Skip to content
Home » [NEW] | zoospore คือ – NATAVIGUIDES

[NEW] | zoospore คือ – NATAVIGUIDES

zoospore คือ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Classification of Pathogenic Fungi
กลุ่มจุลินทรีย์ที่รู้จักกันดีแต่ครั้งโบราณและก่อประโยชน์คู่กันมากับมวลมนุษย์มากที่สุดคงจะได้แก่ เชื้อรา (fungus) เชื้อเหล่านี้ได้ถูกนำมาใช้ทั้งทางตรงและทางอ้อมในชีวิตประจำวันอยู่เสมอ เช่น การ ประกอบอาหาร อุตสาหกรรมเหล้า เบียร์ เนยแข็ง หรือแม้แต่จะนำมาสกัดเป็นยารักษาโรค ดังที่ทราบคุ้นหูคือ เพนิซิลลิน
เชื้อรามีทั้งชนิดที่ให้คุณดังได้กล่าวมาแล้วและชนิดที่อาจเป็นภัยต่อมนุษย์ กล่าวคือภัยจากพิษของมันโดยตรง เช่น รับประทานเห็ดเมา นอกจากนั้น เชื้อราบางชนิดยังสามารถก่อโรคต่อร่างกายมนุษย์ ตั้งแต่มีอาการเพียงเล็กน้อยที่ผิวหนังไปจนถึงกับเสียชีวิต เนื่องจากเชื้อเหล่านี้เข้าไปทำอันตรายอวัยวะภายใน
ปัจจุบันมีเชื้อราที่ขึ้นทะเบียนชื่อไว้มากกว่า 200,000 ชนิด บางชื่อก็ตั้งชื้นซํ้าของเดิม เชื้อเหล่านี้นอกจากก่อโรคขึ้นในคนแล้วยังก่อโรคได้ในพืชและสัตว์นานาชนิด เชื้อที่ก่อโรคในคนจัดอยู่ใน subdi¬vision Eumycota2 (ตารางที่ 2-1) ซึ่งสามารถจำแนกโดยอาศัยการสืบพันธุ์เป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ
1. พวกที่สืบพันธุ์แบบมีเพศ (presented perfect state spores)
เชื้อราบางชนิดมีการสืบพันธุ์อย่างง่ายๆ โดยสายรา 2 เพศมารวมกันกลายเป็นเพศที่สมบูรณ์ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 class คือ
1.1    Zygomycetes (Phycornycetes)
1.2    Ascomycetes
1.3    Basidiomycetes
2. พวกที่สืบพันธุ์แบบไม่มีเพศ (presented imperfect state spores, Fungi imperfecti)
เชื้อขยายพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) สร้างสปอร์ในภาวะที่เหมาะสม เชื้อกลุ่มนี้บางชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบมีเพศได้ เช่น Histoplasma capsidatum เชื้อที่เกี่ยวข้องกับคนพบได้ 2 orders คือ
2.1 Torulopsidales
2.2 Hyphomycetes
ในที่นี้จะกล่าวรายละเอียดเฉพาะเชื้อราที่พบในประเทศไทยเท่านั้น
1.1 Zygomycetes (Phycomycetes)
เชื้อใน class Zygomycetes จัดเป็นราชั้นตํ่า ไม่มีผนังกั้น (coenocytic) สร้างสปอร์ทั้งแบบไม่มีเพศ (asexual spore) และแบบมีเพศ (sexual spore) ชนิดไม่มีเพศ่แสดงลักษณะของ sporangio- spore หรือเกิด conidia จริงๆ ส่วนชนิดมีเพศสปอร์เกิดจากการรวมตัวของ gametangium 2 สาย ซึ่ง
ตารางที่ 2-1 Fungi subdivision Eumvcota (Ainsworth etal)
1.Presented perfect state spores
1.1 Class Zygomycetes (Phycomycetes)
Order Mucorales
Genus A bsidia
Genus Mucor
Genus Rhizopus
Genus Mortierella
Order Entomophthorales
Genus Basidiobolus
Genus Conidiobolus
1.2  Class Ascomycetes
Family Saccharomyceae
Genus Saccharomyces
1.3 Class Basidiomycetes
2. Presented imperfect state spores (Fungi imperfecti)
2.1 Order Torulopsidales
Family Cryptococcaseae
Genus Candida
Genus Cryptococcus
Genus Pityrosporum
Genus Rhodotorula
Genus Torulopsis
Genus Trichosporon
2.2 Order Moniliales (Hyphomycetes)
2.2.1 Dermatophytes
Genus Trichophyton
Genus Microsporum
Genus Epidermophyton
2.2.2 Dematiaceous fungi (Black molds)
Genus Phialophora
Genus Cladosporium
Genus Piedraia
Genus Madurella
Genus Pyrenochaeta
Genus Wangiella
Genus Exophiala
Genus Fonsecaea
2.2.3 Dimorphic fungi
Genus Histoplasma
Genus Blastomyces
Genus Coccidioides
Genus Paracoccidioides
Genus sporothrix
2.2.4 Contaminants
———————————
มีอยู่ 2 Order ที่สำคัญคือ Mucorales และ Entomophthorales
Mucorales
เชื้อนี้ชอบขึ้นในอาหารที่มีน้ำตาลสูง เช่น ผลไม้เน่าเปื่อย เชื้อสามารถก่อโรคในผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ทำให้เกิดการอักเสบที่บริเวณตาและจมูก สุดท้ายสามารถเข้าไปสู่สมองทำให้ผู้ป่วยมักถึงแก่กรรม เชื้อเหล่านี้ได้แก่
Absidia corymbifera (Cohn) Saccado and Trotter 1912
Mucor ramosissimus Samutsevitsch 1927
Rhizopus arrhizus Fischer 1892
Rhizopus oryzae Went and Prinsen, Gerlings 1895
นอกจากนี้เชื้อจีนัส Mortierella Coemans (1863) ก็สามารถทำให้เกิดแผลเรื้อรังขึ้นที่ผิวหนัง
Entomophthorales
เชื้อใน Order นี้มีความแตกต่างจาก Mucorales ตรงที่มี secondary conidia อันเกิดจาก primary conidia ที่สำคัญมีอยู่ 2 จีนัสคือ Basidiobolus และ Conidiobolus
Basidiobolus โดยทั่วไปอาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น คางคก กบ และ สัตว์เลื้อยคลาน เช่น จิ้งจก และทำให้เกิดโรคในคนขึ้นได้เรียกว่า Entomophthoramycosis basidiobolae ปัจจุบันเชื้อ Basidiobolus ที่ก่อโรคในคนมีชนิดเดียวคือ B. meristosporus (B. haptosporus) Drechsler 19473
Conidiobolus เป็นเชื้อที่รู้จักกันมานานคือ C. coronatus (Costantin) Batko (1964) ทำให้เกิด nasal polyp ในจมูกม้า Bras1 และคณะในปี พ.ศ.2508 ได้รายงานโรคเกิดขึ้นในคนที่บริเวณโพรง จมูก แล้วลามไปทำลายเนื้อเยื่อที่หน้า นอกจากนี้ยังมีเชื้อ C. incongruus ที่มีรายงานว่าก่อโรคขึ้นได้ที่ปอด ที่โรงพยาบาลศิริราชก็ได้พบผู้ป่วยหญิงอายุ 20 ปี มีก้อนที่หน้าอกซ้ายนานแรมเดือน มีอาการไอ ไข้ และนํ้าหนักลดอย่างรวดเร็ว ต่อมากึงแก่กรรม ตรวจศพพบว่าโรคเกิดจากเชื้อ C. megalotocus4
1.2 Ascomycetes
ส่วนมากได้แก่ส่า (yeast) ซึ่งสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) และมี ascospore เกิดในอับที่เรียกว่า ascus Family ที่สำคัญคือ Saccharomycetaceae เชื้อเหล่านี้มีความสามารถหมักและ ย่อยน้ำตาลได้ดี จึงมีความสำคัญในการทำเหล้า เบียร์ แป้งข้าวหมาก ขนมฟู และเชื้อ Saccharomyces cerevisiae มีรายงานก่อโรคฝ้าขาว (thrush) ขึ้นได้ ในปากเด็ก ปัจจุบัน perfect stage ของเชื้อ His- toplasma capsulatum (Ajellomyces capsulatus), Blastomyces dermatitidis (Ajellomyces dermatitidis), Scedosporium apiospermum (Pseudallescheria botjdii), เชื้อกลาก และเชื้อรา ในธรรมชาติ เช่น Aspergillus, Penicillium ก็นับรวมอยู่ในข้อนี้
1.3 Basidiomycetes
เชื้อกลุ่มนี้เป็นพวกเห็ด โดยมากมี fruiting body ขนาดใหญ่ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และบางชนิดใช้เป็นอาหาร สปอร์เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสต่างชนิดบน Basidium (ร่ม) เรียกว่า Basidio spore
เชื้อบางชนิดก่อโรคได้ในพืช เช่น rust และ smut นอกจากนี้ยังรวม perfect stage ของเชื้อ Cryptococcus neoformans (Filobasidiella neoformans) เข้าไว้ในกลุ่มนี้ด้วย
2.1 Torulopsidales
เชื้อรามีลักษณะเป็นส่า สายราไม่ชัดเจน หรือไม่มีวงศ์ (Family) ที่สำคัญคือ Cryptococcaceae ซึ่งมีการแตกหน่อ อาจมี pseudomycelium, true mycelium, chlamydospore และ arthrospore โคโลนีเป็นสีครีม เหลือง แดง หรือส้ม แบ่งเป็นจีนัสได้ดังนี้
Candida species
เป็นส่าที่ไม่สร้าง arthrospore แต่มี pseu¬domycelium และ true mycelium รวมทั้ง blastospore เช่น Candida albicans ซึ่งทำให้เกิด โรคได้อย่างกว้างขวางในคน
van Uden และ Buckley ในปี พ.ศ. 25133 รายงานเชื้อไว้ 81 ชนิด โดยใช้คุณสมบัติทางฟิสิกส์ในการหมักย่อยนํ้าตาลและไนเตรต
เชื้อก่อโรคในคนที่สำคัญมีอย่างน้อย 7 ชนิด
คือ5
C. albicans (Bobin) Berkhout 1923
C. stellatoides Jones et Martin 1938
C. tropicalis (Castellani) Berkhout 1923
C. krusei (Castellani) Berkhout 1923
C. parapsilosis (Ashford) Langeron et Talice 1959
C. pseudotropicalis (Castellani) Basgal 1931
C. guilliermondii Langeron et Guerra 1938
Cryptococcus species
เชื้อชนิดนี้เป็นส่าที่มีเมือกแคปซูลล้อมรอบ โคโลนีมีลักษณะเป็น
มูก (mucoid) เชื้อที่ก่อโรค ในคนมีชนิดเดียวคือ C. neoformans (Sanfelice) Vuillemin 19013 ทำให้เกิดโรค Cryptococcosis

Pityrosporum species
เชื้อจีนัสนี้มีการแบ่งตัวทางเดียว (monopolar budding) รูปร่างเป็นขวด อาหารเลี้ยงเชื้อต้องเติมไขมัน เช่น น้ำมันมะกอก ขึ้นได้ดีที่อุณหภมิ 30°-37°ซ. ในเวลาเซลล์แบ่งตัวจะทิ้งปลอกเดิมไว้ที่เซลล์แม่เป็นรอยลึก มองดูคล้ายปากขวด เชื้อนี้ได้รายงานเป็นครั้งแรกโดย Eickstedt ในปี พ.ศ.2389
Robin ได้บรรยายลักษณะของเชื้อราและให้ชื่อว่า Microsporon furfur เพราะเข้าใจผิดคิดว่าเชื้อสร้างสปอร์คล้าย Microsporum furfur Gordon เป็นคนแรกที่เพาะเลี้ยงจนแยกเชื้อได้เมื่อปี พ.ศ.2494 และเรียกเชื้อว่า Pityrosporum orbiculare และเนื่องจาก Sabouraud เป็นคนตั้งชื่อจีนัส Pityrosporum ดังนั้นชื่อที่ถูกต้องของเชื้อราจึงเป็น Pityrosporum orbiculare (Robin) Sabouraud 1904
Keddie (1968) เชื่อว่า Pityrosporum orbiculare เป็นเชื้อเดียวกับ Malassezia furfur Robin, Baillon (1889) ในระยะที่เชื้ออยู่ในวุ้นเพราะมีลักษณะเป็นรูปขวดเรียกว่า Pityrosporum orbiculare ส่วนเชื้อที่ขูดได้จากผิวหนังผู้ป่วยมีรูปร่างเป็นปล้องสั้นๆ เรียกว่า Malassezia furfur ส่วน M. ovalis (Bizz) Acton และ Panja 1927 เป็นเชื้อที่ไม่ก่อโรค
Rhodotorula species
ส่ากลุ่มนี้มี carotinoid pigment จึงมีสีสวยงาม แดง ส้ม เหลือง บางภาวะอาจสร้างสายราขึ้นได้ เชื้อแยกได้จากสิ่งส่งตรวจหลายชนิด เช่น ผิวหนัง เล็บ น้ำดี และเลือด ชนิดที่พบบ่อยคือ Rh. mucilaginosa Harrison, 1928 แต่ไม่ก่อโรคในคน
Torulopsis species
จัดเป็นส่าที่มีความรุนแรงตํ่า ไม่มีสายรา และ ascospore สปีชีส์ที่ก่อโรคในคนมีสปีชีส์เดียว คือ T. glabrate (Anderson), Lodder และ De Vries (1938) Batista และคณะ แยกได้จากผิวหนัง รังแค ผม เมื่อปี พ.ศ.2504 และในปีเดียวกันนี้ Mackenzie พบว่าเป็นส่าที่พบได้บ่อยในปัสสาวะ Peter ในปี พ.ศ.2507 ได้แยกเชื้อจากช่องคลอดหญิงชาวเชคโกจำนวน 6,258 ราย และพบเชื้อนี้ร้อย ละ 21.77 นอกจากนี้เชื้อสามารถก่อโรคขึ้นที่อวัยวะภายในและกระจายไปตามกระแสโลหิต
Trichosporon species
ส่าชนิดนี้มี arthrospore เป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญ ชนิดที่ก่อโรคในคนคือ Trichosporon beigelii (cutaneum) (Kuechenmeister and Rabenhorst) Vuillemin 1902 ซึ่งทำให้เกิดโรค white piedra
Dermatophytes
เป็นกลุ่มของเชื้อกลากซึ่ง Emmon ได้รวบรวมจัดระบบใหม่ให้เหลือเพียง 3 จีนัสคือ Microsporum, Trichophyton และ Epidermophyton (ตารางที่ 2-2) โดยอาศัยลักษณะของสปอร์เป็นหลัก ต่อมาพบว่า Microsporum และ Trichophyton บางชนิดเมื่อเลี้ยงบนผมที่อยู่บนดิน (hair bait) สามารถสร้าง cleistothecia ซึ่งเป็นการสืบพันธุ์แบบมีเพศ (perfect stage) ขึ้นมาได้
Perfect stage ของ Microsporum ชื่อ Nannizzia
Perfect stage ของ Trichophyton ชื่อ Arthroderma
นอกจากนี้ลักษณะของเชื้อกลากแต่ละชนิดก็มีความแตกต่างกันออกไป เช่น
Trichophyton มีผิวโคโลนีได้หลายรูปแบบ เช่น เป็นปุย ผง เนียน หรือเหมือนพรม ส่วนสีนั้น มีความแตกต่างกันออกไปตั้งแต่ขาว แดง ม่วง ส้ม เหลือง หรือน้ำตาล ถ้าดูด้วยกล้องจุลทรรศน์จะพบ microconidia จำนวนมากมาย ขนาดเล็ก เป็นเซลล์เดียวผนังบาง รูปกลมหรือรี แยกกันอยู่เป็นอิสระ หรือเป็นกลุ่มคล้ายรูปพวงองุ่นติดอยู่ข้างปล้องเชื้อ ส่วน macroconidia มีจำนวนน้อยกว่า หรือไม่มีเลยก็ได้ macroconidia มีขนาดใหญ่คล้ายรูปกระสวย และมีผนังกั้นเป็นห้องๆ ผนังไม่มีหนาม ขนาดกว้าง 4-6 ไมครอน ยาว 10-50 ไมครอน นอกจากนี้ อาจพบลักษณะพิเศษ เช่น racquet hyphae, coiled hyphae, chlamydospore และ nodular body
Microsporum มีผิวโคโลนีเป็นปุย ผงหรือ เหมือนพรม มีสีขาวจนถึงสีนํ้าตาล macroconidia มีขนาดใหญ่เป็นรูปกระสวยและผนังตะปุ่มตะป่ำ ส่วน microconidia เรียงตัวที่ก้านสปอร์อย่างอิสระ ไม่เป็นกลุ่ม
Epidermophyton มีผิวโคโลนีเหมือนพรม หรือเป็นผง ปรากฏร่องออกจากจุดกลาง โคโลนีมี สีเขียวอมเหลือง ในกล้องจุลทรรศน์พบ macroconidia รูปกระบองมีผนังขั้น 4 ห้อง ผิวเรียบ มักอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เชื้อนี้ไม่สร้าง microconidia อาจพบลักษณะอื่นๆ เช่น chlamydospore และ racquet hyphae
ตารางที่ 2-2 แสดงชนิดของ Dermatophijtes (Rippon 1982)
Epidermophyton Sabouraud, 1910
*E. floccosum (Harz, 1870) Langerson et Milochevith, 1930
E. stockdaleae Prochacki et Engelhard-Zasada 1974 Microsporum Gruby, 1843
M. amazonicum Moraes, Borelli et Feo, 1967
*M. audouini Gruby, 1843
M. boullardii Diminik et Majchrowicz, 1965
**M. canis Bodin, 1902
M. cookei Ajello, 1959
**M. distortum Di Menna et Marples, 1954
**M. equinum (Delacroix et Bodin 1896) Gueguen 1904

*M. ferrugineum Ota, 1921
*M. fulvum Uriburu 1909
*M. gallinae (Megnin 1881) Grigorakis 1929.
M. gypseum (Bodin 1907) Guiart et Grigorakis 1928
**M. nanum Fuentes, 1956
**M. persicolor (Sabouraud, 1910) Guiart et Grigorakis, 1928
M. praecox Rivalier, 1954
M. racemosum Borelli, 1965
**M. ripariae Hubabek et Rush-Munro 1973
M. vanbreuseghemii Georg, Ajello, Friedman, et Brinkman 1962 Trichophyton Malmsten, 1845
T. ajelloi (Vanbreusfghem, 1952) Ajello,1968
*T concentricum Blanchard, 1895
**T. equinum (Matruchot et Dassonville, 1898) Gedoelst, 1902 T. flavescens Padhye et Carmichael 1971
T. georgiae Varsavsky et Ajello, 1964
T. gloriae Ajello, 1967
*T. gourvilli Catanei, 1933
T. longifusus (Florian et Galgoczy, 1964) Ajello, 1968
*T. megninii Blanchard, 1896
**T. mentagrophytes (Robin, 1853) Blanchard, 1894
var. mentagrophytes
var. interdigitale
var. erinacei
var. quinckeanum
T. phaseoliforme Borelli et Feo, 1966
*T. rubrum (Castellani, 1910) Sabouraud, 1911
*T. schoenleinii (Lebert, 1845) Langeron et Milochevitch, 1930 **T. simii (Pinoy, 1912) Stockdale, Mackenize et Austwick, 1965 *T. soudanense Joyeux, 1912
T. terrestre Durie et Frey, 1957
*T. tonsurans Malmsten, 1845
T. Vanbreuseghemii Rioux, Tarry et Juminer, 1964
*T. verrucosum Bodin, 1902
*T. violaceum Bodin, 1902
*T. yaoundeiCochet et Doby Dubois 1957
*ส่วนใหญ่แยกได้จากคน    **ส่วนใหญ่แยกได้จากสัตว์
ที่เหลือพบในดิน
—————————————————————————–
เชื้อกลากสามารถจำแนกตามนิเวศน์วิทยา (Ecology) ได้ดังนี้
1. Geophilic คือพวกที่อยู่ในดิน อาศัยสาร เคอราตินจากซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยเลี้ยงชีพ เชื้ออาจติดอยู่ตามขนสัตว์ได้โดยไม่พบรอยโรค เช่น M. gypseum, M. cookei, M. vanbreuseghemii, M. fulvum, T. ajelloi, T. terrestre
2. Zoophilic คือพวกที่เป็นปรสิตในสัตว์เลี้ยงและอาจติดต่อมายังคน เช่น M. canis, T. mentagrophytes, T. gallinae หรือ T. verrucosum
3. Anthropophilic คือพวกที่เป็นปรสิตในคน เช่น E.floccosum, T.megninii, T. tonsurans, T. violaceum, T. schoenleinii และ T. concentricum
เชื้อ dermatophytes ที่แยกได้จากผู้ป่วยในสาขาวิชาตจวิทยา ที่โรงพยาบาลศิริราช คือ T. rubrum, T. mentagrophytes, E. floccosum, M. canis และ M. gypseum
Dematiaceous fungus (Black molds)
เชื้อรากลุ่มนี้มีโคโลนีเป็นสีดำหรือม่วงแก่ โคโลนีอ่อนเห็นเป็นสีขาวหรือสีนวล แต่พอแก่จะมีสีเทา นํ้าตาล หรือดำ พบได้ตามดิน เชื้อสร้างสปอร์ ได้ 3 แบบคือ
1. Phialophora type เชื้อมีก้านชูสปอร์ เป็นรูปแจกัน สปอร์รูปร่างรีรวมเป็นกลุ่มอยู่ที่ปากแจกันมองคล้ายดอกไม้ที่ปักอยู่
2. Acrotheca type ก้านชูสปอร์ตรงปลายเรียวลง สปอร์รูปร่างรี รวมกันเป็นกลุ่มอยู่ตรงปลาย และไม่มีกิ่งก้านสาขา
3. Cladosporium type ก้านชูของสปอร์ตรง มีสปอร์รูปรีอยู่ตรงปลาย แต่สปอร์มีการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อนเพิ่มขนยาวออกมา สปอร์อันหนึ่งอาจแบ่งได้หลายจุด สปอร์ที่แบ่งตัวมองดูคล้ายกิ่งไม้
เชื้อราดำก่อให้เกิดโรคดังนี้
1. Chromoblastomycosis ก่อโรคในผิวหนังชั้นลึก ได้แก่เชื้อ
Phialophora verrucosa Medlar 1915
Fonsecaea pedrosoi (Brumpt) Negrant 1936
F. compacta (Carrian) Carrian 1940
Wangiella dermatitidis (Kano 1934) Me Ginnis 1977
Cladosporium carrionii Trejos 1954
2. Cutaneous phaeohyphomycosis ก่อโรคเป็นโพรงหนองอักเสบ ได้แก่เชื้อ
Exophiala spinifera (Nielsen et Conant) Mc Ginnis 1977
Phialophora richardsiae (Melin et Nannf ) Conant 1937
P. parasitica Ajello, Georg, Steigbigel et Wang 1974
P. repens (Davidson) Conant 1937
3. Black peidra โคโลนีของเชื้อเกิดขึ้นจับติดที่ผม ขน เช่น ขนตาเกิดจากเชื้อ Piedraia hortai (Brumpt) Fonseca et Area Leao 1928
4. Tinea nigra ก่อโรคบริเวณฝ่ามือ เป็นดวงสีดำสกปรกคล้ายถูกต้องเกลือเงิน เกิดจากเชื้อ Exophiala wernickii (Horta) van Arx 1970
5. Eumycotic mycetoma โรคอาจเกิดจากราดำหรือเชื้อราในธรรมชาติ เชื้อก่อโรคได้แก่
Pseudallescheria boydii (Shear 1922) Me Ginnis, Padhye et Ajello 1982
Exophiala jeanselmei (Langeron) Me Ginnis et Padhye 1977
Madurella mycetomatis (Laveran) Brumpt 1905
Madurella grisea Mackinnan, Ferrada et Mantemayer 1949
Pyrenochaeta romeroi Borelli 1959
นอกจากนี้ราดำอาจก่อโรคต่ออวัยวะภายใน เช่นที่สมองได้ เชื้อเหล่านี้คือ
C. trichoides Emmons 1952
C. bantianum (Sacc.) Borelli 1960
Dimorphic fungus (ราทวิรูป)
เชื้อกลุ่มนี้เมื่ออยู่ในร่างกายคนจะมีสภาพเป็น ส่า แต่ถ้าเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบัติการจะมีสภาพเป็นราสาย ซึ่งสามารถทำให้เป็นส่าในห้องปฏิบัติการได้ โดยเลี้ยงในวุ้นเพาะพิเศษ เช่น brain heart in¬fusion blood agar โดยบ่มเชื้อไว้ที่ 37°ซ. ราทวิรูปมีด้วยกันหลายชนิด โชคดีที่ในประเทศไทยมีรายงานเพียงชนิดเดียวคือ H. capsulatum Darling, 1906 ซึ่งก่อโรค Histoplasmosis
Contaminant (เชื้อราแปลกปลอม)
เชื้อราเหล่านี้ส่วนใหญ่มีผนังกั้น (septatemycelium) พบได้ในธรรมชาติ เช่น ในดิน นํ้า อากาศ ซึ่งอาจก่อโรคภูมิแพ้หรือ mycetoma นอกจากนั้นยังสามารถก่อโรคที่ผิวของตาดำและหูชั้นนอก ในภาวะที่ร่างกายอ่อนแอ เช่น เป็นโรคมะเร็ง ทุพโภชนาการ เชื้อเหล่านี้อาจก่อโรคที่อวัยวะภายในได้ เชื้อที่พบได้บ่อยคือ
Alternaria Nees ex Wallroth, 1833 Nam, Cons.
Aspergillus Wichell ex Link 1809
Cephalosporium Corda 1839
Cladosporium Link ex Gray 1821
Curvularia Boedijn 1933
ตารางที่ 2-3 Higher bacteria Order: Actinomycetales Buchanan 1917 (Holt)
1. รูปร่างไม่เป็นสาย เซลส์อาจต่อกันหรือเรียงตัวคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ไม่มีสปอร์
1.1 ติดสีทนกรด
Family     : Mycobacteriaceae
Genus    : Mycobacterium Lehmann and Neumann 1896
Disease     : Tuberculosis, Leprosy
1.2 ไม่ติดสีทนกรด ไม่ใช้ออกซิเจน
Family     : Actinomycetaceae
Genus    : Actinomyces Harz 1877
Disease     : Actinomycosis
2. รูปร่างเป็นสาย
2.1 สายหักได้ง่าย ใช้ออกซิเจน ติดสีทนกรดบ้าง (Partial acid fast) มีสปอร์
Family    : Nocardiaceae
Genus    : Nocardia Trevisan 1889
Disease     : Nocardiosis, Actinomycotic mycetoma
2.2 สายแบ่งตัวตามยาวและตามขวาง เป็นกลุ่มกลม เคลื่อนไหวได้ ไม่มีสายราอากาศ
Family     : Dermatophilaceae
Genus    : Dermatophilus van Sacegham 1915
Disease     : Dermatophilosis
2.3 สายหักยาก ใช้ออกซิเจน มีสายราอากาศ และสปอร์ต่อกันเป็นสายยาว
Family     : Streptomycetaceae
Genus    : Streptomyces Waksman and Henrici 1943
Disease     : Actinomycotic mycetoma
———————————————————————————–
Fusarium Link ex Gray 1821
Geotrichum Link 1809
Penicillium Link ex Gray 1821
Scedosporium Castellani 1927
มีรายงานผู้ป่วย Penicillosis จากโรงพยาบาลรามาธิบดีที่เกิดจากเชื้อ Penicillium marneffei 4 ราย ในจำนวนนี้ 3 รายเป็น Compromised host การตรวจชิ้นเนื้อพบเชื้อรารูปเป็น yeast อยู่ใน Reticulo-endothelial system แบบ Histoplasmosis
ราหม้อเล็ก (Chytrid) จัดอยู่ใน Order Chytridiales สัณฐานคล้ายหม้อข้าว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-100 ไมครอน อยู่ในที่ชื้นแฉะและในนํ้า จัดเป็นราชนิดเซลล์เดียว พอเซลล์แก่เกิดการแบ่งตัว ภายในได้ endospore ตัวก่อโรคในคนคือ Rhinosporidium seeberii (Wernicke) Seeber 1912 แบคทีเรียชั้นสูง Order Actinomycetales (ตารางที่ 2-3)
1. Actinomyces species
เชื้อจีนัสนี้รูปหักเป็นท่อนคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ขนาด 0.5-1.0 ไมครอน ไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobe) และไม่ติดสีทนกรด มีอยู่ปกติในช่องปากคน ตัวก่อโรคในคนคือ Actinomyces israelii (Kruse) Lachner-Sandaval 1898
2. Nocardia species
เชื้อ Nocardia พบได้ตามดิน ในบรรยากาศที่มีออกซิเจน (aerobe) ติดสี partial acid fast มีสปอร์ โดยปกติเชื้อนี้เรียงตัวเป็นสาย แต่ถ้าถูกกระทบกระแทกสายขาดจากกันง่าย ตัวก่อโรคในคนคือ
N. asteroides (Eppinger 1891) Blanchard, 1895
N. brasiliensis (Lindenberg, 1909) Cas¬tellani and Chalmers, 1913
N. caviae (Erickson) Gardan and Mihm,1962
3. Dermatophilus species
เชื้อ Dermatophilus ก่อโรคในสัตว์ เช่น แกะ วัว ควาย ติดต่อมายังคนได้ รูปร่างเป็นสาย มีการแบ่งตัวทั้งตามยาวและตามขวาง แบ่งแล้วเป็นรูปกลม อยู่กันเป็นกลุ่มคล้ายแบคทีเรียชั้นตํ่า เมื่อแก่ตัวสาย ปลดปล่อย Zoospore ขนาด 0.3-0.5 ไมครอน เคลื่อนไหวได้ ชอบบรรยากาศที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ ติดสีแกรมบวก ไม่ติดสีทนกรด ตัวก่อโรคในคนคือ Dermatophilus congolensis Van Saceghem 1915
4. Streptomyces species
เชื้อ Streptomyces ต่อกันเป็นสายยาวไม่ขาดจากกัน ต้องการบรรยากาศที่มีออกซิเจน ไม่ติดสีทนกรด มีสปอร์ต่อกันเป็นสาย ตัวก่อโรคในคนคือ Streptomyces somaliensis (Brumpt) Waksman and Henrici 1948
5. Coryneform Actinomycetes
ติดสีกรัมบวก รูปเป็นเส้นตรงหรือโค้งเล็กน้อย ไม่เป็นสาย ติดสีไม่สมํ่าเสมอ
Family : Corynebacteriaceae
Genus : Corynebacterium Lehmann and Neumann, 1896 Disease : Erythrasma, Trichomycosis axillaris, Pitted keratolysis     เชื้อ Corynebacterium ติดสีกรัมบวก ขึ้นได้ดีในบรรยากาศที่ร้อนและชื้นอย่างประเทศไทย ตัวก่อโรคในคนคือ
Corynebacterium tenuis (Castellani) Crissey et al. 1952
C. minutissimum (Burchardt) Sarkany, Taplin and Blank 1961
นอกจากนี้สาหร่าย (algae) ที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจก่อโรคที่ผิวหนังและอวัยวะภายในได้คือ Prototheca โคโลนีเป็นเนยแบบส่า มีการสืบพันธุ์แบบ asexual spore ชนิด endospore ภายในถุงสปอร์ (sporangium) บางคนเรียกว่า theca cell ภายใน มี 2-10 endospore เมื่อแก่ตัวจะแตกออก เชื้อนี้พบได้ในน้ำ ตัวก่อโรคในคนขึ้นได้ที่ 37°ซ. คือ Prototheca zopfii Krueger 1894 และ P. wickerhamii Tubaki et Saneda 1953
ที่มา:เสาวรส  อิ่มวิทยา

*M. ferrugineum Ota, 1921*M. fulvum Uriburu 1909*M. gallinae (Megnin 1881) Grigorakis 1929.M. gypseum (Bodin 1907) Guiart et Grigorakis 1928**M. nanum Fuentes, 1956**M. persicolor (Sabouraud, 1910) Guiart et Grigorakis, 1928M. praecox Rivalier, 1954M. racemosum Borelli, 1965**M. ripariae Hubabek et Rush-Munro 1973M. vanbreuseghemii Georg, Ajello, Friedman, et Brinkman 1962 Trichophyton Malmsten, 1845T. ajelloi (Vanbreusfghem, 1952) Ajello,1968*T concentricum Blanchard, 1895**T. equinum (Matruchot et Dassonville, 1898) Gedoelst, 1902 T. flavescens Padhye et Carmichael 1971T. georgiae Varsavsky et Ajello, 1964T. gloriae Ajello, 1967*T. gourvilli Catanei, 1933T. longifusus (Florian et Galgoczy, 1964) Ajello, 1968*T. megninii Blanchard, 1896**T. mentagrophytes (Robin, 1853) Blanchard, 1894var. mentagrophytesvar. interdigitalevar. erinaceivar. quinckeanumT. phaseoliforme Borelli et Feo, 1966*T. rubrum (Castellani, 1910) Sabouraud, 1911*T. schoenleinii (Lebert, 1845) Langeron et Milochevitch, 1930 **T. simii (Pinoy, 1912) Stockdale, Mackenize et Austwick, 1965 *T. soudanense Joyeux, 1912T. terrestre Durie et Frey, 1957*T. tonsurans Malmsten, 1845T. Vanbreuseghemii Rioux, Tarry et Juminer, 1964*T. verrucosum Bodin, 1902*T. violaceum Bodin, 1902*T. yaoundeiCochet et Doby Dubois 1957*ส่วนใหญ่แยกได้จากคน **ส่วนใหญ่แยกได้จากสัตว์ที่เหลือพบในดิน—————————————————————————–เชื้อกลากสามารถจำแนกตามนิเวศน์วิทยา (Ecology) ได้ดังนี้คือพวกที่อยู่ในดิน อาศัยสาร เคอราตินจากซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยเลี้ยงชีพ เชื้ออาจติดอยู่ตามขนสัตว์ได้โดยไม่พบรอยโรค เช่น M. gypseum, M. cookei, M. vanbreuseghemii, M. fulvum, T. ajelloi, T. terrestreคือพวกที่เป็นปรสิตในสัตว์เลี้ยงและอาจติดต่อมายังคน เช่น M. canis, T. mentagrophytes, T. gallinae หรือ T. verrucosumคือพวกที่เป็นปรสิตในคน เช่น E.floccosum, T.megninii, T. tonsurans, T. violaceum, T. schoenleinii และ T. concentricumเชื้อ dermatophytes ที่แยกได้จากผู้ป่วยในสาขาวิชาตจวิทยา ที่โรงพยาบาลศิริราช คือ T. rubrum, T. mentagrophytes, E. floccosum, M. canis และ M. gypseumเชื้อรากลุ่มนี้มีโคโลนีเป็นสีดำหรือม่วงแก่ โคโลนีอ่อนเห็นเป็นสีขาวหรือสีนวล แต่พอแก่จะมีสีเทา นํ้าตาล หรือดำ พบได้ตามดิน เชื้อสร้างสปอร์ ได้ 3 แบบคือเชื้อมีก้านชูสปอร์ เป็นรูปแจกัน สปอร์รูปร่างรีรวมเป็นกลุ่มอยู่ที่ปากแจกันมองคล้ายดอกไม้ที่ปักอยู่ก้านชูสปอร์ตรงปลายเรียวลง สปอร์รูปร่างรี รวมกันเป็นกลุ่มอยู่ตรงปลาย และไม่มีกิ่งก้านสาขาก้านชูของสปอร์ตรง มีสปอร์รูปรีอยู่ตรงปลาย แต่สปอร์มีการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อนเพิ่มขนยาวออกมา สปอร์อันหนึ่งอาจแบ่งได้หลายจุด สปอร์ที่แบ่งตัวมองดูคล้ายกิ่งไม้ก่อโรคในผิวหนังชั้นลึก ได้แก่เชื้อPhialophora verrucosa Medlar 1915Fonsecaea pedrosoi (Brumpt) Negrant 1936F. compacta (Carrian) Carrian 1940Wangiella dermatitidis (Kano 1934) Me Ginnis 1977Cladosporium carrionii Trejos 1954ก่อโรคเป็นโพรงหนองอักเสบ ได้แก่เชื้อExophiala spinifera (Nielsen et Conant) Mc Ginnis 1977Phialophora richardsiae (Melin et Nannf ) Conant 1937P. parasitica Ajello, Georg, Steigbigel et Wang 1974P. repens (Davidson) Conant 1937โคโลนีของเชื้อเกิดขึ้นจับติดที่ผม ขน เช่น ขนตาเกิดจากเชื้อ Piedraia hortai (Brumpt) Fonseca et Area Leao 1928ก่อโรคบริเวณฝ่ามือ เป็นดวงสีดำสกปรกคล้ายถูกต้องเกลือเงิน เกิดจากเชื้อ Exophiala wernickii (Horta) van Arx 1970โรคอาจเกิดจากราดำหรือเชื้อราในธรรมชาติ เชื้อก่อโรคได้แก่Pseudallescheria boydii (Shear 1922) Me Ginnis, Padhye et Ajello 1982Exophiala jeanselmei (Langeron) Me Ginnis et Padhye 1977Madurella mycetomatis (Laveran) Brumpt 1905Madurella grisea Mackinnan, Ferrada et Mantemayer 1949Pyrenochaeta romeroi Borelli 1959นอกจากนี้ราดำอาจก่อโรคต่ออวัยวะภายใน เช่นที่สมองได้ เชื้อเหล่านี้คือC. trichoides Emmons 1952C. bantianum (Sacc.) Borelli 1960Dimorphic fungus (ราทวิรูป)เชื้อกลุ่มนี้เมื่ออยู่ในร่างกายคนจะมีสภาพเป็น ส่า แต่ถ้าเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบัติการจะมีสภาพเป็นราสาย ซึ่งสามารถทำให้เป็นส่าในห้องปฏิบัติการได้ โดยเลี้ยงในวุ้นเพาะพิเศษ เช่น brain heart in¬fusion blood agar โดยบ่มเชื้อไว้ที่ 37°ซ. ราทวิรูปมีด้วยกันหลายชนิด โชคดีที่ในประเทศไทยมีรายงานเพียงชนิดเดียวคือ H. capsulatum Darling, 1906 ซึ่งก่อโรค Histoplasmosisเชื้อราเหล่านี้ส่วนใหญ่มีผนังกั้น (septatemycelium) พบได้ในธรรมชาติ เช่น ในดิน นํ้า อากาศ ซึ่งอาจก่อโรคภูมิแพ้หรือ mycetoma นอกจากนั้นยังสามารถก่อโรคที่ผิวของตาดำและหูชั้นนอก ในภาวะที่ร่างกายอ่อนแอ เช่น เป็นโรคมะเร็ง ทุพโภชนาการ เชื้อเหล่านี้อาจก่อโรคที่อวัยวะภายในได้ เชื้อที่พบได้บ่อยคือAlternaria Nees ex Wallroth, 1833 Nam, Cons.Aspergillus Wichell ex Link 1809Cephalosporium Corda 1839Cladosporium Link ex Gray 1821Curvularia Boedijn 19331. รูปร่างไม่เป็นสาย เซลส์อาจต่อกันหรือเรียงตัวคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ไม่มีสปอร์1.1 ติดสีทนกรดFamily : MycobacteriaceaeGenus : Mycobacterium Lehmann and Neumann 1896Disease : Tuberculosis, Leprosy1.2 ไม่ติดสีทนกรด ไม่ใช้ออกซิเจนFamily : ActinomycetaceaeGenus : Actinomyces Harz 1877Disease : Actinomycosis2. รูปร่างเป็นสาย2.1 สายหักได้ง่าย ใช้ออกซิเจน ติดสีทนกรดบ้าง (Partial acid fast) มีสปอร์Family : NocardiaceaeGenus : Nocardia Trevisan 1889Disease : Nocardiosis, Actinomycotic mycetoma2.2 สายแบ่งตัวตามยาวและตามขวาง เป็นกลุ่มกลม เคลื่อนไหวได้ ไม่มีสายราอากาศFamily : DermatophilaceaeGenus : Dermatophilus van Sacegham 1915Disease : Dermatophilosis2.3 สายหักยาก ใช้ออกซิเจน มีสายราอากาศ และสปอร์ต่อกันเป็นสายยาวFamily : StreptomycetaceaeGenus : Streptomyces Waksman and Henrici 1943Disease : Actinomycotic mycetoma———————————————————————————–Fusarium Link ex Gray 1821Geotrichum Link 1809Penicillium Link ex Gray 1821Scedosporium Castellani 1927มีรายงานผู้ป่วย Penicillosis จากโรงพยาบาลรามาธิบดีที่เกิดจากเชื้อ Penicillium marneffei 4 ราย ในจำนวนนี้ 3 รายเป็น Compromised host การตรวจชิ้นเนื้อพบเชื้อรารูปเป็น yeast อยู่ใน Reticulo-endothelial system แบบ Histoplasmosisราหม้อเล็ก (Chytrid) จัดอยู่ใน Order Chytridiales สัณฐานคล้ายหม้อข้าว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-100 ไมครอน อยู่ในที่ชื้นแฉะและในนํ้า จัดเป็นราชนิดเซลล์เดียว พอเซลล์แก่เกิดการแบ่งตัว ภายในได้ endospore ตัวก่อโรคในคนคือ Rhinosporidium seeberii (Wernicke) Seeber 1912 แบคทีเรียชั้นสูง Order Actinomycetales (ตารางที่ 2-3)เชื้อจีนัสนี้รูปหักเป็นท่อนคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ขนาด 0.5-1.0 ไมครอน ไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobe) และไม่ติดสีทนกรด มีอยู่ปกติในช่องปากคน ตัวก่อโรคในคนคือ Actinomyces israelii (Kruse) Lachner-Sandaval 1898เชื้อ Nocardia พบได้ตามดิน ในบรรยากาศที่มีออกซิเจน (aerobe) ติดสี partial acid fast มีสปอร์ โดยปกติเชื้อนี้เรียงตัวเป็นสาย แต่ถ้าถูกกระทบกระแทกสายขาดจากกันง่าย ตัวก่อโรคในคนคือN. asteroides (Eppinger 1891) Blanchard, 1895N. brasiliensis (Lindenberg, 1909) Cas¬tellani and Chalmers, 1913N. caviae (Erickson) Gardan and Mihm,1962เชื้อ Dermatophilus ก่อโรคในสัตว์ เช่น แกะ วัว ควาย ติดต่อมายังคนได้ รูปร่างเป็นสาย มีการแบ่งตัวทั้งตามยาวและตามขวาง แบ่งแล้วเป็นรูปกลม อยู่กันเป็นกลุ่มคล้ายแบคทีเรียชั้นตํ่า เมื่อแก่ตัวสาย ปลดปล่อย Zoospore ขนาด 0.3-0.5 ไมครอน เคลื่อนไหวได้ ชอบบรรยากาศที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ ติดสีแกรมบวก ไม่ติดสีทนกรด ตัวก่อโรคในคนคือ Dermatophilus congolensis Van Saceghem 1915เชื้อ Streptomyces ต่อกันเป็นสายยาวไม่ขาดจากกัน ต้องการบรรยากาศที่มีออกซิเจน ไม่ติดสีทนกรด มีสปอร์ต่อกันเป็นสาย ตัวก่อโรคในคนคือ Streptomyces somaliensis (Brumpt) Waksman and Henrici 1948ติดสีกรัมบวก รูปเป็นเส้นตรงหรือโค้งเล็กน้อย ไม่เป็นสาย ติดสีไม่สมํ่าเสมอFamily : CorynebacteriaceaeGenus : Corynebacterium Lehmann and Neumann, 1896 Disease : Erythrasma, Trichomycosis axillaris, Pitted keratolysis เชื้อ Corynebacterium ติดสีกรัมบวก ขึ้นได้ดีในบรรยากาศที่ร้อนและชื้นอย่างประเทศไทย ตัวก่อโรคในคนคือCorynebacterium tenuis (Castellani) Crissey et al. 1952C. minutissimum (Burchardt) Sarkany, Taplin and Blank 1961นอกจากนี้สาหร่าย (algae) ที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจก่อโรคที่ผิวหนังและอวัยวะภายในได้คือ Prototheca โคโลนีเป็นเนยแบบส่า มีการสืบพันธุ์แบบ asexual spore ชนิด endospore ภายในถุงสปอร์ (sporangium) บางคนเรียกว่า theca cell ภายใน มี 2-10 endospore เมื่อแก่ตัวจะแตกออก เชื้อนี้พบได้ในน้ำ ตัวก่อโรคในคนขึ้นได้ที่ 37°ซ. คือ Prototheca zopfii Krueger 1894 และ P. wickerhamii Tubaki et Saneda 1953

[NEW] | zoospore คือ – NATAVIGUIDES

Classification of Pathogenic Fungi
กลุ่มจุลินทรีย์ที่รู้จักกันดีแต่ครั้งโบราณและก่อประโยชน์คู่กันมากับมวลมนุษย์มากที่สุดคงจะได้แก่ เชื้อรา (fungus) เชื้อเหล่านี้ได้ถูกนำมาใช้ทั้งทางตรงและทางอ้อมในชีวิตประจำวันอยู่เสมอ เช่น การ ประกอบอาหาร อุตสาหกรรมเหล้า เบียร์ เนยแข็ง หรือแม้แต่จะนำมาสกัดเป็นยารักษาโรค ดังที่ทราบคุ้นหูคือ เพนิซิลลิน
เชื้อรามีทั้งชนิดที่ให้คุณดังได้กล่าวมาแล้วและชนิดที่อาจเป็นภัยต่อมนุษย์ กล่าวคือภัยจากพิษของมันโดยตรง เช่น รับประทานเห็ดเมา นอกจากนั้น เชื้อราบางชนิดยังสามารถก่อโรคต่อร่างกายมนุษย์ ตั้งแต่มีอาการเพียงเล็กน้อยที่ผิวหนังไปจนถึงกับเสียชีวิต เนื่องจากเชื้อเหล่านี้เข้าไปทำอันตรายอวัยวะภายใน
ปัจจุบันมีเชื้อราที่ขึ้นทะเบียนชื่อไว้มากกว่า 200,000 ชนิด บางชื่อก็ตั้งชื้นซํ้าของเดิม เชื้อเหล่านี้นอกจากก่อโรคขึ้นในคนแล้วยังก่อโรคได้ในพืชและสัตว์นานาชนิด เชื้อที่ก่อโรคในคนจัดอยู่ใน subdi¬vision Eumycota2 (ตารางที่ 2-1) ซึ่งสามารถจำแนกโดยอาศัยการสืบพันธุ์เป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือ
1. พวกที่สืบพันธุ์แบบมีเพศ (presented perfect state spores)
เชื้อราบางชนิดมีการสืบพันธุ์อย่างง่ายๆ โดยสายรา 2 เพศมารวมกันกลายเป็นเพศที่สมบูรณ์ ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 class คือ
1.1    Zygomycetes (Phycornycetes)
1.2    Ascomycetes
1.3    Basidiomycetes
2. พวกที่สืบพันธุ์แบบไม่มีเพศ (presented imperfect state spores, Fungi imperfecti)
เชื้อขยายพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) สร้างสปอร์ในภาวะที่เหมาะสม เชื้อกลุ่มนี้บางชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบมีเพศได้ เช่น Histoplasma capsidatum เชื้อที่เกี่ยวข้องกับคนพบได้ 2 orders คือ
2.1 Torulopsidales
2.2 Hyphomycetes
ในที่นี้จะกล่าวรายละเอียดเฉพาะเชื้อราที่พบในประเทศไทยเท่านั้น
1.1 Zygomycetes (Phycomycetes)
เชื้อใน class Zygomycetes จัดเป็นราชั้นตํ่า ไม่มีผนังกั้น (coenocytic) สร้างสปอร์ทั้งแบบไม่มีเพศ (asexual spore) และแบบมีเพศ (sexual spore) ชนิดไม่มีเพศ่แสดงลักษณะของ sporangio- spore หรือเกิด conidia จริงๆ ส่วนชนิดมีเพศสปอร์เกิดจากการรวมตัวของ gametangium 2 สาย ซึ่ง
ตารางที่ 2-1 Fungi subdivision Eumvcota (Ainsworth etal)
1.Presented perfect state spores
1.1 Class Zygomycetes (Phycomycetes)
Order Mucorales
Genus A bsidia
Genus Mucor
Genus Rhizopus
Genus Mortierella
Order Entomophthorales
Genus Basidiobolus
Genus Conidiobolus
1.2  Class Ascomycetes
Family Saccharomyceae
Genus Saccharomyces
1.3 Class Basidiomycetes
2. Presented imperfect state spores (Fungi imperfecti)
2.1 Order Torulopsidales
Family Cryptococcaseae
Genus Candida
Genus Cryptococcus
Genus Pityrosporum
Genus Rhodotorula
Genus Torulopsis
Genus Trichosporon
2.2 Order Moniliales (Hyphomycetes)
2.2.1 Dermatophytes
Genus Trichophyton
Genus Microsporum
Genus Epidermophyton
2.2.2 Dematiaceous fungi (Black molds)
Genus Phialophora
Genus Cladosporium
Genus Piedraia
Genus Madurella
Genus Pyrenochaeta
Genus Wangiella
Genus Exophiala
Genus Fonsecaea
2.2.3 Dimorphic fungi
Genus Histoplasma
Genus Blastomyces
Genus Coccidioides
Genus Paracoccidioides
Genus sporothrix
2.2.4 Contaminants
———————————
มีอยู่ 2 Order ที่สำคัญคือ Mucorales และ Entomophthorales
Mucorales
เชื้อนี้ชอบขึ้นในอาหารที่มีน้ำตาลสูง เช่น ผลไม้เน่าเปื่อย เชื้อสามารถก่อโรคในผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ทำให้เกิดการอักเสบที่บริเวณตาและจมูก สุดท้ายสามารถเข้าไปสู่สมองทำให้ผู้ป่วยมักถึงแก่กรรม เชื้อเหล่านี้ได้แก่
Absidia corymbifera (Cohn) Saccado and Trotter 1912
Mucor ramosissimus Samutsevitsch 1927
Rhizopus arrhizus Fischer 1892
Rhizopus oryzae Went and Prinsen, Gerlings 1895
นอกจากนี้เชื้อจีนัส Mortierella Coemans (1863) ก็สามารถทำให้เกิดแผลเรื้อรังขึ้นที่ผิวหนัง
Entomophthorales
เชื้อใน Order นี้มีความแตกต่างจาก Mucorales ตรงที่มี secondary conidia อันเกิดจาก primary conidia ที่สำคัญมีอยู่ 2 จีนัสคือ Basidiobolus และ Conidiobolus
Basidiobolus โดยทั่วไปอาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ เช่น คางคก กบ และ สัตว์เลื้อยคลาน เช่น จิ้งจก และทำให้เกิดโรคในคนขึ้นได้เรียกว่า Entomophthoramycosis basidiobolae ปัจจุบันเชื้อ Basidiobolus ที่ก่อโรคในคนมีชนิดเดียวคือ B. meristosporus (B. haptosporus) Drechsler 19473
Conidiobolus เป็นเชื้อที่รู้จักกันมานานคือ C. coronatus (Costantin) Batko (1964) ทำให้เกิด nasal polyp ในจมูกม้า Bras1 และคณะในปี พ.ศ.2508 ได้รายงานโรคเกิดขึ้นในคนที่บริเวณโพรง จมูก แล้วลามไปทำลายเนื้อเยื่อที่หน้า นอกจากนี้ยังมีเชื้อ C. incongruus ที่มีรายงานว่าก่อโรคขึ้นได้ที่ปอด ที่โรงพยาบาลศิริราชก็ได้พบผู้ป่วยหญิงอายุ 20 ปี มีก้อนที่หน้าอกซ้ายนานแรมเดือน มีอาการไอ ไข้ และนํ้าหนักลดอย่างรวดเร็ว ต่อมากึงแก่กรรม ตรวจศพพบว่าโรคเกิดจากเชื้อ C. megalotocus4
1.2 Ascomycetes
ส่วนมากได้แก่ส่า (yeast) ซึ่งสืบพันธุ์โดยการแตกหน่อ (budding) และมี ascospore เกิดในอับที่เรียกว่า ascus Family ที่สำคัญคือ Saccharomycetaceae เชื้อเหล่านี้มีความสามารถหมักและ ย่อยน้ำตาลได้ดี จึงมีความสำคัญในการทำเหล้า เบียร์ แป้งข้าวหมาก ขนมฟู และเชื้อ Saccharomyces cerevisiae มีรายงานก่อโรคฝ้าขาว (thrush) ขึ้นได้ ในปากเด็ก ปัจจุบัน perfect stage ของเชื้อ His- toplasma capsulatum (Ajellomyces capsulatus), Blastomyces dermatitidis (Ajellomyces dermatitidis), Scedosporium apiospermum (Pseudallescheria botjdii), เชื้อกลาก และเชื้อรา ในธรรมชาติ เช่น Aspergillus, Penicillium ก็นับรวมอยู่ในข้อนี้
1.3 Basidiomycetes
เชื้อกลุ่มนี้เป็นพวกเห็ด โดยมากมี fruiting body ขนาดใหญ่ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และบางชนิดใช้เป็นอาหาร สปอร์เกิดจากการรวมตัวของนิวเคลียสต่างชนิดบน Basidium (ร่ม) เรียกว่า Basidio spore
เชื้อบางชนิดก่อโรคได้ในพืช เช่น rust และ smut นอกจากนี้ยังรวม perfect stage ของเชื้อ Cryptococcus neoformans (Filobasidiella neoformans) เข้าไว้ในกลุ่มนี้ด้วย
2.1 Torulopsidales
เชื้อรามีลักษณะเป็นส่า สายราไม่ชัดเจน หรือไม่มีวงศ์ (Family) ที่สำคัญคือ Cryptococcaceae ซึ่งมีการแตกหน่อ อาจมี pseudomycelium, true mycelium, chlamydospore และ arthrospore โคโลนีเป็นสีครีม เหลือง แดง หรือส้ม แบ่งเป็นจีนัสได้ดังนี้
Candida species
เป็นส่าที่ไม่สร้าง arthrospore แต่มี pseu¬domycelium และ true mycelium รวมทั้ง blastospore เช่น Candida albicans ซึ่งทำให้เกิด โรคได้อย่างกว้างขวางในคน
van Uden และ Buckley ในปี พ.ศ. 25133 รายงานเชื้อไว้ 81 ชนิด โดยใช้คุณสมบัติทางฟิสิกส์ในการหมักย่อยนํ้าตาลและไนเตรต
เชื้อก่อโรคในคนที่สำคัญมีอย่างน้อย 7 ชนิด
คือ5
C. albicans (Bobin) Berkhout 1923
C. stellatoides Jones et Martin 1938
C. tropicalis (Castellani) Berkhout 1923
C. krusei (Castellani) Berkhout 1923
C. parapsilosis (Ashford) Langeron et Talice 1959
C. pseudotropicalis (Castellani) Basgal 1931
C. guilliermondii Langeron et Guerra 1938
Cryptococcus species
เชื้อชนิดนี้เป็นส่าที่มีเมือกแคปซูลล้อมรอบ โคโลนีมีลักษณะเป็น
มูก (mucoid) เชื้อที่ก่อโรค ในคนมีชนิดเดียวคือ C. neoformans (Sanfelice) Vuillemin 19013 ทำให้เกิดโรค Cryptococcosis

Pityrosporum species
เชื้อจีนัสนี้มีการแบ่งตัวทางเดียว (monopolar budding) รูปร่างเป็นขวด อาหารเลี้ยงเชื้อต้องเติมไขมัน เช่น น้ำมันมะกอก ขึ้นได้ดีที่อุณหภมิ 30°-37°ซ. ในเวลาเซลล์แบ่งตัวจะทิ้งปลอกเดิมไว้ที่เซลล์แม่เป็นรอยลึก มองดูคล้ายปากขวด เชื้อนี้ได้รายงานเป็นครั้งแรกโดย Eickstedt ในปี พ.ศ.2389
Robin ได้บรรยายลักษณะของเชื้อราและให้ชื่อว่า Microsporon furfur เพราะเข้าใจผิดคิดว่าเชื้อสร้างสปอร์คล้าย Microsporum furfur Gordon เป็นคนแรกที่เพาะเลี้ยงจนแยกเชื้อได้เมื่อปี พ.ศ.2494 และเรียกเชื้อว่า Pityrosporum orbiculare และเนื่องจาก Sabouraud เป็นคนตั้งชื่อจีนัส Pityrosporum ดังนั้นชื่อที่ถูกต้องของเชื้อราจึงเป็น Pityrosporum orbiculare (Robin) Sabouraud 1904
Keddie (1968) เชื่อว่า Pityrosporum orbiculare เป็นเชื้อเดียวกับ Malassezia furfur Robin, Baillon (1889) ในระยะที่เชื้ออยู่ในวุ้นเพราะมีลักษณะเป็นรูปขวดเรียกว่า Pityrosporum orbiculare ส่วนเชื้อที่ขูดได้จากผิวหนังผู้ป่วยมีรูปร่างเป็นปล้องสั้นๆ เรียกว่า Malassezia furfur ส่วน M. ovalis (Bizz) Acton และ Panja 1927 เป็นเชื้อที่ไม่ก่อโรค
Rhodotorula species
ส่ากลุ่มนี้มี carotinoid pigment จึงมีสีสวยงาม แดง ส้ม เหลือง บางภาวะอาจสร้างสายราขึ้นได้ เชื้อแยกได้จากสิ่งส่งตรวจหลายชนิด เช่น ผิวหนัง เล็บ น้ำดี และเลือด ชนิดที่พบบ่อยคือ Rh. mucilaginosa Harrison, 1928 แต่ไม่ก่อโรคในคน
Torulopsis species
จัดเป็นส่าที่มีความรุนแรงตํ่า ไม่มีสายรา และ ascospore สปีชีส์ที่ก่อโรคในคนมีสปีชีส์เดียว คือ T. glabrate (Anderson), Lodder และ De Vries (1938) Batista และคณะ แยกได้จากผิวหนัง รังแค ผม เมื่อปี พ.ศ.2504 และในปีเดียวกันนี้ Mackenzie พบว่าเป็นส่าที่พบได้บ่อยในปัสสาวะ Peter ในปี พ.ศ.2507 ได้แยกเชื้อจากช่องคลอดหญิงชาวเชคโกจำนวน 6,258 ราย และพบเชื้อนี้ร้อย ละ 21.77 นอกจากนี้เชื้อสามารถก่อโรคขึ้นที่อวัยวะภายในและกระจายไปตามกระแสโลหิต
Trichosporon species
ส่าชนิดนี้มี arthrospore เป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญ ชนิดที่ก่อโรคในคนคือ Trichosporon beigelii (cutaneum) (Kuechenmeister and Rabenhorst) Vuillemin 1902 ซึ่งทำให้เกิดโรค white piedra
Dermatophytes
เป็นกลุ่มของเชื้อกลากซึ่ง Emmon ได้รวบรวมจัดระบบใหม่ให้เหลือเพียง 3 จีนัสคือ Microsporum, Trichophyton และ Epidermophyton (ตารางที่ 2-2) โดยอาศัยลักษณะของสปอร์เป็นหลัก ต่อมาพบว่า Microsporum และ Trichophyton บางชนิดเมื่อเลี้ยงบนผมที่อยู่บนดิน (hair bait) สามารถสร้าง cleistothecia ซึ่งเป็นการสืบพันธุ์แบบมีเพศ (perfect stage) ขึ้นมาได้
Perfect stage ของ Microsporum ชื่อ Nannizzia
Perfect stage ของ Trichophyton ชื่อ Arthroderma
นอกจากนี้ลักษณะของเชื้อกลากแต่ละชนิดก็มีความแตกต่างกันออกไป เช่น
Trichophyton มีผิวโคโลนีได้หลายรูปแบบ เช่น เป็นปุย ผง เนียน หรือเหมือนพรม ส่วนสีนั้น มีความแตกต่างกันออกไปตั้งแต่ขาว แดง ม่วง ส้ม เหลือง หรือน้ำตาล ถ้าดูด้วยกล้องจุลทรรศน์จะพบ microconidia จำนวนมากมาย ขนาดเล็ก เป็นเซลล์เดียวผนังบาง รูปกลมหรือรี แยกกันอยู่เป็นอิสระ หรือเป็นกลุ่มคล้ายรูปพวงองุ่นติดอยู่ข้างปล้องเชื้อ ส่วน macroconidia มีจำนวนน้อยกว่า หรือไม่มีเลยก็ได้ macroconidia มีขนาดใหญ่คล้ายรูปกระสวย และมีผนังกั้นเป็นห้องๆ ผนังไม่มีหนาม ขนาดกว้าง 4-6 ไมครอน ยาว 10-50 ไมครอน นอกจากนี้ อาจพบลักษณะพิเศษ เช่น racquet hyphae, coiled hyphae, chlamydospore และ nodular body
Microsporum มีผิวโคโลนีเป็นปุย ผงหรือ เหมือนพรม มีสีขาวจนถึงสีนํ้าตาล macroconidia มีขนาดใหญ่เป็นรูปกระสวยและผนังตะปุ่มตะป่ำ ส่วน microconidia เรียงตัวที่ก้านสปอร์อย่างอิสระ ไม่เป็นกลุ่ม
Epidermophyton มีผิวโคโลนีเหมือนพรม หรือเป็นผง ปรากฏร่องออกจากจุดกลาง โคโลนีมี สีเขียวอมเหลือง ในกล้องจุลทรรศน์พบ macroconidia รูปกระบองมีผนังขั้น 4 ห้อง ผิวเรียบ มักอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม เชื้อนี้ไม่สร้าง microconidia อาจพบลักษณะอื่นๆ เช่น chlamydospore และ racquet hyphae
ตารางที่ 2-2 แสดงชนิดของ Dermatophijtes (Rippon 1982)
Epidermophyton Sabouraud, 1910
*E. floccosum (Harz, 1870) Langerson et Milochevith, 1930
E. stockdaleae Prochacki et Engelhard-Zasada 1974 Microsporum Gruby, 1843
M. amazonicum Moraes, Borelli et Feo, 1967
*M. audouini Gruby, 1843
M. boullardii Diminik et Majchrowicz, 1965
**M. canis Bodin, 1902
M. cookei Ajello, 1959
**M. distortum Di Menna et Marples, 1954
**M. equinum (Delacroix et Bodin 1896) Gueguen 1904

*M. ferrugineum Ota, 1921
*M. fulvum Uriburu 1909
*M. gallinae (Megnin 1881) Grigorakis 1929.
M. gypseum (Bodin 1907) Guiart et Grigorakis 1928
**M. nanum Fuentes, 1956
**M. persicolor (Sabouraud, 1910) Guiart et Grigorakis, 1928
M. praecox Rivalier, 1954
M. racemosum Borelli, 1965
**M. ripariae Hubabek et Rush-Munro 1973
M. vanbreuseghemii Georg, Ajello, Friedman, et Brinkman 1962 Trichophyton Malmsten, 1845
T. ajelloi (Vanbreusfghem, 1952) Ajello,1968
*T concentricum Blanchard, 1895
**T. equinum (Matruchot et Dassonville, 1898) Gedoelst, 1902 T. flavescens Padhye et Carmichael 1971
T. georgiae Varsavsky et Ajello, 1964
T. gloriae Ajello, 1967
*T. gourvilli Catanei, 1933
T. longifusus (Florian et Galgoczy, 1964) Ajello, 1968
*T. megninii Blanchard, 1896
**T. mentagrophytes (Robin, 1853) Blanchard, 1894
var. mentagrophytes
var. interdigitale
var. erinacei
var. quinckeanum
T. phaseoliforme Borelli et Feo, 1966
*T. rubrum (Castellani, 1910) Sabouraud, 1911
*T. schoenleinii (Lebert, 1845) Langeron et Milochevitch, 1930 **T. simii (Pinoy, 1912) Stockdale, Mackenize et Austwick, 1965 *T. soudanense Joyeux, 1912
T. terrestre Durie et Frey, 1957
*T. tonsurans Malmsten, 1845
T. Vanbreuseghemii Rioux, Tarry et Juminer, 1964
*T. verrucosum Bodin, 1902
*T. violaceum Bodin, 1902
*T. yaoundeiCochet et Doby Dubois 1957
*ส่วนใหญ่แยกได้จากคน    **ส่วนใหญ่แยกได้จากสัตว์
ที่เหลือพบในดิน
—————————————————————————–
เชื้อกลากสามารถจำแนกตามนิเวศน์วิทยา (Ecology) ได้ดังนี้
1. Geophilic คือพวกที่อยู่ในดิน อาศัยสาร เคอราตินจากซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยเลี้ยงชีพ เชื้ออาจติดอยู่ตามขนสัตว์ได้โดยไม่พบรอยโรค เช่น M. gypseum, M. cookei, M. vanbreuseghemii, M. fulvum, T. ajelloi, T. terrestre
2. Zoophilic คือพวกที่เป็นปรสิตในสัตว์เลี้ยงและอาจติดต่อมายังคน เช่น M. canis, T. mentagrophytes, T. gallinae หรือ T. verrucosum
3. Anthropophilic คือพวกที่เป็นปรสิตในคน เช่น E.floccosum, T.megninii, T. tonsurans, T. violaceum, T. schoenleinii และ T. concentricum
เชื้อ dermatophytes ที่แยกได้จากผู้ป่วยในสาขาวิชาตจวิทยา ที่โรงพยาบาลศิริราช คือ T. rubrum, T. mentagrophytes, E. floccosum, M. canis และ M. gypseum
Dematiaceous fungus (Black molds)
เชื้อรากลุ่มนี้มีโคโลนีเป็นสีดำหรือม่วงแก่ โคโลนีอ่อนเห็นเป็นสีขาวหรือสีนวล แต่พอแก่จะมีสีเทา นํ้าตาล หรือดำ พบได้ตามดิน เชื้อสร้างสปอร์ ได้ 3 แบบคือ
1. Phialophora type เชื้อมีก้านชูสปอร์ เป็นรูปแจกัน สปอร์รูปร่างรีรวมเป็นกลุ่มอยู่ที่ปากแจกันมองคล้ายดอกไม้ที่ปักอยู่
2. Acrotheca type ก้านชูสปอร์ตรงปลายเรียวลง สปอร์รูปร่างรี รวมกันเป็นกลุ่มอยู่ตรงปลาย และไม่มีกิ่งก้านสาขา
3. Cladosporium type ก้านชูของสปอร์ตรง มีสปอร์รูปรีอยู่ตรงปลาย แต่สปอร์มีการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อนเพิ่มขนยาวออกมา สปอร์อันหนึ่งอาจแบ่งได้หลายจุด สปอร์ที่แบ่งตัวมองดูคล้ายกิ่งไม้
เชื้อราดำก่อให้เกิดโรคดังนี้
1. Chromoblastomycosis ก่อโรคในผิวหนังชั้นลึก ได้แก่เชื้อ
Phialophora verrucosa Medlar 1915
Fonsecaea pedrosoi (Brumpt) Negrant 1936
F. compacta (Carrian) Carrian 1940
Wangiella dermatitidis (Kano 1934) Me Ginnis 1977
Cladosporium carrionii Trejos 1954
2. Cutaneous phaeohyphomycosis ก่อโรคเป็นโพรงหนองอักเสบ ได้แก่เชื้อ
Exophiala spinifera (Nielsen et Conant) Mc Ginnis 1977
Phialophora richardsiae (Melin et Nannf ) Conant 1937
P. parasitica Ajello, Georg, Steigbigel et Wang 1974
P. repens (Davidson) Conant 1937
3. Black peidra โคโลนีของเชื้อเกิดขึ้นจับติดที่ผม ขน เช่น ขนตาเกิดจากเชื้อ Piedraia hortai (Brumpt) Fonseca et Area Leao 1928
4. Tinea nigra ก่อโรคบริเวณฝ่ามือ เป็นดวงสีดำสกปรกคล้ายถูกต้องเกลือเงิน เกิดจากเชื้อ Exophiala wernickii (Horta) van Arx 1970
5. Eumycotic mycetoma โรคอาจเกิดจากราดำหรือเชื้อราในธรรมชาติ เชื้อก่อโรคได้แก่
Pseudallescheria boydii (Shear 1922) Me Ginnis, Padhye et Ajello 1982
Exophiala jeanselmei (Langeron) Me Ginnis et Padhye 1977
Madurella mycetomatis (Laveran) Brumpt 1905
Madurella grisea Mackinnan, Ferrada et Mantemayer 1949
Pyrenochaeta romeroi Borelli 1959
นอกจากนี้ราดำอาจก่อโรคต่ออวัยวะภายใน เช่นที่สมองได้ เชื้อเหล่านี้คือ
C. trichoides Emmons 1952
C. bantianum (Sacc.) Borelli 1960
Dimorphic fungus (ราทวิรูป)
เชื้อกลุ่มนี้เมื่ออยู่ในร่างกายคนจะมีสภาพเป็น ส่า แต่ถ้าเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบัติการจะมีสภาพเป็นราสาย ซึ่งสามารถทำให้เป็นส่าในห้องปฏิบัติการได้ โดยเลี้ยงในวุ้นเพาะพิเศษ เช่น brain heart in¬fusion blood agar โดยบ่มเชื้อไว้ที่ 37°ซ. ราทวิรูปมีด้วยกันหลายชนิด โชคดีที่ในประเทศไทยมีรายงานเพียงชนิดเดียวคือ H. capsulatum Darling, 1906 ซึ่งก่อโรค Histoplasmosis
Contaminant (เชื้อราแปลกปลอม)
เชื้อราเหล่านี้ส่วนใหญ่มีผนังกั้น (septatemycelium) พบได้ในธรรมชาติ เช่น ในดิน นํ้า อากาศ ซึ่งอาจก่อโรคภูมิแพ้หรือ mycetoma นอกจากนั้นยังสามารถก่อโรคที่ผิวของตาดำและหูชั้นนอก ในภาวะที่ร่างกายอ่อนแอ เช่น เป็นโรคมะเร็ง ทุพโภชนาการ เชื้อเหล่านี้อาจก่อโรคที่อวัยวะภายในได้ เชื้อที่พบได้บ่อยคือ
Alternaria Nees ex Wallroth, 1833 Nam, Cons.
Aspergillus Wichell ex Link 1809
Cephalosporium Corda 1839
Cladosporium Link ex Gray 1821
Curvularia Boedijn 1933
ตารางที่ 2-3 Higher bacteria Order: Actinomycetales Buchanan 1917 (Holt)
1. รูปร่างไม่เป็นสาย เซลส์อาจต่อกันหรือเรียงตัวคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ไม่มีสปอร์
1.1 ติดสีทนกรด
Family     : Mycobacteriaceae
Genus    : Mycobacterium Lehmann and Neumann 1896
Disease     : Tuberculosis, Leprosy
1.2 ไม่ติดสีทนกรด ไม่ใช้ออกซิเจน
Family     : Actinomycetaceae
Genus    : Actinomyces Harz 1877
Disease     : Actinomycosis
2. รูปร่างเป็นสาย
2.1 สายหักได้ง่าย ใช้ออกซิเจน ติดสีทนกรดบ้าง (Partial acid fast) มีสปอร์
Family    : Nocardiaceae
Genus    : Nocardia Trevisan 1889
Disease     : Nocardiosis, Actinomycotic mycetoma
2.2 สายแบ่งตัวตามยาวและตามขวาง เป็นกลุ่มกลม เคลื่อนไหวได้ ไม่มีสายราอากาศ
Family     : Dermatophilaceae
Genus    : Dermatophilus van Sacegham 1915
Disease     : Dermatophilosis
2.3 สายหักยาก ใช้ออกซิเจน มีสายราอากาศ และสปอร์ต่อกันเป็นสายยาว
Family     : Streptomycetaceae
Genus    : Streptomyces Waksman and Henrici 1943
Disease     : Actinomycotic mycetoma
———————————————————————————–
Fusarium Link ex Gray 1821
Geotrichum Link 1809
Penicillium Link ex Gray 1821
Scedosporium Castellani 1927
มีรายงานผู้ป่วย Penicillosis จากโรงพยาบาลรามาธิบดีที่เกิดจากเชื้อ Penicillium marneffei 4 ราย ในจำนวนนี้ 3 รายเป็น Compromised host การตรวจชิ้นเนื้อพบเชื้อรารูปเป็น yeast อยู่ใน Reticulo-endothelial system แบบ Histoplasmosis
ราหม้อเล็ก (Chytrid) จัดอยู่ใน Order Chytridiales สัณฐานคล้ายหม้อข้าว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-100 ไมครอน อยู่ในที่ชื้นแฉะและในนํ้า จัดเป็นราชนิดเซลล์เดียว พอเซลล์แก่เกิดการแบ่งตัว ภายในได้ endospore ตัวก่อโรคในคนคือ Rhinosporidium seeberii (Wernicke) Seeber 1912 แบคทีเรียชั้นสูง Order Actinomycetales (ตารางที่ 2-3)
1. Actinomyces species
เชื้อจีนัสนี้รูปหักเป็นท่อนคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ขนาด 0.5-1.0 ไมครอน ไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobe) และไม่ติดสีทนกรด มีอยู่ปกติในช่องปากคน ตัวก่อโรคในคนคือ Actinomyces israelii (Kruse) Lachner-Sandaval 1898
2. Nocardia species
เชื้อ Nocardia พบได้ตามดิน ในบรรยากาศที่มีออกซิเจน (aerobe) ติดสี partial acid fast มีสปอร์ โดยปกติเชื้อนี้เรียงตัวเป็นสาย แต่ถ้าถูกกระทบกระแทกสายขาดจากกันง่าย ตัวก่อโรคในคนคือ
N. asteroides (Eppinger 1891) Blanchard, 1895
N. brasiliensis (Lindenberg, 1909) Cas¬tellani and Chalmers, 1913
N. caviae (Erickson) Gardan and Mihm,1962
3. Dermatophilus species
เชื้อ Dermatophilus ก่อโรคในสัตว์ เช่น แกะ วัว ควาย ติดต่อมายังคนได้ รูปร่างเป็นสาย มีการแบ่งตัวทั้งตามยาวและตามขวาง แบ่งแล้วเป็นรูปกลม อยู่กันเป็นกลุ่มคล้ายแบคทีเรียชั้นตํ่า เมื่อแก่ตัวสาย ปลดปล่อย Zoospore ขนาด 0.3-0.5 ไมครอน เคลื่อนไหวได้ ชอบบรรยากาศที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ ติดสีแกรมบวก ไม่ติดสีทนกรด ตัวก่อโรคในคนคือ Dermatophilus congolensis Van Saceghem 1915
4. Streptomyces species
เชื้อ Streptomyces ต่อกันเป็นสายยาวไม่ขาดจากกัน ต้องการบรรยากาศที่มีออกซิเจน ไม่ติดสีทนกรด มีสปอร์ต่อกันเป็นสาย ตัวก่อโรคในคนคือ Streptomyces somaliensis (Brumpt) Waksman and Henrici 1948
5. Coryneform Actinomycetes
ติดสีกรัมบวก รูปเป็นเส้นตรงหรือโค้งเล็กน้อย ไม่เป็นสาย ติดสีไม่สมํ่าเสมอ
Family : Corynebacteriaceae
Genus : Corynebacterium Lehmann and Neumann, 1896 Disease : Erythrasma, Trichomycosis axillaris, Pitted keratolysis     เชื้อ Corynebacterium ติดสีกรัมบวก ขึ้นได้ดีในบรรยากาศที่ร้อนและชื้นอย่างประเทศไทย ตัวก่อโรคในคนคือ
Corynebacterium tenuis (Castellani) Crissey et al. 1952
C. minutissimum (Burchardt) Sarkany, Taplin and Blank 1961
นอกจากนี้สาหร่าย (algae) ที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจก่อโรคที่ผิวหนังและอวัยวะภายในได้คือ Prototheca โคโลนีเป็นเนยแบบส่า มีการสืบพันธุ์แบบ asexual spore ชนิด endospore ภายในถุงสปอร์ (sporangium) บางคนเรียกว่า theca cell ภายใน มี 2-10 endospore เมื่อแก่ตัวจะแตกออก เชื้อนี้พบได้ในน้ำ ตัวก่อโรคในคนขึ้นได้ที่ 37°ซ. คือ Prototheca zopfii Krueger 1894 และ P. wickerhamii Tubaki et Saneda 1953
ที่มา:เสาวรส  อิ่มวิทยา

*M. ferrugineum Ota, 1921*M. fulvum Uriburu 1909*M. gallinae (Megnin 1881) Grigorakis 1929.M. gypseum (Bodin 1907) Guiart et Grigorakis 1928**M. nanum Fuentes, 1956**M. persicolor (Sabouraud, 1910) Guiart et Grigorakis, 1928M. praecox Rivalier, 1954M. racemosum Borelli, 1965**M. ripariae Hubabek et Rush-Munro 1973M. vanbreuseghemii Georg, Ajello, Friedman, et Brinkman 1962 Trichophyton Malmsten, 1845T. ajelloi (Vanbreusfghem, 1952) Ajello,1968*T concentricum Blanchard, 1895**T. equinum (Matruchot et Dassonville, 1898) Gedoelst, 1902 T. flavescens Padhye et Carmichael 1971T. georgiae Varsavsky et Ajello, 1964T. gloriae Ajello, 1967*T. gourvilli Catanei, 1933T. longifusus (Florian et Galgoczy, 1964) Ajello, 1968*T. megninii Blanchard, 1896**T. mentagrophytes (Robin, 1853) Blanchard, 1894var. mentagrophytesvar. interdigitalevar. erinaceivar. quinckeanumT. phaseoliforme Borelli et Feo, 1966*T. rubrum (Castellani, 1910) Sabouraud, 1911*T. schoenleinii (Lebert, 1845) Langeron et Milochevitch, 1930 **T. simii (Pinoy, 1912) Stockdale, Mackenize et Austwick, 1965 *T. soudanense Joyeux, 1912T. terrestre Durie et Frey, 1957*T. tonsurans Malmsten, 1845T. Vanbreuseghemii Rioux, Tarry et Juminer, 1964*T. verrucosum Bodin, 1902*T. violaceum Bodin, 1902*T. yaoundeiCochet et Doby Dubois 1957*ส่วนใหญ่แยกได้จากคน **ส่วนใหญ่แยกได้จากสัตว์ที่เหลือพบในดิน—————————————————————————–เชื้อกลากสามารถจำแนกตามนิเวศน์วิทยา (Ecology) ได้ดังนี้คือพวกที่อยู่ในดิน อาศัยสาร เคอราตินจากซากสัตว์ที่เน่าเปื่อยเลี้ยงชีพ เชื้ออาจติดอยู่ตามขนสัตว์ได้โดยไม่พบรอยโรค เช่น M. gypseum, M. cookei, M. vanbreuseghemii, M. fulvum, T. ajelloi, T. terrestreคือพวกที่เป็นปรสิตในสัตว์เลี้ยงและอาจติดต่อมายังคน เช่น M. canis, T. mentagrophytes, T. gallinae หรือ T. verrucosumคือพวกที่เป็นปรสิตในคน เช่น E.floccosum, T.megninii, T. tonsurans, T. violaceum, T. schoenleinii และ T. concentricumเชื้อ dermatophytes ที่แยกได้จากผู้ป่วยในสาขาวิชาตจวิทยา ที่โรงพยาบาลศิริราช คือ T. rubrum, T. mentagrophytes, E. floccosum, M. canis และ M. gypseumเชื้อรากลุ่มนี้มีโคโลนีเป็นสีดำหรือม่วงแก่ โคโลนีอ่อนเห็นเป็นสีขาวหรือสีนวล แต่พอแก่จะมีสีเทา นํ้าตาล หรือดำ พบได้ตามดิน เชื้อสร้างสปอร์ ได้ 3 แบบคือเชื้อมีก้านชูสปอร์ เป็นรูปแจกัน สปอร์รูปร่างรีรวมเป็นกลุ่มอยู่ที่ปากแจกันมองคล้ายดอกไม้ที่ปักอยู่ก้านชูสปอร์ตรงปลายเรียวลง สปอร์รูปร่างรี รวมกันเป็นกลุ่มอยู่ตรงปลาย และไม่มีกิ่งก้านสาขาก้านชูของสปอร์ตรง มีสปอร์รูปรีอยู่ตรงปลาย แต่สปอร์มีการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อนเพิ่มขนยาวออกมา สปอร์อันหนึ่งอาจแบ่งได้หลายจุด สปอร์ที่แบ่งตัวมองดูคล้ายกิ่งไม้ก่อโรคในผิวหนังชั้นลึก ได้แก่เชื้อPhialophora verrucosa Medlar 1915Fonsecaea pedrosoi (Brumpt) Negrant 1936F. compacta (Carrian) Carrian 1940Wangiella dermatitidis (Kano 1934) Me Ginnis 1977Cladosporium carrionii Trejos 1954ก่อโรคเป็นโพรงหนองอักเสบ ได้แก่เชื้อExophiala spinifera (Nielsen et Conant) Mc Ginnis 1977Phialophora richardsiae (Melin et Nannf ) Conant 1937P. parasitica Ajello, Georg, Steigbigel et Wang 1974P. repens (Davidson) Conant 1937โคโลนีของเชื้อเกิดขึ้นจับติดที่ผม ขน เช่น ขนตาเกิดจากเชื้อ Piedraia hortai (Brumpt) Fonseca et Area Leao 1928ก่อโรคบริเวณฝ่ามือ เป็นดวงสีดำสกปรกคล้ายถูกต้องเกลือเงิน เกิดจากเชื้อ Exophiala wernickii (Horta) van Arx 1970โรคอาจเกิดจากราดำหรือเชื้อราในธรรมชาติ เชื้อก่อโรคได้แก่Pseudallescheria boydii (Shear 1922) Me Ginnis, Padhye et Ajello 1982Exophiala jeanselmei (Langeron) Me Ginnis et Padhye 1977Madurella mycetomatis (Laveran) Brumpt 1905Madurella grisea Mackinnan, Ferrada et Mantemayer 1949Pyrenochaeta romeroi Borelli 1959นอกจากนี้ราดำอาจก่อโรคต่ออวัยวะภายใน เช่นที่สมองได้ เชื้อเหล่านี้คือC. trichoides Emmons 1952C. bantianum (Sacc.) Borelli 1960Dimorphic fungus (ราทวิรูป)เชื้อกลุ่มนี้เมื่ออยู่ในร่างกายคนจะมีสภาพเป็น ส่า แต่ถ้าเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบัติการจะมีสภาพเป็นราสาย ซึ่งสามารถทำให้เป็นส่าในห้องปฏิบัติการได้ โดยเลี้ยงในวุ้นเพาะพิเศษ เช่น brain heart in¬fusion blood agar โดยบ่มเชื้อไว้ที่ 37°ซ. ราทวิรูปมีด้วยกันหลายชนิด โชคดีที่ในประเทศไทยมีรายงานเพียงชนิดเดียวคือ H. capsulatum Darling, 1906 ซึ่งก่อโรค Histoplasmosisเชื้อราเหล่านี้ส่วนใหญ่มีผนังกั้น (septatemycelium) พบได้ในธรรมชาติ เช่น ในดิน นํ้า อากาศ ซึ่งอาจก่อโรคภูมิแพ้หรือ mycetoma นอกจากนั้นยังสามารถก่อโรคที่ผิวของตาดำและหูชั้นนอก ในภาวะที่ร่างกายอ่อนแอ เช่น เป็นโรคมะเร็ง ทุพโภชนาการ เชื้อเหล่านี้อาจก่อโรคที่อวัยวะภายในได้ เชื้อที่พบได้บ่อยคือAlternaria Nees ex Wallroth, 1833 Nam, Cons.Aspergillus Wichell ex Link 1809Cephalosporium Corda 1839Cladosporium Link ex Gray 1821Curvularia Boedijn 19331. รูปร่างไม่เป็นสาย เซลส์อาจต่อกันหรือเรียงตัวคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ไม่มีสปอร์1.1 ติดสีทนกรดFamily : MycobacteriaceaeGenus : Mycobacterium Lehmann and Neumann 1896Disease : Tuberculosis, Leprosy1.2 ไม่ติดสีทนกรด ไม่ใช้ออกซิเจนFamily : ActinomycetaceaeGenus : Actinomyces Harz 1877Disease : Actinomycosis2. รูปร่างเป็นสาย2.1 สายหักได้ง่าย ใช้ออกซิเจน ติดสีทนกรดบ้าง (Partial acid fast) มีสปอร์Family : NocardiaceaeGenus : Nocardia Trevisan 1889Disease : Nocardiosis, Actinomycotic mycetoma2.2 สายแบ่งตัวตามยาวและตามขวาง เป็นกลุ่มกลม เคลื่อนไหวได้ ไม่มีสายราอากาศFamily : DermatophilaceaeGenus : Dermatophilus van Sacegham 1915Disease : Dermatophilosis2.3 สายหักยาก ใช้ออกซิเจน มีสายราอากาศ และสปอร์ต่อกันเป็นสายยาวFamily : StreptomycetaceaeGenus : Streptomyces Waksman and Henrici 1943Disease : Actinomycotic mycetoma———————————————————————————–Fusarium Link ex Gray 1821Geotrichum Link 1809Penicillium Link ex Gray 1821Scedosporium Castellani 1927มีรายงานผู้ป่วย Penicillosis จากโรงพยาบาลรามาธิบดีที่เกิดจากเชื้อ Penicillium marneffei 4 ราย ในจำนวนนี้ 3 รายเป็น Compromised host การตรวจชิ้นเนื้อพบเชื้อรารูปเป็น yeast อยู่ใน Reticulo-endothelial system แบบ Histoplasmosisราหม้อเล็ก (Chytrid) จัดอยู่ใน Order Chytridiales สัณฐานคล้ายหม้อข้าว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-100 ไมครอน อยู่ในที่ชื้นแฉะและในนํ้า จัดเป็นราชนิดเซลล์เดียว พอเซลล์แก่เกิดการแบ่งตัว ภายในได้ endospore ตัวก่อโรคในคนคือ Rhinosporidium seeberii (Wernicke) Seeber 1912 แบคทีเรียชั้นสูง Order Actinomycetales (ตารางที่ 2-3)เชื้อจีนัสนี้รูปหักเป็นท่อนคล้ายเชื้อดิฟธีเรีย ขนาด 0.5-1.0 ไมครอน ไม่ใช้ออกซิเจน (anaerobe) และไม่ติดสีทนกรด มีอยู่ปกติในช่องปากคน ตัวก่อโรคในคนคือ Actinomyces israelii (Kruse) Lachner-Sandaval 1898เชื้อ Nocardia พบได้ตามดิน ในบรรยากาศที่มีออกซิเจน (aerobe) ติดสี partial acid fast มีสปอร์ โดยปกติเชื้อนี้เรียงตัวเป็นสาย แต่ถ้าถูกกระทบกระแทกสายขาดจากกันง่าย ตัวก่อโรคในคนคือN. asteroides (Eppinger 1891) Blanchard, 1895N. brasiliensis (Lindenberg, 1909) Cas¬tellani and Chalmers, 1913N. caviae (Erickson) Gardan and Mihm,1962เชื้อ Dermatophilus ก่อโรคในสัตว์ เช่น แกะ วัว ควาย ติดต่อมายังคนได้ รูปร่างเป็นสาย มีการแบ่งตัวทั้งตามยาวและตามขวาง แบ่งแล้วเป็นรูปกลม อยู่กันเป็นกลุ่มคล้ายแบคทีเรียชั้นตํ่า เมื่อแก่ตัวสาย ปลดปล่อย Zoospore ขนาด 0.3-0.5 ไมครอน เคลื่อนไหวได้ ชอบบรรยากาศที่มีคาร์บอนไดออกไซด์ ติดสีแกรมบวก ไม่ติดสีทนกรด ตัวก่อโรคในคนคือ Dermatophilus congolensis Van Saceghem 1915เชื้อ Streptomyces ต่อกันเป็นสายยาวไม่ขาดจากกัน ต้องการบรรยากาศที่มีออกซิเจน ไม่ติดสีทนกรด มีสปอร์ต่อกันเป็นสาย ตัวก่อโรคในคนคือ Streptomyces somaliensis (Brumpt) Waksman and Henrici 1948ติดสีกรัมบวก รูปเป็นเส้นตรงหรือโค้งเล็กน้อย ไม่เป็นสาย ติดสีไม่สมํ่าเสมอFamily : CorynebacteriaceaeGenus : Corynebacterium Lehmann and Neumann, 1896 Disease : Erythrasma, Trichomycosis axillaris, Pitted keratolysis เชื้อ Corynebacterium ติดสีกรัมบวก ขึ้นได้ดีในบรรยากาศที่ร้อนและชื้นอย่างประเทศไทย ตัวก่อโรคในคนคือCorynebacterium tenuis (Castellani) Crissey et al. 1952C. minutissimum (Burchardt) Sarkany, Taplin and Blank 1961นอกจากนี้สาหร่าย (algae) ที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ อาจก่อโรคที่ผิวหนังและอวัยวะภายในได้คือ Prototheca โคโลนีเป็นเนยแบบส่า มีการสืบพันธุ์แบบ asexual spore ชนิด endospore ภายในถุงสปอร์ (sporangium) บางคนเรียกว่า theca cell ภายใน มี 2-10 endospore เมื่อแก่ตัวจะแตกออก เชื้อนี้พบได้ในน้ำ ตัวก่อโรคในคนขึ้นได้ที่ 37°ซ. คือ Prototheca zopfii Krueger 1894 และ P. wickerhamii Tubaki et Saneda 1953


อาณาจักรฟังไจ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ชีววิทยา)


จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
1. บอกลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟังไจได้
2. บอกการดำรงชีวิตของฟังไจได้
3. บอกความแตกต่างของฟังไจในแต่ละกลุ่มได้
4. บอกความสาคัญของฟังไจที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

จัดทำโดย :
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิตรตรา เพียภูเขียว
ภาควิชาพฤกษศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT (Distance Learning Information Technology)
http://www.dlit.ac.th

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

อาณาจักรฟังไจ วิทยาศาสตร์ ม.4-6 (ชีววิทยา)

What is SPORE? What does SPORE mean? SPORE meaning, definition \u0026 explanation


✪✪✪✪✪ http://www.theaudiopedia.com ✪✪✪✪✪
✪✪✪✪✪ The Audiopedia Android application, INSTALL NOW https://play.google.com/store/apps/details?id=com.wTheAudiopedia_8069473 ✪✪✪✪✪
What is SPORE? What does SPORE mean? SPORE meaning SPORE pronunciation SPORE definition SPORE explanation How to pronounce SPORE?
Source: Wikipedia.org article, adapted under https://creativecommons.org/licenses/bysa/3.0/ license.
In biology, a spore is a unit of asexual reproduction that may be adapted for dispersal and for survival, often for extended periods of time, in unfavorable conditions. By contrast, gametes are units of sexual reproduction. Spores form part of the life cycles of many plants, algae, fungi and protozoa. Bacterial spores are not part of a sexual cycle but are resistant structures used for survival under unfavourable conditions. Myxozoan spores release amoebulae into their hosts for parasitic infection, but also reproduce within the hosts through the pairing of two nuclei within the plasmodium, which develops from the amoebula.
Spores are usually haploid and unicellular and are produced by meiosis in the sporangium of a diploid sporophyte. Under favourable conditions the spore can develop into a new organism using mitotic division, producing a multicellular gametophyte, which eventually goes on to produce gametes. Two gametes fuse to form a zygote which develops into a new sporophyte. This cycle is known as alternation of generations.
The spores of seed plants, however, are produced internally and the megaspores, formed within the ovules and the microspores are involved in the formation of more complex structures that form the dispersal units, the seeds and pollen grains.

What is SPORE? What does SPORE mean? SPORE meaning, definition \u0026 explanation

Crypto Fantasy : Airdrop พิเศษสำหรับคนไทย มาแล้วจ้า !!!


Crypto Fantasy : Airdrop พิเศษสำหรับคนไทย มาแล้วจ้า !!!
เกม CryptoFantasy มาในธีมอนิเมะสไตล์ญี่ปุ่น
มาพร้อมทั้งระบบการเล่นต่างๆ PVP Guild และระบบแลนด์
ที่ออกข้อมูลมาเพิ่มเติม คือระบบ Side Chain
เพื่อจะรองรับการเล่นแบบไม่ต้องเสียค่าแก๊สที่แพงขึ้น
ตอนนี้มีกิจกรรมแอร์ดรอปพิเศษสำหรับคนไทยโดยเฉพาะ
ฝาก Ref. ลิงค์ด้วยครับ
https://wn.nr/XF7Njq
กลุ่มเทเลแกรมคนไทย
https://t.me/CFCTH
======
รายละเอียดตัวเกมเกี่ยวกับระบบต่างๆสามารถชมได้ย้อนหลังที่
https://youtu.be/qffGHOx5gF0
======
ฝากกลุ่มเฟสบุ๊ค Play A Lot ด้วยครับ
https://www.facebook.com/groups/613438083148393/
=======
Play A Lot มีระบบสมาชิกช่อง Youtube เพื่อรับชมคอนเทนท์พิเศษเพิ่มเติมแล้วนะครับ
https://www.youtube.com/channel/UCq2Y8ePcOGF77razxiqjBQ/join
playalot playtoearn NFTgaming cryptofantasy

Crypto Fantasy : Airdrop พิเศษสำหรับคนไทย มาแล้วจ้า !!!

How To Say Zoospores


Learn how to say Zoospores with EmmaSaying free pronunciation tutorials.
Definition and meaning can be found here:
https://www.google.com/search?q=define+Zoospores

How To Say Zoospores

Physoderma Brown Spot of Corn


Physoderma brown spot is caused by the pathogen Physoderma maydis, the only class of fungi that produce zoospores, spores that have a tail (flagellum) and swim free in water. P. maydis can survive in soil and crop debris for 2 to 7 years. The pathogen can be dispersed by the wind or splashed into the whorls of the developing corn. Corn is most susceptible to infection between growth stages V5 to V9. Symptoms seen now, as corn is past VT and moving into Rstages, are from infection that occurred in standing water in the whorl. Dark purplish to black oval spots along the midrib of the leaf and on the stalk, leaf sheath and husks are distinguishing characteristic symptoms of Physoderma brown spot. In addition, infected leaves have numerous very small round or oval spots that are yellowish to brown and occur in bands across the leaf. Management options for Physoderma are limited, there are a few fungicides that are labeled for Physoderma control, but there is limited information if a fungicide application would be economical in Indiana. Rotation and tillage both can help manage residue where the pathogen will survive year to year – most susceptible sites are those in notill and continuous corn.

Physoderma Brown Spot of Corn

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ zoospore คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *