อยากให้ฟังไว้ ถ้าคิดจะเลิกก็บอกกับเขาตรงๆไปเลย ใช้แค่คำ 3 คำเท่านั้นเอง
หลวงไก่ อาร์สยาม หนุ่มใต้จากจังหวัดตรัง หนึ่งในศิลปินยุคแรกๆของอาร์สยาม ที่บุกเบิกตลาดเพลงเพื่อชีวิตสำเนียงใต้จนประสบความสำเร็จอย่างงดงาม
มีผลงานเพลงดังสร้างชื่อมากมาย เช่น ขวัญใจพี่หลวง, เด็กช่างรักจริง, ขอบคุณที่ยังรักกัน, คนมีประวัติ, พี่หลวงคนเดิม และล่าสุดเพลงกับเพลง หิ่งห้อย
กว่า 10 ปีบนเส้นทางสายดนตรีคือบทพิสูจน์ความเป็นศิลปินคุณภาพได้เป็นอย่างดี

ศิลปิน : หลวงไก่ อาร์ สยาม
คำร้อง / ทำนอง / เรียบเรียง : พลสันต์ พินิจคุณ (เอม็อบ)
ไม่รักก็บอกมา เสียเวลาไม่เท่าไหร่ อย่าเล่นแรง โดยการเก็บไว้ไม่พูดจา
ไม่มีปัญหา พูดลากันเสียง่ายๆ อย่ามาใช้ ความเงียบแทนเสียงเธอบอกลา
ไม่มีใจแล้วก็บอก ฉันจะได้ไป ฉันไม่ได้ดื้อด้านอะไรกันนักหนา
หากสิ่งใดฉันทำไป เธอไม่ถูกใจก็ว่ามา ให้คนโง่เง่าเบาปัญญาได้รู้ไว้
จัดมาเลยสามคำ แหลงให้ตำหัวใจ ไม่ใช่วัวใช่ควาย ฉันเข้าใจแค่พูดมา
จัดมาเลยสามคำ ให้ได้จำยังดีเสียกว่า เงียบไม่ยอมพูดจามันโหดร้าย จัดไป เราเลิกกัน
(แหลงให้ตำหัวใจ ฉันเข้าใจแค่พูดมา จัดมาเลยสามคำ ให้ได้จำยังดีเสียกว่า
เงียบไม่ยอมพูดจามันโหดร้าย จัดไปเราเลิกกัน)
ก็แค่คำบอกลา เสียเวลาไม่เท่าไหร่ ดอกพิกุลแค่หล่นเล็กน้อยจากปากเธอ
(ซ้ำ //)
หลวงไก่อาร์สยาม อาร์สยาม

ขอ 3 คำ : หลวงไก่ อาร์ สยาม [Official MV]

[Official MV] รักได้รักไปแล้ว : Four-Mod


รักได้รักไปแล้ว : FourMod
เนื้อร้อง : โปสการ์ด
ทำนอง : อัจฉริยา ดุลยไพบูลย์
เรียบเรียง : Dodge มุขพล จันทรวงศ์
Apple Music : https://apple.co/3xSmet3
JOOX : https://bit.ly/3qLEyPF
Spotify : http://spoti.fi/38Eb0NL

ใครบอกเธอว่าฉันไม่ยอม เปิดตัวเองให้ใครเข้ามา
นั่งจมอยู่กับน้ำตา เหมือนคนขี้แพ้
ใครบอกเธอว่าฉันไม่ลอง ให้ใครๆเข้ามาดูแล
จากวันที่เธอไม่แคร์ และลืมฉันไป

เมื่อไม่รัก ไม่ต้องหวังดี หยุดมาสอนฉันทีได้มั้ย
ไม่ต้องสั่งฉัน ให้ไปรักใคร เธอรู้อะไรแค่ไหน กับคำว่าทรมาน

ถ้าเปลี่ยนใจไป(ให้)รักใครได้ฉันรักไปแล้ว สักคนที่มีแค่ฉัน ไม่หลอกให้รักให้รอแล้วก็ทิ้งกัน
สั่งใจให้ลืมเธอได้คงลืมไปแล้ว ไม่ต้องจำให้เสียน้ำตา ทนเจ็บทุกวันทุกวัน
แค่เพราะฉันไม่เก่งอย่างเธอ
เจ็บที่ฉันยังคิดถึงเธอ ก็ไม่ใช่เพราะฉันอ่อนแอ
แต่การจะลืมรักแท้ ไม่ง่ายหรอกนะ
คนอย่างเธอไม่เคยรักจริง อยากจะทิ้งก็คงไม่นาน
อย่ามองว่าใจของฉัน จะง่ายเหมือนเธอ
ซ้ำ ,,

KAMIKAZE FourMod โตมากับกามิ โตมากับอาร์เอส รักได้รักไปแล้ว

[Official MV] รักได้รักไปแล้ว : Four-Mod

1 Word ( 1 คำ ) x The Days x One Night x Tz A x T-ADS [official MV]


Song : 1 Word ( 1 คำ )
Artis : Tz a. x The Days x TADS
Direct : jujom
Instrumental : https://www.youtube.com/watch?v=G3eYoAlQ8Ek\u0026list=LLPqloOGZe_UXbbYHFd6dG6w\u0026index=3\u0026t=0s
follow
The Days : https://www.facebook.com/profile.php?id=100004516546513
Tz a.(one night) : https://www.facebook.com/ter.mangfee
Tz a. (Zone C) : https://www.facebook.com/chom.sira
T ADS : https://www.facebook.com/thelucien.audomsub
jujom : https://www.facebook.com/MMt.Jom
เนื้อเพลง
(One night)
คำว่ารักคำเดียวมันจบตอนไหน
ไม่ต้องพูดว่ารักถ้าเธอนั้นยังไม่เข้าใจ
พูดว่ารักคนเดียว เก็บมาช้ำคนเดียว
ก็เธอไปแล้ว เดินเลยให้เธอนั้นหายไป\r
(The Days)
ปล่อยให้คำว่ารักมันกลายเป็นวลีฮิต
เธอไม่รับรักเธอบอกว่า fuck that shit
น้ำตามันเกยอกผมเลยไม่อยากจะ speak
สันยาจากนี้ไปจะไม่ทักเธออีกทั้งชีวิต\r
ไม่อาจจะกล่าวตำนานกลอนตำนานรัก
เพื่อนก็ดีอยู่แล้วไม่งั้นก็ห่างกันสักพัก
เป็นได้แค่ best friend แต่มึงไม่ได้เป็นผัวครับ
เรื่องคงเป็นแค่เส้นขนาน No โคจรสุริยจักร\r
เฉกเช่นลำตัดที่มีพระเอกกับตัวร้าย
ผมมันแย่เสมอ เธอมองว่าไม่มีใครคล้าย
น้ำตาที่กลั้นเอาไว้ก็ไหลหยดจากเบ้าซ้าย
สิ้นสุดในคำสบทพอถึงตอนจบต้องแยกย้าย\r
เก็บทุกเรื่องราวแล้วให้เป็นความทรงจำ
ความรักที่ผมให้ไปจะอยู่กับเธอจนชั่ว
นิรันทร์
คำมันอาจไม่แพงเป็นคำแสลง gril only one
ผมหวังดีเสมอจะอยู่กับเธอในทุกๆจันทร์\r
(TADS)
ขอโทษที่คิดถึงเธอเป็นบางครั้ง
มันลืมไม่ได้เจ็บใจประมาณนั้น
เป็นแค่ขี้แพ้ไอ่ฉันต้องทนช้ำ
แค่เธอไม่แลไอ่ฉันไม่ตายมั้ง
กลัวว่าวันหนึ่งเธอจะหายไป
กลัวว่าเรื่องของเธอจะหายไป
เก็บน้ำตาถ้าไม่อยากช้ำใจ
แค่เธอไม่เอาแค่นี้กูไม่ตาย\r
(One night)
คำว่ารักคำเดียวมันจบตอนไหน
ไม่ต้องพูดว่ารักถ้าเธอนั้นยังไม่เข้าใจ
พูดว่ารักคนเดียว เก็บมาช้ำคนเดียว
ก็เธอไปแล้ว เดินเลยให้เธอนั้นหายไป\r
(Zone C)
มีแต่คำสบดที่ผมจดในน้ำตา\r
ว่าเรื่องราวทั้งหมดมันเป็นกฏของเวลา\r
จะทำอีกกี่สิบเพลงก็มีเธออยู่ในทุกๆบาร์\r
แต่กูก็แร็ปแทบเป็นแทบตาย เธอก็ไม่คืนย้อนมา\r
\r
ให้มันเป็นโชคชะตา ถึงเวลานับถอยหลัง\r
ก็คนมันอยากจะไป คงหมดสิ้นแล้วความหวัง\r
คำว่ารักปลอมๆที่คนอย่างผมเคยวาดฝัน\r
ทุกความรู้สึกแย่ๆที่ตัวเธอเคยฝากฝัง\r
\r
เหมือนในหนังตอนจบ ไม่มีผมอยู่ในบท\r
เธอทิ้งผมไปก็ได้ถ้าใจผมมันสกปรก\r
เธอบอกว่าผมไม่ดีแต่ที่เธอทำก็เหมือนกันหมด\r
ในตอนสุดท้ายแล้วเธอก็หายปล่อยรักให้กลายเป็นเรื่องตลก\r
(One night)
ถ้าคำว่ารักเป็นเพียงแค่ผักปลา
เธอบอกให้ฉันนั้นเชื่อตลอดมา
และในวันนี้ไม่มีเธอทั้งน้ำตา\r
(TADS)
กลัวว่าวันเวลาจะหายไป
กลัวว่าเรื่องของเธอจะหายไป

1 Word ( 1 คำ ) x The Days x One Night x Tz A x T-ADS [official MV]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ สาม คํา

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *