Skip to content
Home » [NEW] A-Z รวบรวมความรู้เกี่ยวกับ present continuous (ปัจจุบันกาลต่อเนื่อง) | โครงสร้าง present continuous tense – NATAVIGUIDES

[NEW] A-Z รวบรวมความรู้เกี่ยวกับ present continuous (ปัจจุบันกาลต่อเนื่อง) | โครงสร้าง present continuous tense – NATAVIGUIDES

โครงสร้าง present continuous tense: คุณกำลังดูกระทู้

Present Continuous เป็น Tense ปัจจุบันกำลังทำซึ่งมีการใช้ และโครงสร้างอย่างไร แถมยกตัวอย่างให้เห็นภาพได้ชัดทั้งหมดจะมีในบทความนี้ อย่าพลาดถ้าคุณอยากพูดภาษาอังกฏษอย่างคล่องนะคะ

Table of Contents

Present continuous tense คืออะไร??

หากต้องการจะบอกว่า เรากำลังทำสิ่งนั้นสิ่งนี้อยู่ ในภาษาอังกฤษจะต้องใช้รูปประโยค Present Continuous Tense เป็นเท็นส์ที่ใช้บอกการกระทำที่กำลังเกิดขึ้น หรือการกระทำที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นเท็นส์ที่ค้อยข้างใช้บ่อย ใช้เพื่อการวางแผนในอนาคต

โครงสร้าง present continuous tense
S + IS, AM, ARE + V ING
ประธาน + IS, AM, ARE + กริยาเติม ING

– โครงสร้างประโยคบอกเล่า: S + is/am/are + V.ing ยกตัวอย่างเช่น She is reading a newpaper
– โครงสร้างประโยคปฏิเสธ: S + is/am/are + not +V.ing ยกตัวอย่างเช่น She is not reading a newpaper
– โครงสร้างประโยคคำถาม: is/am/are + S + V.ing ยกตัวอย่างเช่น Is she reading a newpaper

IameatingHe, She, It, A catiseatingYou, We, They, Catsareeating
Present continuous ไม่ยากอย่างที่คิดเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฏษ present continuous

หลักการใช้ Present continuous tense ฉบับเข้าใจง่าย

ถ้าเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฏษแต่ไม่มีแนวทางการเรียนให้ชัด ก็คงรู้สึกเหนื่อยและเบื่อง่าย เพราะเห็นข้อมูลไหนก็สำคัญ ไม่รู้ควรเรียนอันไหนก่อน อันไหนหลัง อันไหนสำคุญที่ไม่ควรพลาด สำหรับการเรียน tense ในภาษาอังกฏษก็เช่นกัน คุณอาจจะรู้สึกยากไป ยากเพื่อจดจำและยากในการใช้งาน ดังนั้นอย่าพลาดกับหลักการใช้ Present continuous tense ฉบับเข้าใจง่าย ดังนี้ เป็น tense ที่สำคัญ ใช้งานบ่อยมาก มักจะใช้ในการบอกเล่าสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน โดยมีลักษณะการใช้ดังนี้

1. ใช้เพื่อบอกเล่าเหตุการณ์หรือการกระทำในปัจจุบันที่กำลังดำเนินอยู่และยังไม่จบลง

โดยอาจพบคำบอกเวลา (เช่น now, at the moment, right now เป็นต้น ตัวอย่างการใช้เช่น

  • I am studying at Chulalongkorn university. แปลว่า ฉันกำลังศึกษาอยู่ที่มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • I am working as an engineer. แปลว่า ผมทำงานเป็นวิศวกร
  • She is running in the park. แปลว่า  เธอกำลังวิ่งอยู่ในสวน
  • Palm is trying to lose weight now. แปลว่า ปาล์มกำลังพยายามลดน้ำหนักอยู่ตอนนี้

2. ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่กำลังเป็นกระแสหรือเป็นที่นิยมอยู่ในขณะนั้น เช่น   

  • These day, most people are favoring healthy food . แปลว่า ปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่กำลังนิยมอาหารเพื่อสุขภาพ
  • She is looking for a job. แปลว่า เธอกำลังมองหางาน

3. ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีการเตรียมและวางแผนไว้ล่วงหน้าอย่างแน่นอนแล้ว

และมักพบคำบอกเวลา เช่น tonight, this evening, tomorrow, next week เป็นต้น ตัวอย่างการใช้เช่น

  • I am meeting my parent tonight. แปลว่ ฉันจะพบกับพ่อแม่ในคืนนี้
  • Cherprang and Pun are going on holiday next week. แปลว่ เฌอปรางและปัญจะไปพักร้อนสัปดาห์หน้า
  • They are visiting France next weekend. แปลว่า พวกเขากำลังจะไปเที่ยวฝรั่งเศสในสุดสัปดาห์หน้า

4. ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำที่เกิดขึ้นบ่อยจนเกินไป ทำให้ซ้ำซากและน่าเบื่อ ตัวอย่างเช่น

  • Suwich is constantly talking. I wish he would shut up. แปลว่า สุวิชพูดไม่หยุดเลย ฉันหวังว่าเขาจะหยุดพูดเสียที
  • I don’t like gangster near my house because they are always making noisy. แปลว่า ฉันไม่ชอบกลุ่มอันธพาลใกล้บ้านของฉัน เพราะพวกเขามักจะทำเสียงดังเสมอ
  • He is always coming late. แปลว่า เธอสายตลอดเลย
  • My mother is constantly complaining. แปลว่า แม่ฉันนี่บ่นได้แบบไม่หยุดไม่หย่อนเลย

เรียน present continuous ฉบับเข้าใจง่าย

รูปประโยคของ Present Continuous Tense

คำกริยาใน present continuous tense จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนเสมอ ได้แก่ – คำกริยา to be + V-ing (present participle)

ประโยคบอกเล่าประธาน+ to be+ กริยา + ingSheistalking.ประโยคปฏิเสธประธาน+ to be + not+ กริยา + ingSheis not (isn’t)talkingประโยคคำถามto be+ ประธาน+ กริยา + ingIsshetalking?

ประโยคบอกเล่า present continuous tense:

ประโยคบอกเล่าจะเป็นโครงสร้างธรรมดา คือ ประธาน + is, am, are + กริยา เติม ing
He is swimming. เขากำลังว่ายน้ำ
She is riding a bike. หล่อนกำลังขี่จักรยาน
It is raining. มันกำลังฝนตก
We are watching TV. พวกเรากำลังดูทีวี
They are cutting trees. พวกเขากำลังตัดต้นไม้
Cats are drinking water. แมวกำลังดื่มน้ำ

โครงสร้าง: 
– I + am + singing
– He, She, It, a cat + is + sunbathing
– You, We, They, Dogs + are + running

ปัจจุบันกาลต่อเนื่อง - รูปแบบเชิงลบ (negative form)

ประโยคปฏิเสธ present continuous tense:

โครงสร้างปฏิเสธคล้ายประโยคบอกเล่า เพียงแค่เอาคำว่า not มาวางหลัง is, am, are
– He isn’t swimming. เขาไม่ได้กำลังว่ายน้ำ
– She is not riding a bike. หล่อนไม่ได้กำลังขี่จักรยาน
– It’s not raining. มันไม่ได้กำลังฝนตก
– A cat is not eating a fish. แมวไม่ได้กำลังกินปลา
– You are not listening to the radio. คุณไม่ได้กำลังฟังวิทยุ
– We aren’t watching TV. พวกเราไม่ได้กำลังดูทีวี
– They’re not cutting trees. พวกเขาไม่ได้กำลังตัดต้นไม้
– Cats are not drinking water. แมวไม่ได้กำลังดื่มน้ำ

โครงสร้าง: 
– I + am + not + singing
– He, She, It, a cat + not + sunbathing
– You, We, They, Cats + are + not + running

ประโยคคำถาม present continuous tense Yes / No Question:

การทำประโยคคำถามง่ายๆเอง เพียงแค่เอาคำว่า Is, Am, Are มาวางไว้หน้าประโยค
– Am I singing? ผมกำลังร้องเพลงใช่ไหม
– Yes, you are. /No, you aren’t. ใช่  / ไม่ใช่
– Is she riding a bike? หล่อนกำลังขี่จักรยานใช่ไหม
– Yes, she is. / No, she isn’t. ใช่ / ไม่ใช่

โครงสร้าง:
– Am + I + singing?
– Is + He, she, it, a cat + sunbathing?
– Are + You, We, They, Cats + running?

ประโยคที่เป็น present continuous tense ส่วนใหญ่จะมีคำว่า

* now
* right now
* at the moment
* at present
* at + เวลาละเอียด  (เช่น at 12 o’lock)

ตัวอย่างเช่น:
– I am not listening to music at the moment. แปลว่า ฉันไม่ได้ฟังเพลงในขณะนี้
– It is raining now.  แปลว่า ตอนนี้ฝนกำลังตก

หรือคำว่า:
* Look
* Listen
* Keep silent! 

ตัวอย่างเช่น:
– Look! The train is coming. แปลว่า ดู! รถไฟกำลังจะมา
– Listen! Someone is crying.  แปลว่า ฟัง! ใครบางคนกำลังร้องไห้
– Keep silent! The baby is sleeping  แปลว่า เงียบ ๆ หน่อย! เด็กน้อยกำลังนอนหลับ

คำกริยาที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใน Present Continuous Tense

คำกริยาบางตัวไม่สามารถนำมาใช้ในรูปประโยค Present Continuous Tense ได้ ดังนี้

1. กริยาที่แสดงถึงประสาทสัมผัสทั้งห้า เช่น see, hear, feel, taste, smell เป็นต้น
2. กริยาที่แสดงความรู้สึก นึกคิด เช่น believe, know, understand,  forget, remember, recognize, fear เป็นต้น
3. กริยาที่แสดงความชอบและไม่ชอบ เช่น love, like, hate, dislike, desire เป็นต้น
4. กริยาที่แสดงความต้องการ เช่น want, wish, prefer เป็นต้น

รายละเอียดในตารางดังต่อไปนี้

คำกริยา ความหมายภาษาไทยWant /wont/อยากLike /laik/ชอบLove /lav/รักNeed /niːd/ต้องการPrefer /priˈfəː/เสนอBelieve /biˈliːv/เชื่อContain /kənˈtein/บรรจุTaste /teist/รสชาติSuppose /səˈpəuz/สมมติRemember /riˈmembə/เรเมมเบ้Realize /ˈriəlaiz/ตระหนักUnderstand /andəˈstӕnd/เข้าใจDepend /diˈpend/ขึ้นอยู่กับSeem /siːm/ดูเหมือนKnow  /nəu/ทราบBelong /biˈloŋ/เป็นของHope /həup/หวังForget /fəˈɡet/ลืมHate /heit/เกลียดWish /wiʃ/ประสงค์Mean /miːn/หมายความว่าLack /lӕk/ขาดAppear /əˈpiə/ปรากฏSound /saund/เสียง

หลักการเติม ing ท้ายคำกริยาโดยทั่วไป

หลักการเติม ing ท้ายคำกริยาโดยทั่วไปสามารถเติม ing ได้เลย แต่มีข้อยกเว้นบางกรณี ดังนี้

1. คำกริยานั้นมีสระเสียงสั้นเป็น a, e, i, o, u อยู่หน้าพยัญชนะท้าย หรือคำกริยานั้น ๆ มีตัวสะกดเพียงตัวเดียว ก่อนเติม ing ให้เพิ่มตัวสะกดของคำนั้นซ้ำอีกตัวหนึ่งแล้วจึงเติม ing เช่น
* sit   —>   sitting
* cut   —>   cutting
* get   —>   getting
* shop   —>   shopping

2. คำกริยานั้นลงท้ายด้วย e ให้ตัด e ทิ้งแล้วเติม ing เช่น
* come   —>   coming
* drive   —>   driving
* make   —>   making
* ride   —>   riding
* smoke   —>   smoking

3. คำกริยาที่มีสระ 2 ตัว (A, E, I, O, U) ให้เติม ing ได้เลย เช่น
* cook   —>   cooking
* keep   —>   keeping
* read   —>   reading

4. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยน ie เป็น y แล้วจึงเติม ing เช่น
* die   —>   dying
* lie   —>   lying

5. คำกริยาที่มีสองพยางค์ และออกเสียงหนัก (stress) ที่พยางค์หลัง โดยพยางค์นั้นมีสระและตัวสะกดเพียงตัวเดียว ให้เพิ่มตัวสะกดของคำนั้นซ้ำอีกตัวหนึ่งแล้วจึงเติม ing เช่น
* begin   —>   beginning
* refer   —>   referring
* swim   —>   swimming

สรูปว่ายังไงบ้างคะคุณ present continuous เป็น Tense ที่ไม่ยากใชาไหมคะ หวังว่าบทความนี้จะมีผลประโยคดีๆ ต่อผู้เรียนที่กำลังมองหาหลักการณ์เรียนไวบากรณ์ภาษาอังกฏศ เฉพราะเรื่องของ present continuous Tense นะคะ เรียนวันละนิดเเต่ต้องเรียนอย่างสม่ำเสมอเเละเเบ่งเวลาเพื่อเรียนส่วนเนื้อหาที่สำคัญที่มักใช้งานบ่อย รับรองว่าในสักประมาณ สามถึงหกเดือนทำตามเเนวทางการเรียนนี้คุณจะเป็นผู้เรียนต่อไปที่สำเร็จ

[Update] Tense | โครงสร้าง present continuous tense – NATAVIGUIDES

Tense

Tense   คือรูปแบบ(หรือโครงสร้าง)ของกริยา  ที่แสดงให้เราทราบว่า  การกระทำหรือเหตุการ นั้นๆเกิดขึ้นเมื่อใด   ซึ่งเรื่อง  tense  นี้เป็นเรื่องสำคัญ  ถ้าเราใช้    tense  ไม่ถูก  เราก็จะสื่อภาษากับเขา ไม่ได้  เพราะในประโยคภาษาอังกฤษนั้นจะอยู่ในรูปของ  tense  เสมอ  ซึ่งต่างกับภาษาไทยที่เราจะมีข้อความบอกว่าาเกิดขึ้นเมื่อใดมาช่วยเสมอ   แต่ภาษาอังกฤษจะใช้รูป  tense  นี้มาเป็นตัวบอก  ดังนี้การศึกษาเรื่อง  tense  จึงเป็นเรื่องจำ เป็น.

Tense  ในภาษาอังกฤษนี้จะแบ่ง ออกเป็น  3  tense  ใหญ่ๆคือ

1.     Present   tense        ปัจจุบัน

2.     Past   tense              อดีตกาล

3.     Future   tense          อนาคตกาล

ในแต่ละ  tense ยังแยกย่อยได้  tense  ละ  4  คือ

1 .   Simple   tense    ธรรมดา(ง่ายๆตรงๆไม่ซับซ้อน).

2.    Continuous  tense    กำลังกระทำอยู่(กำลังเกิดอยู่)

3.     Perfect  tense     สมบูรณ์(ทำเรียบร้อยแล้ว).

4.     Perfect  continuous  tense  สมบูรณ์กำลังกระทำ(ทำเรียบร้อยแล้วและกำลัง ดำเนินอยู่ด้วย).

โครงสร้างของ  Tense  ทั้ง  12  มีดังนี้

Present  Tense

[1.1]   S  +  Verb  1  +  ……(บอกความจริงที่เกิดขึ้นง่ายๆ ตรงๆไม่ซับซ้อน).

[1.2]   S  +  is, am, are  +  Verb  1  ing   +  …(บอกว่าเดี๋ยวนี้กำลังเกิดอะไร อยู่).

[1.3]   S  +  has, have  +  Verb  3 +  ….(บอกว่าได้ทำมาแล้วจนถึง ปัจจุบัน).

[1.4]   S  +  has, have  +  been  +  Verb 1 ing  + …(บอกว่าได้ทำมาแล้วและกำลังทำ ต่อไปอีก).

Past Tense

[2.1]  S  +  Verb 2  +  …..(บอกเรื่องที่เคยเกิดมาแล้วใน อดีต).

[2.2]  S  +  was, were  +  Verb 1  +…(บอกเรื่องที่กำลังทำอยู่ในอดีต).

[2.3]  S  +  had  +  verb 3  +  …(บอกเรื่อที่ทำมาแล้วในอดีตใน ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง).

[2.4]  S  +  had  +  been  +  verb 1 ing  + …(บอกเรื่องที่ทำมาแล้วอย่างต่อ เนื่องไม่หยุด).

Future Tense

[3.1]  S  +  will, shall  +  verb 1  +….(บอก เรื่องที่จะเกิดขึ้นในอนาคต).

[3.2]  S  +  will, shall  +  be  +  Verb 1 ing  + ….(บอกว่าอนาคตนั้นๆกำลังทำอะไร อยู่).

[3.3]  S  +  will,s hall  +  have  +  Verb 3  +…(บอกเรื่องที่จะเกิดหรือสำเร็จ ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง).

[3.4]  S  +  will,shall  +  have  +  been  + verb 1 ing  +.. ..(บอกเรื่องที่จะทำอย่างต่อเนื่องในเวลาใด –  เวลาหนึ่งในอนาคตและ จะทำต่อไปเรื่อยข้างหน้า).

หลักการใช้แต่ละ  tense  มีดังนี้

[1.1]   Present  simple  tense    เช่น    He  walks.   เขาเดิน,

        1.    ใช้กับ เหตุการที่เกิดขึ้นตามความจริงของธรรมชาติ และคำสุภาษิตคำ พังเพย.

        2.    ใช้กับเหตุการณ์ที่เป็นความจริงในขณะที่พูด  (ก่อนหรือหลังจะไม่จริงก็ตาม).

        3.    ใช้กับกริยาที่ทำนานไม่ได้   เช่น  รัก,  เข้าใจ, รู้  เป็นต้น.

        4.    ใช้กับการกระทำที่คิดว่าจะเกหิดขึ้นในอนาคตอันใกล้(จะมีคำวิเศษณ์บอกอนาคตร่วมด้วย).

        5.    ใช้ในการเล่าสรุปเรื่องต่างๆในอดีต  เช่นนิยาย นิทาน.

        6.    ใช้ในประโยคเงื่อนไขในอนาคต    ที่ต้นประโยคจะขึ้นต้น ด้วยคำว่า    If (ถ้า),unless (เว้น                               เสียแต่ว่า), as  soon  as (เมื่อ,ขณะที่), till (จนกระทั่ง) , whenever (เมื่อไรก็ ตาม),                                 while (ขณะที่)   เป็นต้น.

        7.   ใช้กับเรื่องที่กระทำอย่างสม่ำเสมอและมีคำวิเศษณ์บอกเวลาที่สม่ำเสมอร่วมอยู่ด้วย เช่น always                         (เสมอๆ),  often   (บ่อยๆ),    every  day   (ทุกๆวัน)    เป็นต้น.

        8.    ใช้ในประโยคที่คล้อยตามที่เป็น 

               [8.1]  ประโยคตามต้องใช้  

               [8.2]  ด้วยเสมอ.

[1.2]   Present  continuous  tense   เช่น   He  is  walking.  เขากำลังเดิน.

         1.    ใช้ในเหตุการณ์ที่กำลังกระทำอยู่ในขณะที่พูด(ใช้  now ร่วมด้วยก็ได้ โดยใส่ไว้ต้น ประโยค, หลังกริยา                 หรือสุดประโยคก็ ได้).

          2.    ใช้ในเหตุการณ์ที่กำลังกระทำอยู่ในระยะเวลาอันยาวนาน  เช่น  ในวันนี้ ,ในปีนี้ .

          3.    ใช้กับเหตุการณ์ที่ผู้พูดมั่นใจว่าจะต้องเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้  เช่น เร็วๆนี้, พรุ่งนี้.

         *หมายเหตุ   กริยาที่ทำนานไม่ได้  เช่น  รัก ,เข้าใจ, รู้, ชอบ  จะนำมาแต่งใน  Tense  นี้ไม่ได้.

[1.3] Present perfect tense เช่น He has walk เขาได้เดินแล้ว.

         1.    ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต และต่อเนื่องมาจนถึง ปัจจุบัน  และจะมีคำว่า Since  (ตั้งแต่)                       และ for  (เป็นเวลา) มาใช้ร่วมด้วยเสมอ.

        2.   ใช้กับเหตุการณ์ที่ได้เคยทำมาแล้วในอดีต (จะกี่ครั้งก็ได้ หรือจะทำอีกใน ปัจจุบัน หรือจะทำในอนาคต                   ก็ได้)และจะมีคำ ว่า  ever  (เคย) ,  never  (ไม่เคย) มาใช้ร่วมด้วย.

         3.    ใช้กับเหตุการณ์ที่จบลงแล้วแต่ผู้พูดยังประทับใจอยู่ (ถ้าไม่ประทับใจก็ใช้   Tense

         4.   ใช้กับ เหตุการที่เพิ่งจบไปแล้วไม่นาน(ไม่ได้ประทับใจอยู่) ซึ่งจะมีคำเหล่านี้มาใช้ร่วมด้วยเสมอ คือ                        Just   (เพิ่งจะ), already  (เรียบร้อยแล้ว), yet  (ยัง), finally  (ในที่สุด)  เป็นต้น.

[1.4] Present  perfect  continuous  tense    เช่น  He  has  been  walking .  เขาได้กำลังเดินแล้ว.

*  มีหลักการใช้เหมือน  [1.3]  ทุกประการ เพียงแต่ว่าเน้นว่าจะทำต่อไปในอนาคตด้วย    ซึ่ง [1.3] นั้นไม่เน้นว่าได้กระทำอย่างต่อเนื่องหรือไม่  ส่วน [1.4]  นี้เน้นว่ากระทำมาอย่างต่อเนื่องและจะกระทำต่อไปในอนาคตอีกด้วย.

[2.1] Past  simple  tense      เช่น  He  walked.  เขาเดิน แล้ว.

       1.   ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและจบลงแล้วในอดีต   มิได้ต่อเนื่องมาถึงขณะ ที่พูด และมักมีคำต่อไปนี้มาร่วม                ด้วยเสมอในประโยค เช่น  Yesterday, year  เป็นต้น.

      2.    ใช้กับเหตุการณ์ที่ทำเป็นประจำในอดีตที่ผ่านมาในครั้งนั้นๆ ซึ่งต้องมีคำวิเศษณ์บอกความถี่ (เช่น                         Always, every  day ) กับคำวิเศษณ์ บอกเวลา (เช่น  yesterday,  last  month )  2  อย่างมา                   ร่วมอยู่ด้วยเสมอ.

       3.    ใช้กับเหตุการณ์ที่ได้เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต  แต่ปัจจุบันไม่ได้เกิด อยู่ หรือไม่ได้เป็นดั่งในอดีตนั้นแล้ว                ซึ่งจะมีคำว่า  ago  นี้ร่วมอยู่ด้วย.

        4.      ใช้ในประโยคที่คล้อยตามที่เป็น [2.1]  ประโยคคล้อยตามก็ต้อง เป็น [2.1]  ด้วย.

[2.2]   Past continuous  tense   เช่น    He  was  walking .  เขากำลังเดินแล้ว

         1.     ใช้กับเหตุการณ์   2   อย่างที่เกิดขึ้นไม่พร้อมกัน  { 2.2  นี้ไม่นิยมใช้ตามลำพัง – ถ้าเกิดก่อนใช้                          2.2   –  ถ้าเกิดทีหลังใช้ 2.1}.

         2.     ใช้กับเหตุการณ์ที่ ไดกระทำติดต่อกันตลอดเวลาที่ได้ระบุไว้ในประโยค  ซึ่งจะมีคำบอกเวลาร่วมอยู่                       ด้วยในประโยค  เช่น  all  day  yesterday  etc.

         3.     ใช้กับเหตุการณ์  2  อย่างที่กำลังทำในเวลาเดียวกัน(ใช้เฉพาะกริยาที่ทำได้นานเท่านั้น  หากเป็นกริยา                 ที่ทำนานไม่ได้ก็ใช้หลักข้อ 1 ) ถ้าแต่งด้วย 2.1  กับ  2.2  จะดูจืดชืดเช่น   He  was  cleaning                        the  house  while  I was  cooking  breakfast.

[2.3]   Past  perfect  tense    เช่น  He  had walk.  เขาได้เดินแล้ว.

          1.    ใช้กับ เหตุการณ์  2  อย่างที่เกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอดีต  มีหลักการใช้ดังนี้.

                 เกิดก่อนใช้  2.3  เกิดทีหลังใช้  2.1.

        2.     ใช้กับเหตุการณ์หรือการกระทำอันเดียวก็ได้ในอดีต แต่ต้องระบุชั่วโมงและวันให้แน่ชัดไว้ในทุกประโยค                  ด้วยทุกครั้ง  เช่น   She  had  breakfast  at  eight o’ clock  yesterday.

[2.4]   past  perfect  continuous  tense    เช่น   He  had  been  walking.

มีหลักการใช้เหมือนกับ  2.3  ทุกกรณี  เพียงแต่  tense  นี้  ต้องการย้ำถึงความต่อเนื่องของการกระทำที่ 1  ว่าได้กระทำต่อเนื่องไปจนถึงการกระทำที่  2  โดยมิได้หยุด  เช่น  When  we  arrive  at  the  meeting ,  the  lecturer  had  been  speaking  for  an  hour  .   เมื่อพวกเราไปถึงที่ ประชุม  ผู้บรรยายได้พูดมาแล้ว เป็นเวลา 1  ชั่วโมง.

[3.1]   Future  simple  tense      เช่น   He  will  walk.    เขาจะเดิน.

ใช้กับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต  ซึ่งจะมีคำว่า  tomorrow,  to  night,  next  week,  next  month   เป็นต้น  มาร่วมอยู่ด้วย.

* Shall   ใช้กับ     I    we.

Will    ใช้กับบุรุษที่  2  และนามทั่วๆไป.

Will,  shall  จะใช้สลับกันในกรณีที่จะให้คำมั่นสัญญา, ข่มขู่บังคับ, ตกลงใจแน่วแน่.

Will,  shall   ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือจงใจก็ได้.

Be  going  to  (จะ)  ใช้กับความจงใจของมนุษย์ เท่านั้น  ห้ามใช้กับเหตุการณ์ของธรรมชาติและนิยมใช้ใน ประโยคเงื่อนไข.

[3.2]    Future   continuous    tense    เช่น   He  will  be  walking.    เขากำลังจะ เดิน.

           1.     ใช้ในการบอกกล่าวว่าในอนาคตนั้นกำลังทำอะไรอยู่ (ต้องกำหนดเวลาแน่นอน ด้วยเสมอ).

           2.     ใช้กับเหตุการณ์  2  อย่างที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอนาคต  มีกลักการใช้ดังนี้.

                   –   เกิดก่อนใช้    3.2      S  +  will  be,  shall  be  +  Verb 1  ing.

                   –  เกิดทีหลังใช้   1.1     S  +  Verb  1 .

[3.3]   Future   prefect  tens    เช่น  He  will  walked.  เขาจะได้เดินแล้ว.

          1.  ใช้กับเหตุการณ์ที่จะ เกิดขึ้นหรือสำเร็จลงในเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต  โดยจะมีคำว่า  by  นำหน้ากลุ่ม                คำที่บอกเวลา ด้วย  เช่น   by  tomorrow  ,   by  next  week   เป็น ต้น.

          2.  ใช้กับเหตุการณ์  2  อย่างที่จะเกิดขึ้นไม่พร้อมกันในอนาคต มีหลักดังนี้.

               –      เกิดก่อนใช้   3.3      S  +  will, shall  +  have  +  Verb 3.

               –         เกิด ที่หลังใช้   1.1    S  +  Verb 1 .

[3.4]  Future  prefect  continuous  tense เช่น He  will  have  been  walking. เขาจะได้กำลัง เดินแล้ว.

ใช้เหมือน  3.3  ต่างกันเพียงแต่ว่า  3.4  นี้เน้นถึงการกระทำที่  1  ได้ทำต่อเนื่องมาจนถึงการกระทำที่  2  และจะกระทำต่อไปในอนาคต อีกด้วย.

*   Tense  นี้ไม่ค่อยนิยมใช้บ่อย นัก  โดยเฉพาะกริยาที่ทำนาน ไม่ได้ อย่านำมาแต่งใน  Tense  นี้เด็ดขาด.


CẤU TRÚC 13/111 – (BE/GET) USED TO – Cấu trúc văn nói – Thắng Phạm


CẤU TRÚC 13/111 (BE/GET) USED TO Cấu trúc văn nói Thắng Phạm
LANG KINGDOM HỌC TIẾNG ANH ONLINE
SẴN SÀNG GIAO TIẾP TIẾNG ANH TRONG MỌI NGỮ CẢNH
Tải app Lang Kingdom tại:
iPhone \u0026 iPad: http://tiny.cc/nc10rz
Android: https://bit.ly/2JzHs8p

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

CẤU TRÚC 13/111 - (BE/GET) USED TO - Cấu trúc văn nói - Thắng Phạm

หลักการใช้ Present continuous Tense ฉบับเข้าใจง่าย


รียนคอร์สออนไลน์: http://www.learningtreeuk.com
ติดตามทางเฟสบุ๊ค: http://www.facebook.com/learninguk
ติดต่อสอบถาม: https://line.me/R/ti/p/%40ttw7272u
และไลน์ของครูพิม pimolwan1984

หลักการใช้ Present continuous Tense ฉบับเข้าใจง่าย

Past simple VS Past continuous ใช้กับอดีตทั้งคู่ แต่ใช้ต่างกันยังไง | Eng ลั่น [by We Mahidol]


Past simple กับ Past continuous ใช้กับอดีตทั้งคู่ แต่ใช้ต่างกันยังไง?
หลายคนมักสับสนกับ 2 tense นี้
Past simple ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต เช่น I studied for exams.
Past Continuous ใช้เฉพาะเจาะจงเวลา เน้นความต่อเนื่องของเหตุหารณ์ เช่น I was studying for exams.
วันนี้พี่คะน้า รุ่นพี่วิทยาลัยนานาชาติ ม.มหิดล จะมาสรุปความแตกต่างให้ทุกคนฟังแบบเข้าใจง่าย ไปดูกัน
WeMahidol Mahido Engลั่น PastSimple PastContinuous
YouTube : We Mahidol
Facebook : http://www.facebook.com/wemahidol
Instagram : https://www.instagram.com/wemahidol/
Twitter : https://twitter.com/wemahidol
TikTok : https://www.tiktok.com/@wemahidol
มหาวิทยาลัย มหิดล Mahidol University : https://www.mahidol.ac.th/th/
Website : https://channel.mahidol.ac.th/

Past simple VS Past continuous ใช้กับอดีตทั้งคู่ แต่ใช้ต่างกันยังไง | Eng ลั่น [by We Mahidol]

Past Simple และ Past ContinuousTense ตอนที่ 6 ภาษาอังกฤษ ป.4 – ม.6


Past Simple และ Past ContinuousTense
ภาษาอังกฤษ ป.4 ม.6
มาตราฐาน ต 2.2
มาดูหลักการใช้และความแตกต่างระหว่าง Past Simple และ Past Continuous กับ Bobby และผองเพื่อนกัน
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT (Distance Learning Information Technology)
http://www.dlit.ac.th

Past Simple และ Past ContinuousTense ตอนที่ 6 ภาษาอังกฤษ ป.4 - ม.6

หลักการใช้ Present Continuous เบื้องต้น แบบเข้าใจง่ายสุดๆ


หลักการใช้ Present Continuous เบื้องต้น แบบเข้าใจง่ายสุดๆ พร้อมทั้งพาฝึกแต่งประโยคและทำแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน

หลักการใช้ Present Continuous เบื้องต้น แบบเข้าใจง่ายสุดๆ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ โครงสร้าง present continuous tense

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *