Skip to content
Home » [NEW] E-Tax Invoice เจ้าสิ่งนี้คืออะไร? และจะเกิดอะไรขึ้นเมื่อ E-Tax Invoice เข้ามามีบทบาทในประเทศไทย? – | e-tax invoice บังคับใช้เมื่อไหร่ – NATAVIGUIDES

[NEW] E-Tax Invoice เจ้าสิ่งนี้คืออะไร? และจะเกิดอะไรขึ้นเมื่อ E-Tax Invoice เข้ามามีบทบาทในประเทศไทย? – | e-tax invoice บังคับใช้เมื่อไหร่ – NATAVIGUIDES

e-tax invoice บังคับใช้เมื่อไหร่: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

โลกหมุนเร็วเหลือเกิน เป็นคำพูดที่เหมาะจะใช้กับหัวข้อนี้ที่สุด เพราะประเทศไทยยุค 2021 ทุก ๆ วันนี้ ทุกสิ่งทุกอย่างถูกหยิบยกหันหน้าเข้าพึ่งโลกออนไลน์เกือบจะทั้งหมดแล้ว และยิ่งในสถานการณ์ปัจจุบันที่ผู้คนให้ความสำคัญกับการอยู่บ้าน หรือ Social Distancing มาขึ้น จนทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างถูกโยกย้ายขึ้นไปบนออนไลน์ทั้งหมด แม้แต่พ่อค้า – แม่ค้า หรือเจ้าของธุรกิจต่าง ๆ ก็เริ่มทำการขายค้าผ่านทางออนไลน์ในแพลตฟอร์มของ Facebook หรือ Google มากกว่าการขายแบบออฟไลน์ ที่เรารู้จักกันดีว่าการเปิดร้านขายของ หรือตั้งหน้าร้านขายให้ผู้คนเดินทางมาซื้อ รวมถึงการออกเอกสารสำคัญต่าง ๆ ด้วย 

ปัจจุบันโลกถูกเชื่อมต่อกันด้วยอินเทอร์เน็ต จึงทำให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างไร้พรมแดน รวมไปถึงการติดต่อซื้อ – ขาย และการทำธุรกรรมต่าง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นในระบบออนไลน์เป็นจำนวนมาก และสิ่งที่สำคัญที่เราทุกคนต้องรู้คือ เมื่อมีการทำธุรกรรม ค้าขาย หรือแลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการเกิดขึ้น เจ้าของธุรกิจ หรือกิจการ ทั้งในรูปแบบของบุคคล หรือนิติบุคคลที่มีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท / ปี ที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) กับกรมสรรพากร ต้องจัดทำใบรับเสร็จ หรือใบกำกับภาษีขึ้นมา เพื่อแสดงเป็นหลักฐานในการขายสินค้า หรือบริการ ในการชำระเงิน พร้อมทั้งต้องจัดส่งต้นฉบับใบรับเสร็จ และใบกำกับภาษีนั้นในรูปแบบกระดาษให้แก่ผู้ลูกค้าทุกครั้ง 

รัฐบาลจึงเกิดแนวคิดในการพยายามปรับเปลี่ยนรูปแบบของการดำเนินการยื่นเอกสาร, จัดทำธุรกรรม หรือจัดเก็บหลักฐานต่าง ๆ ในแบบใหม่ ที่เรียกว่า e-service ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในบริการอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐบาลไทยที่เริ่มนำเข้ามาปรับใช้เมื่อเดือนมิถุนายน 2560 ที่ผ่านมา 

Table of Contents

4 เอกสารสำคัญที่สามารถแปลงให้เป็นอิเล็กทรอนิกส์ และสามารถนำส่งสรรพากรได้

1.   ใบกำกับภาษี (Tax Invoice) ตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร
2.   ใบเพิ่มหนี้ (Debit Note) ตามมาตรา 86/9 แห่งประมวลรัษฎากร
3.   ใบลดหนี้ (Credit Note) ตามมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากร
4.   ใบรับ (Receipt) ตามมาตรา 105 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร

ซึ่งในปัจจุบันกรมสรรพากรกำลังทำหน้าที่พัฒนาระบบขั้นตอนการบริการ, การยื่นเอกสาร และรวมไปถึงการออกใบกำกับภาษีในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของใบกำกับอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax Invoice) และ ใบเสร็จรับเงินอิเล็กทรอนิกส์ (e-Receipts) ที่จัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวก และลดภาระต้นทุนในส่วนของการนำส่ง, การจัดเก็บใบกำกับภาษีแบบกระดาษ ให้เจ้าของธุรกิจได้อีกด้วย แต่การจะออกใบกำกับภาษี หรือใบเสร็จรับเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ เหมือนเป็นการปรับเปลี่ยนระบบใหม่ทั้งหมดนั้น จะต้องใช้การป้องกัน การดูแลข้อมูลที่ปลอดภัย และเชื่อถือได้ เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และแน่นอนว่ากรมสรรพกรกำลังเร่งจัดการดูแลในส่วนนี้อย่างเคร่งคัด

e-Tax Invoice คืออะไร

e-Tax Invoice หรือที่เรียกกันว่า ใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งหมายถึงการออกใบกํากับภาษีในรูปแบบใหม่ ที่กรมสรรพากรได้พัฒนาขึ้นมาใช้แทนการออกใบกำกับภาษีแบบกระดาษ โดยจะปรับเปลี่ยนข้อมูลทั้งหมดเป็นในรูปแบบของอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางระบบออนไลน์แบบ 100%  ซึ่งจะช่วยให้เจ้าของธุรกิจ หรือบริการ รวมทั้งกิจการร้านค้า ไม่จำเป็นต้องจัดเตรียม หรือจัดทำใบกำกับภาษีแบบกระดาษให้วุ่นวาย รวมไปถึงไม่ต้องไปจัดส่งต้นฉบับใบกำกับภาษีให้และลูกค้าที่ทำธุรกิจซื้อ – ขายด้วยตัวเอง แถมยังสามารถส่งข้อมูลใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ถึงกรมสรรพากรได้อย่างสะดวกรวดเร็วผ่านช่องทางอีเมล หรือเว็บไซต์กรมสรรพากรได้ในทันท่วงที ไม่ต้องจัดเตรียม และรวบรวมใบกํากับภาษีแบบกระดาษให้ยุ่งยาก

เทียบกันชัด ๆ ใบกำกับภาษีแบบกระดาษ กับใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ แตกต่างกันอย่างไร?

เปรียบเทียบใบกำกับภาษีแบบกระดาษและ ใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์

e-Tax Invoice จำเป็นต้องจัดทำเข้าระบบทุกคนหรือไม่?

การไม่ยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เมื่อมีรายได้ถึงเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด จะถือว่ามีความผิดทางกฎหมาย ต้องระวางโทษค่าปรับไม่เกิน 2,000 บาท ตามมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร รัฐอาจจะไม่สามารถตรวจจับได้ทีละรายคน แต่การเสียภาษีให้ถูกต้องก็จะทำให้เป็นผลดีกับการพัฒนาประเทศ ซึ่งรัฐบาลพยายามดึงทุกคนเข้าสู่ระบบ ทั้งในระบบออนไลน์ และออฟไลน์ ด้วยโครงการต่าง ๆ ของรัฐ จะเห็นได้ว่าหลาย ๆ ระบบจะมีการเปิดให้ลงทะเบียนก่อนร่วมโครงการ

ใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์จะต้องมีรายละเอียดอะไรบ้าง?

1. เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ประเภท
.pdf (Portable Document Format)
– .doc, .docx (Microsoft Word Document)
– .xls, .xlsx (Microsoft Excel)

2. ภายใน 1 ไฟล์ต้องมีขนาดไม่เกิน 3 MB

3. ข้อมูลรายละเอียดที่อยู่ในไฟล์เอกสารจะต้องไม่ใช่รูปภาพเด็ดขาด ห้ามใช้ การถ่ายภาพหรือการแปลงไฟล์จากเอกสารกระดาษมาเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เด็ดขาด

4. ต้องมีการลงลายเซ็นดิจิตอล (Digital Signature) หรือประทับรับรองเวลา (Time Stamp) ผ่านระบบ e-Tax Invoice by email เพื่อให้เอกสารนี้ถูกต้องตามกฎหมาย และสามารถใช้เป็นหลักฐานสำคัญในทางกฎหมายได้อีกด้วย

วิธีการเปลี่ยนใบกำกับภาษีในรูปแบบเอกสาร ให้กลายเป็นใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์

E-TAX INVOICE มีทั้งหมดกี่รูปแบบ…ใช้แตกต่างกันอย่างไร?

e-Tax Invoice หรือใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ มีทั้งหมด 2 รูปแบบ

รูปแบบที่ 1: e-Tax Invoice & Receipt

e-Tax Invoice & Receipt ซึ่งใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ เหมาะสำหรับเจ้าของธุรกิจ หรือกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat 7%) ในรูปแบบไม่จำกัดรายได้ ซึ่งจะจัดทำใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบของไฟล์ .xml เท่านั้นสำหรับการนำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากรต้องจัดทำข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

ถ้าหากจำเป็นต้องใช้ในรูปแบบอื่น หรือไฟล์นามสกุลอื่น ให้มีการลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) เพื่อส่งมอบให้ลูกค้าผู้ซื้อสินค้า หรือบริการทุกครั้งที่มีการซื้อ – ขายเกิดขึ้น

รูปแบบที่ 2: e-Tax Invoice by Email

e-Tax Invoice by Email เหมาะสำหรับเจ้าของธุรกิจ หรือกิจการ ขนาดเล็กที่มีรายได้ไม่เกิน 30 ล้านบาท/ปี และจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat) ซึ่งรูปแบบนี้จะต้องจัดทำเฉพาะใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นไฟล์ PDF/A-3 เท่านั้น ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2561 ที่ผ่านมา เจ้าของธุรกิจ หรือกิจการจะต้องส่งอีเมลให้ลูกค้า และจัดทำสำเนา (CC) ไปที่ [email protected] เพื่อให้ระบบประทับรับรองเวลา (Time Stamp) จากนั้นระบบ e-Tax Invoice by Email จะส่งอีเมลที่มีประทับรับรองเวลาไปยังอีเมลของลูกค้า และเจ้าของธุรกิจ หรือกิจการเพื่อจัดเก็บเป็นหลักฐาน และนำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากรแบบอัตโนมัติ ไม่ต้องเสียเวลาไปยื่นด้วยตัวเอง

อ่านเพิ่มเติมเรื่องแตกต่างของทั้ง 2 รูปแบบต่อที่นี่

วิธีการนำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากร

วิธีที่ 1 จัดทำด้วยตัวเอง

จัดทำด้วยระบบงานของเจ้าของธุรกิจ และกิจการร้านค้าผ่านระบบบัญชีหรือระบบ ERP ด้วยตนเอง หรือใช้โปรแกรมที่สามารถปรับปรุงระบบงานให้จัดทำใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีการลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ตามรูปแบบ และเงื่อนไขที่กำหนด ก่อนนำส่งถึงกรมสรรพกรตามช่องทางต่าง ๆ ดังนี้

–  Host to Host สำหรับเจ้าของธุรกิจ และกิจการร้านค้า
–  Service Provider สำหรับตัวแทน
–  Web Upload

แค่อ่านก็ปวดหัวแล้ว! อย่าเพิ่งท้อ PEAK มาช่วยคุณแล้ว เรามีวิธีที่จะทำให้การนำส่งใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ ให้กรมสรรพกรได้ง่าย และสะดวกรวดเร็วขึ้นสไตล์ PEAK PEAK

  1. ผู้ใช้งานต้องทำการสมัครบริการบน INET ก่อนทำการเชื่อมต่อกับ PEAK 
  2. ต้องเชื่อมต่อการส่ง e-Tax Invoice & e-Receipt ผ่านผู้ให้บริการ INET ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ สนใจอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก : https://bit.ly/3mLSRE6
  3. หากกิจการมีการเชื่อมต่อการส่งกับผู้ให้บริการอื่น เช่น e-Tax Invoice by email จะไม่สามารถเชื่อมต่อได้ INET เข้ากับ PEAK  ได้

เมื่อสมัครบริการบน INET และเชื่อมต่อกับ PEAK เรียบร้อยแล้ว ต่อไปเรามาส่ง E-Tax Invoice ในโปรแกรมบัญชี PEAK กัน เริ่ม!

  1. สร้างเอกสารใบกำกับภาษี แล้วกด Drop Down ส่งอีเมล
  2. อย่าลืม! กดส่ง E-Tax Invoice ให้เรียบร้อย ซึ่งเมื่อการส่งสำเร็จจะมีกล่องข้อความขึ้นมาแจ้งเตือนเด้งโชว์ขึ้นมา
  3. ใส่อีเมลของลูกค้าที่ต้องการจะจัดส่งเอกสารใบกำกับภาษีให้ หากมีการใส่อีเมลไว้ในหน้าผู้ติดต่อเรียบร้อยแล้ว ระบบจะทำการรัน โดยดึงข้อมูลเก่ามาใช้เป็นอีเมลลูกค้าโดยอัตโนมัติ หรือถ้าหากเราต้องการเพิ่มการส่งมากกว่า 1 อีเมล ให้ทำการใส่ชื่ออีเมลตรงช่อง BCC 
  4. กดส่งอนุมัติ เท่านี้ก็เสร็จเรียบร้อย

สนใจอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก : https://bit.ly/3ls7iNS

วิธีที่ 2 จัดทำโดยใช้ระบบของกรมสรรพากร

จัดทำด้วยระบบบริการของกรมสรรพากร สำหรับเจ้าของธุรกิจ และกิจการร้านค้าที่ยังไม่มีระบบบัญชี สามารถจัดทำเอกสาร และลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ด้วยระบบ RD Portal หรือจัดทำเอกสารส่งอีเมลเพื่อประทับรับรองเวลา (Time Stamp) ด้วยระบบ e-Tax Invoice by Email ให้กรมสรรพกร

–   Web Portal
–   e-Tax Invoice by Email

จะเข้าร่วมระบบ e-Tax Invoice by Email ต้องลงทะเบียนอย่างไร?

PEAK ช่วยจัดการ.ส่งใบกำกับภาษีผ่าน E-Tax Invoice by Email ให้คุณได้ ไม่ยุ่งยาก ง่าย ๆ ในไม่กี่คลิก ก่อนอื่นเลยการจะส่งใบกำกับภาษีผ่าน E-Tax Invoice by Email คุณต้องลงทะเบียน e-Tax Invoice by email กับทางกรมสรรพากรให้เรียบร้อยเสียก่อน

ก่อนอื่นต้องเช็กคุณสมบัติของเจ้าของธุรกิจ และกิจการร้านค้า ที่สามารถยื่นคำขอ e-Tax Invoice by Email ได้ก่อน

1. เจ้าของธุรกิจ และกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (Vat)
2. ต้องเป็นเป็นเจ้าของธุรกิจ และกิจการที่มีรายได้แล้วไม่เกิน 30 ล้านบาท/ปี นับตั้งแต่ปีภาษี 2558 เป็นต้นมา
3. ต้องไม่เป็นเจ้าของธุรกิจ หรือกิจการร้านค้าที่ได้รับอนุมัติ หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาอนุมัติให้จัดทํา ส่งมอบ และเก็บรักษาใบกํากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และใบรับอิเล็กทรอนิกส์ ตามระเบียบกรมสรรพากร
4. ไม่มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงภาษี และไม่มีประวัติการออก หรือใช้ใบกํากับภาษีปลอมหรือใบกํากับภาษีที่ออกโดยผิดกฎหมาย

8 ขั้นตอนในการยื่นขอเข้าร่วมระบบ e-Tax Invoice by Email

ขั้นตอนการสมัคร e-Tax Invoice by Email

1. เข้าเว็บไซต์กรมสรรพากร คลิก : http://www.rd.go.th เพื่อยื่นคําขอ
2. กรอกหมายเลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากร และ ตรวจสอบข้อมูล หรือมีข้อมูลผิดพลาดสามารถแจ้งเปลี่ยนแปลงที่อยู่ ให้เป็นปัจจุบันได้
3. แจ้งอีเมลที่ใช้ในการติดต่อกับกรมสรรพกร
4. พิมพ์เอกสาร กอ.01 และเซ็นชื่อลงนาม
5. สแกนเอกสาร กอ.01 และอัพโหลดเอกสารส่งกลับไป
6. รอทางกรมสรรพกรตรวจสอบ หากตรวจพบว่าเอกสารไม่ถูกต้องครบถ้วนจะต้องทำการอัพโหลดเอกสารใหม่ทั้งหมด ภายในระยะเวลา 7 วันทําการ
7. กรมสรรพากรจัดส่งเอกสาร ยืนยันทางไปรษณีย์ พร้อมรหัสยืนยัน (Activate Code)
8. ยืนยันตัวตนทางเว็บไซต์ และเข้าไปกําหนดรหัสผ่านใหม่ภายในระยะเวลา 15 วันทําการ
9. แจ้งอีเมลที่ต้องการจะใช้ในการส่งใบกํากับภาษีอิเล็กทรอนิกส์

เมื่อยื่นคำขอเข้าร่วมระบบ e-Tax Invoice by Email เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการกดส่ง e-Tax ด้วยตนเอง ซึ่งทำได้ง่าย ๆ เพียง 4 ขั้นตอนกับ PEAK ที่คุณก็สามารถทำเองได้ สนใจอ่านรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก : https://bit.ly/3ls7iNS และที่สำคัญเมื่อทำการกดส่ง e-Tax เรียบร้อยแล้ว จะมีอีเมลจาก ETDA (สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์) ส่งตอบกลับเข้ามาแจ้งให้สามารถว่า ประทับรับรองทางเวลาเรียบร้อย อย่าลืมเช็กกันด้วยนะ 

e-Tax Invoice ถือเป็นเรื่องการยื่นภาษีที่ใหม่มากสำหรับคนไทย มีคนหลายกลุ่มที่ยังไม่เข้าใจ และยังไม่ได้เข้าไปอยู่ในระบบอย่างถูกต้อง แน่นอนว่าสำหรับเจ้าของธุรกิจ หรือกิจการร้านค้าการปฎิบัติตามกฎหมาย ยื่นภาษี, จ่าย Vat อย่างถูกต้องนั้นถือเป็นเรื่องที่ดี ที่จะไม่ทำให้เกิดปัญหาใหญ่ในภายหลัง PEAK พร้อมเป็นที่ปรึกษา และดูแลบัญชีให้ธุรกิจของคุณอย่างครบวงจร หมดห่วงเรื่องภาษี ธุรกิจเติบโตได้อย่างก้าวกระโดด

สมัครใช้งานโปรแกรม PEAK คลิก https://peakaccount.com/

[NEW] 3 ข้อคลายความกังวล ในการใช้ระบบ e-Tax Invoice & Receipt | e-tax invoice บังคับใช้เมื่อไหร่ – NATAVIGUIDES

Session expired

Please log in again.
The login page will open in a new tab. After logging in you can close it and return to this page.


จ่ายค่าน้ำเกินกำหนด​ การประปา​ส่วน​ภูมิภาค​


วิธี​จ่ายค่าน้ำเกิดกำหนดได้ผล100%การประปา​ส่วน​ภูมิภาค
​ค่าน้ำเกินกำหนดจ่ายที่ไหน​ การประปา​ส่วน​ภูมิภาค​

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

จ่ายค่าน้ำเกินกำหนด​ การประปา​ส่วน​ภูมิภาค​

Create Simplified Tax Invoice as per ZATCA’s new e-invoicing rules


https://topnotepad.com/sa/zatcaqualifiedeinvoicingsolution
Simplified Electronic Invoices are designed for most B2C transactions that are instant and where the buyer does not need to use the invoice for input VAT deduction.
Simplified einvoices are issued to the buyers/customers at the point of sale and are shared with the customers and a copy is subsequently archived and stored. During the Generation Phase, it is sufficient for Persons subject to the EInvoicing Regulation to share the Simplified EInvoices with customers, with no further action needed.
You can now create simplified tax invoices using TopNotepad, a ZATCA qualified einvoicing service provider.

Create Simplified Tax Invoice as per ZATCA’s new e-invoicing rules

Q\u0026A e-Tax Invoice EP.2


Questions เกี่ยวกับ eTax Invoice ไขข้อสงสัยต่างๆได้มากมายจากผู้เชี่ยวชาญด้านงาน ECM คุณ ชูศักดิ์ หนุเจริญกุล คำถามที่ใครหลายๆคนอาจจะยังสงสัยว่า Product \”Getinvoice\” นั้น
1.Getinvoice มีระบบทำงานอย่างไร ?
2.เราจะเชื่อมั่นในความปลอดภัยการใช้บริการของ Getinvoice ได้อย่างไร ?
3.Model การขาย Getinvoice มีกี่รูปแบบ ?

หากสนใจ \”Getinvoice\” ขอข้อมูลเพิ่มเติมสามารถติดต่อมาเข้ามาได้ที่
Website : www.getinvoice.net
Line Official : getinvoice
Facebook : GetInvoice
Email : [email protected]

Q\u0026A e-Tax Invoice EP.2

e-Tax Invoice \u0026 Receipt ระบบนำส่งใบกำกับภาษีออนไลน์ ที่ทุกบริษัทต้องเปลี่ยนมาใช้!


ทุกบริษัทต้องเปลี่ยน! หันมายื่นส่งใบกำกับภาษีออนไลน์เเล้ววันนี้✨ ง่ายสะดวก ลดค่าใช้จ่าย ครบจบในระบบเดียว กับ eTax Invoice \u0026 Receipt เพิ่มความปลอดภัยอีกขั้นด้วย Digital Signature
ทำอะไรได้บ้าง?
💻 เปลี่ยนการออกใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงิน เเละใบลดหนี้ใบเพิ่มหนี้ จากกระดาษเป็นอิเล็กทรอนิกส์ตามรูปแบบที่สรรพากรกำหนด โดยสามารถสร้างจากระบบหรือต่อเข้ากับ ERP ขององค์กรโดยตรง
✍️ ทุกเอกสารจะทำการลงลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) เเละประทับรับรองเวลา (Time Stamp) เพื่อยืนยันตัวตนของผู้ออกใบกำกับภาษี ป้องกันการปลอมเเปลงเอกสาร
📨 ระบบทำการจัดส่งใบกำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ให้ลูกค้าเเละผู้ที่เกี่ยวข้องได้อย่างรวดเร็วผ่านอีเมล
📄 ระบบจัดทำไฟล์ XML รูปแบบถูกต้องตามกฏหมายและนำส่งสรรพากรอัตโนมัติ
ทำไมต้องเลือก Codium?
🔹ประสบการณ์ให้บริการกับหลากหลายองค์กรมากกว่า 20 ราย ครอบคลุมหลายอุตสาหกรรมทั้งขนาดใหญ่เเละเล็ก
🔹ออกแบบระบบให้สามารถต่อเข้ากับ ERP ที่องค์กรใช้งานได้เป็นอย่างดีทั้ง SAP, Oracle, Express, Mac5 เเละอื่นๆ
🔹ให้คำปรึกษา พร้อมปรับการใช้งานให้เข้ากับผู้ใช้งานจริง
🔹มีทีมสนับสนุนคอยช่วยเหลือตลอด 24 ขั่วโมง
มาเปลี่ยนการนำส่งใบกำกับภาษีแบบเดิมให้ง่ายขึ้น 👍
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อได้เลยที่ 0917847284
💬 Inbox: m.me/codium
✅ Line: https://lin.ee/4XpxfMU
🌐. Website: https://www.codium.co/home
☎️. Tel. 0917847284

e-Tax Invoice \u0026 Receipt ระบบนำส่งใบกำกับภาษีออนไลน์ ที่ทุกบริษัทต้องเปลี่ยนมาใช้!

เข้าใจ e-Tax Invoice \u0026 e-Receipt อย่างง่าย (sub eng)


เริ่มต้นกับ eTax Invoice \u0026 eReceipt

เข้าใจ e-Tax Invoice \u0026 e-Receipt อย่างง่าย (sub eng)

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ e-tax invoice บังคับใช้เมื่อไหร่

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *