Skip to content
Home » [NEW] 9 วิธีเตรียมตัวเรียนต่อเยอรมัน & ขอทุน DAAD สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี | นักเรียน เยอรมัน – NATAVIGUIDES

[NEW] 9 วิธีเตรียมตัวเรียนต่อเยอรมัน & ขอทุน DAAD สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี | นักเรียน เยอรมัน – NATAVIGUIDES

นักเรียน เยอรมัน: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

วันนี้เก๋มาสรุปวิธีการเตรียมตัวเรียนต่อเยอรมัน & ขอทุน DAAD สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี หรือใครที่อยากไปไปเรียนต่อต่างประเทศค่ะ จริงๆแล้วหลักการก็จะคล้ายๆกัน เพียงแต่พี่เก๋สรุปให้สำหรับคนที่อยากไปเรียนต่อเยอรมัน และขอทุน DAAD ให้โดยเฉพาะ

เพราะมีคำถามหลังไมค์ และ message ใน Facebook ถามมาหลายคนค่ะ ว่า “หนู/ผม อยากไปขอทุนไปเรียนต่อเยอรมัน จะต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างคะ/ครับ”

พี่เก๋ก็เลยเขียนบทความนี้ขึ้นมา อย่างสรุปๆ ถ้ามีอะไรเพิ่มเติมทีหลังเดี๋ยวจะค่อยมาเพิ่มอีกทีนะคะ

1.หาข้อมูลหลักสูตร มหาวิทยาลัยที่ใช่  คณะที่ชอบ และ DAAD สนับสนุน

 

จะบอกว่าข้อนี้สำคัญมาก พี่เก๋เลยเอามาเป็นอันดับหนึ่ง เพราะว่า ถ้าเรารู้ว่าอยากจะเรียนอะไรจะได้ไปหาข้อมูลของหลักสูตรและมหาวิทยาลัย และ DAAD ให้ทุนด้วย เพราะ DAAD ไม่ได้ให้ทุนทุกมหาวิทยาลัย เมื่อได้ข้อมูลส่วนนี้แล้วก็จะรู้ว่าคณะที่เราต้องการจะเข้าต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง เช่น เรียนดี ภาษาเยอรมันได้ระดับไหน ภาษาอังฤษ TOEFL เท่าไร เป็นต้น จะได้มาเตรียมตัวถูก หาสัก 4-5 มหาวิทยาลัย/คณะค่ะ อย่าไปปักใจอยู่ที่เดียวค่ะ เผื่อเลือกหลายใจไว้บ้างแบบนี้ไม่ผิดหรอกค่ะ  หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 

 

 

 

2.  ติดต่อโปรเฟสเซอร์ ของแต่คณะ/มหาวิทยาลัย

 

ส่วนใหญ่คณะ/มหาวิทยาลัย ในเยอรมันทุกที่จะมีอีเมล์ของ   โปรเฟสเซอร์หรืออาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษาของนักศึกษาต่างชาติ ก็เขียนอีเมล์ไปแนะนำตัวว่าตอนนี้กำลังเรียนอะไร ทำ  Thesis  เรื่องอะไร ทำงานวิจัยอะไรมาบ้าง อยากทำงานวิจัยในปริญญาโทเรื่องอะไร แล้วก็ขอคำแนะนำว่าถ้าเราอยากไปเรียนที่เยอรมันที่มหาวิทยาลัยที่โปรเฟสเซอร์สอนอยู่ เราต้องเตรียมตัวอะไรบ้าง

 

เวลาเขียนไป ถ้าเขาไม่ตอบก็รอค่ะ   เพราะส่วนใหญ่โปรเฟสเซอร์ที่ hot  มักจะงานเยอะ ทั้งงานราษฏ์งานหลวง แต่ไม่เคยไม่ตอบอีเมล์นะคะ เท่าที่เรียมเจอมา แต่จะช้าหรือเร็วเท่านั้นเอง แต่ต้องรอเป็นเดือน อย่าใช้นิสัยแบบ พอไม่ตอบมาชั้นระดมยิงอีเมล์รัวๆไป จะดับตั้งแต่ยังไม่เกิดค่ะ

 

3. ฝึกฝนภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมันให้อยู่ในระดับดี

 

การเรียนที่ต่างประเทศ ภาษาเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเป็นเครื่องมือที่ทำให้เราได้รับความรู้อย่างเต็มที่    ซึ่งเดี๋ยวนี้ทาง DAAD ค่อนข้างเข้มงวดกับภาษาค่อนข้างมาก เพราะมีนักศึกษาที่ได้ทุนไป   แล้วเรียนไม่จบทำให้เสียเวลาและเสียงบประมาณไปเป็นอันมาก  มหาวิทยาลัยก็เสียโอกาสที่จะรับนักศึกษามีคุณภาพเข้าไปด้วย   ดังนั้นควรสอบวัดระดับภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมันให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากลที่ส่วนใหญ่เขายอมรับกันค่ะ 

 

 

นอกจากนั้น การเรียนที่ประเทศเยอรมัน เราก็ต้องใช้ภาษาเยอรมันในการใช้ชีวิตประจำวันด้วย และถึงจะไม่ได้ทุนการได้ภาษาที่ 2 และ 3 ก็ทำให้มีโอกาสดีๆอีกมากมายในชีวิตค่ะ

 

 

สำหรับภาษาอังกฤษมีที่เรียนมากมาย ทั้งใน internet สถาบันฯสอนต่างๆ มีคำแนะนำมากมาย พี่เก๋ไม่พูดถึงนะคะ จะแนะนำเฉพาะภาษาเยอรมัน  โดยช่วงเริ่มต้น    อาจจะไปเรียนตามมหาวิทยาลัยหรือสถาบันฯที่ค่าเรียนไม่แพงมากก่อน เมื่อได้ระดับที่ดีแล้ว  มาสอบวัดระดับที่สถาบันเกอเธ่ ซึ่งเป็นสถาบันฯสอนภาษาเยอรมันที่ทาง  DAAD ยอมรับใบรับรอง   ซึ่งอาจจะเสียค่าใช้จ่ายในการสอบระดับบ้าง แล้วค่อยต่อคอร์สที่สูงขึ้นไป

 

 

แต่ที่แนะนำอย่างนี้เพราะว่า  ทางสถาบันเกอเธ่ไม่ได้เปิดคอร์สทุกคอร์ส ต้องขึ้นอยู่กับจำนวนผู้เรียนด้วย ถ้าไม่ถึงจำนวนที่กำหนด  ก็จะไม่เปิดคอร์สนั้น มีน้องพี่เรียมที่ทำงานมาเรียนเฉพาะวันเสาร์อาทิตย์ พอเลื่อนชั้นไป ก็เรียนต่อไม่ได้เพราะจำนวนนักเรียนไม่พอ ทำให้ต้องรอคนครบก่อน แต่พอรอเรียนเพื่อให้ได้ถึงระดับที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ก็เลยกำหนดส่งใบสมัครและอายุเกินแล้วค่ะ ก็เลยเสียโอกาสตรงนี้ไป

 

 

เล่าให้ฟัง  – คณะที่พี่เก๋เรียนจะมีสอบปากเปล่าเป็นภาษาเยอรมันเพื่อเก็บคะแนนด้วย คร่าวๆก็คือ มีโปรเฟสเซอร์กับอาจารย์นั่งอยู่ 2 คน แล้วก็ให้นักศึกษาเข้าไปทีละ 3 คน แล้วก็ถามคำถามคนที่ 1 ก่อน ถ้าคนที่ 1 ตอบไม่ตรงประเด็นหรือไม่ 100% ก็ไปถามคนที่ 2 และ 3 ตามลำดับ คนที่ 3 ก็ได้คะแนนดีที่สุด (ก็เขารู้แล้วนี้ว่าคำตอบที่ไม่ถูกต้องมีไรบ้าง 555) พอคำถามที่ 2 ก็เริ่มที่คนที่ 2 ก่อน ถ้าตอบไม่ดี ก็จะไปถามคนที่ 1 กับ 3 ตามลำดับ 

 

 

ดังนั้นภาษาสำคัญค่ะ บางทีเรารู้คำตอบ แต่ไม่รู้จะอธิบายอย่างไร ก็ตาอยู่เอาไปกินหมด คะแนนเราสูงกว่ายอดหญ้านิดนึง (หญ้าแพรกด้วย ไม่ใช่หญ้าคา) มันช้ำใจ เพราะเพื่อนบางทีมันฉลาดน้อยกว่าเรา แต่ภาษาม้านนนดีกว่าเรา ม้านนนนตอบได้คะแนนไป  

 

มีวิชานึงทำงานกลุ่มกับเพื่อน พี่เป็นคนคำนวณสูตรเคมีปฏิกิริยา ทำการทดลองเกือบทั้งหมด แต่เพื่อนเป็นคนพรีเซนต์เพราะภาษาเยอรมันดีกว่า ทุกคนเลยคิดว่าเพื่อนเก่งกว่า แต่ก็ไม่ได้ โกรธเพื่อนนะเพราะเป็นเพื่อนกัน อีกอย่างตอนนั้นขี้อาย ไม่กล้าด้วยแหละ แต่ตอนนี้ไม่อาย ไม่เขินแล้ว ถึงแม้ภาษาเยอรมันจะยังห่วยเหมือนเดิมก็เถอะ 55555

 

 

 

 

4. ตั้งใจเรียนให้เกรดดี อย่างน้อย 2.75 ขึ้นไป

 

สำหรับบางคณะและมหาวิทยาลัย จะรับนักศึกษาที่ผ่านการสัมภาษณ์จาก DAAD เมืองไทย เพียงอย่างเดียว ซึ่งเกรดก็เป็นเรื่องสำคัญ เพราะเป็นการสะท้อนพฤติกรรมของน้องๆว่าตั้งใจ เรียนขนาดไหน เอาง่ายว่าน้องๆเรียนเป็นภาษาไทย อาจารย์คนไทย  แล้วยังได้เกรดต่ำต้อยเรี่ยดิน แล้วไปอยู่เยอรมันจะไหวหรือว้า    

 

แต่เท่าที่เจอเพื่อนๆหลายคนที่ไปเรียนเมืองนอกที่เกรดต่ำๆนะ พอไปเมืองนอกแล้ว มั๊นสู้สุดใจขาดดิ้นเลยอ่ะ แล้วก็ได้ดีกันเกือบทุกคน  แต่ทุกคนจะบอกว่า รู้งี้ตอนอยู่เมืองไทย ทำเกรดให้ดีๆกว่านี้ จะได้ไม่เหนื่อยมากเท่านี้   และโอกาสจะได้มีมากกว่านี้ทั้งนั้นค่ะ

 

 

 

5. กิจกรรมนอกหลักสูตรทำบ้างก็ได้

 

เช่น กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์  ออกค่ายอาสา เข้าชมรมโน่นนี่นั่น เป็นประธาน เลขา หัวหน้า ฯลฯรู้จักคนไปทั่ว  ข้อนี้เหมือนจะเป็นการวัดทางจิตวิทยามั้งว่า ถ้าน้องๆไปเรียน คงไม่ไปเรียนอย่างเดียว คงหาเพื่อน ศึกษาวัฒนธรรม เรียนรู้ชีวิต และคงไม่ homesick จนเกิดปัญหาเรียน ไม่จบกลางคัน

 

 

6. ตีซี้กับอาจารย์ที่เล็งว่าจะให้เขียนหนังสือรับรองให้ค่ะ (letter of recommendation)

 

จริงๆแล้ว ถ้าข้อ 4 กับ 5 คุณดีแล้วไม่ว่าอาจารย์ท่านใดเขาก็อยากจะเขียนให้คุณค่ะ ไม่ต้องไป ประจบประแจงเวอร์หรอก 555 แต่ก่อนจะให้อาจารย์ท่านใดหรือใครเขียนหนังสือรับรองให้ สืบประวัติมาดีๆนะคะ 555   ถ้าอาจารย์เป็นที่รู้จักกันในแวดวงของวิชาชีพความน่าเชื่อถือ ชื่อเสียงดี ยิ่งดีใหญ่เลยค่ะ แต่บรรดาอาจารย์เหล่านี้ถ้าน้องๆไม่ดีจริงส่วนใหญ่เขาก็ไม่ค่อยอยากจะรับรองให้หรอกค่ะ เพราะกลัวเสียชื่อเสียงไปด้วยค่ะ

 

 

7. เสริมสร้างโปรไฟล์ตัวเองให้ดูดี

 

วิชาชีพบางอย่างมีโปรไฟล์สวยๆก็ช่วยได้เยอะค่ะ  เช่น เรียนถ่ายภาพ คุณอาจจะต้องมีผลงาน ด้านการถ่ายภาพ มีเวปไซต์ (ง่ายๆก็ blog ) โชว์ผลงาน  นักดนตรีต้องเคยร่วมแสดงดนตรีระดับ ไหนก็ว่าไป วาดรูปสวยผ่านการประกวดระดับเขต ประเทศอะไรก็ว่ากันไป เป็นหมอก็เคยทำงานวิจัยรักษาโรคใหม่ๆ มา เป็นนักวิจัยก็เคยมีผลงานวิจัยมาบ้าง มีตีพิมพ์บ้าง เป็นต้น  เพื่อทำให้คุณ

โดดเด้ง กระแทกตากว่าคนอื่นเขา

 

 

8. เตรียมเอกสารสำหรับการสมัครไว้ค่ะ

 

เอกสารหลายอย่างบางครั้งต้องใช้เวลาในการเตรียม การเขียนและเรียบเรียง ถ้าคิดว่ามีแผนที่จะ ไปเรียนเยอรมัน หรือต่างประเทศ ก็เตรียมไว้เนิ่นๆก็ได้  เตรียมเสร็จตอนหลังจะมาปรับ หรือแก้ไขก็ง่ายค่ะ  หรือเอกสารบางอย่างเช่น เอกสารทางภาษาสามารถเก็บไว้ได้ถึง 2 ปี ก็เตรียมๆไว้ก่อนเพราะบางครั้งอาจจะต้องสอบหลายครั้งจึงจะได้คะแนนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดก็ได้ค่ะ เอกสารด้านล่างนี้ เรียมใช้เวลาประมาณ 3-4 เดือนในการเตรียมค่ะ  ยกเว้นเรื่องภาษาเยอรมัน เพียงอย่างเดียวที่เรียนเพียงแค่ 2 คอร์สแล้วก็ไปเรียนต่อคอร์สภาษาที่เยอรมันเลย 

 

– Application form สำหรับบางมหาวิทยาลัยที่อาจจะมีแบบฟอร์มให้กรอกด้วย

– DAAD scholarship application form 

– Biography– typed 

– Biography – handwritten

 

– ประวัติส่วนตัว (CV -Resume)

– Study plan หรือ statement of purpose

 

– B.Engcertificate and transcript of records

 

– จดหมายแนะนำ (letters of recommendations) 

 

– ใบรับรองทางภาษา (Language certificate) แล้วแต่มหาวิทยาลัย เช่น ภาษาอังกฤษ ก็ TOELF, TOICE ภาษาเยอรมัน ก็ DSH, TestDaF เป็นต้น

 

-The other documents เช่น เอกสารรับรองทางการเงิน (financial statement) เพื่อเตรียมขอวีซ่า,

 

ใบรับรองอื่นๆ ตามข้อ 7 เป็นต้น

 

 

9. เตรียมใจ ไว้บ้างค่ะ

 

ไม่ได้เรียนที่เยอรมันก็ไม่เป็นไร ประเทศอื่นก็มีคณะที่น่าสนใจเหมือนกัน  โลกนี้กว้างใหญ่นักไม่ได้ทุน DAAD ก็ไม่เป็นไร เพราะถ้าคุณแจ่มจริง ดีจริง พอไปเรียนที่โน่น อาจารย์ส่วนใหญ่เขาจะเป็นธุระหาทุน หางานในมหาวิทยาลัยให้ทำค่ะ  เพื่อนๆต่างชาติหลายคนของพี่เก๋  ที่ภาษาดีๆ เรียนเก่งมากๆ อาจารย์หาทุนของมหาวิทยาลัยให้ ให้ทำงานในห้องแลป หรือทำงานเป็นคนติดต่อประสานงานกับนักศึกษาต่างชาติ  ได้เงินพอค่าครองชีพ ค่าเทอม (ที่แสนถูก)ค่าท่องเที่ยวเยอะแยะไปค่ะ

 

คร่าวๆก็ประมาณนี้ค่ะ  

 

SmileySmileySmileySmileySmiley สู้ๆค่ะ 

” ฝันให้ไกล แล้วไปให้ถึงค่ะ”สู้ๆค่ะ

 

……………………………………………………………….

ปล.บทความนี้เก๋เคยเขียนไว้ที่  เรียมเจ้าขา blog ของ Bloggang พันทิบ ก่อนจะยกเอาทั้งหมดมารวมกันที่นี่ค่ะ

[NEW] 9 วิธีเตรียมตัวเรียนต่อเยอรมัน & ขอทุน DAAD สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี | นักเรียน เยอรมัน – NATAVIGUIDES

วันนี้เก๋มาสรุปวิธีการเตรียมตัวเรียนต่อเยอรมัน & ขอทุน DAAD สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี หรือใครที่อยากไปไปเรียนต่อต่างประเทศค่ะ จริงๆแล้วหลักการก็จะคล้ายๆกัน เพียงแต่พี่เก๋สรุปให้สำหรับคนที่อยากไปเรียนต่อเยอรมัน และขอทุน DAAD ให้โดยเฉพาะ

เพราะมีคำถามหลังไมค์ และ message ใน Facebook ถามมาหลายคนค่ะ ว่า “หนู/ผม อยากไปขอทุนไปเรียนต่อเยอรมัน จะต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างคะ/ครับ”

พี่เก๋ก็เลยเขียนบทความนี้ขึ้นมา อย่างสรุปๆ ถ้ามีอะไรเพิ่มเติมทีหลังเดี๋ยวจะค่อยมาเพิ่มอีกทีนะคะ

1.หาข้อมูลหลักสูตร มหาวิทยาลัยที่ใช่  คณะที่ชอบ และ DAAD สนับสนุน

 

จะบอกว่าข้อนี้สำคัญมาก พี่เก๋เลยเอามาเป็นอันดับหนึ่ง เพราะว่า ถ้าเรารู้ว่าอยากจะเรียนอะไรจะได้ไปหาข้อมูลของหลักสูตรและมหาวิทยาลัย และ DAAD ให้ทุนด้วย เพราะ DAAD ไม่ได้ให้ทุนทุกมหาวิทยาลัย เมื่อได้ข้อมูลส่วนนี้แล้วก็จะรู้ว่าคณะที่เราต้องการจะเข้าต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง เช่น เรียนดี ภาษาเยอรมันได้ระดับไหน ภาษาอังฤษ TOEFL เท่าไร เป็นต้น จะได้มาเตรียมตัวถูก หาสัก 4-5 มหาวิทยาลัย/คณะค่ะ อย่าไปปักใจอยู่ที่เดียวค่ะ เผื่อเลือกหลายใจไว้บ้างแบบนี้ไม่ผิดหรอกค่ะ  หาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 

 

 

 

2.  ติดต่อโปรเฟสเซอร์ ของแต่คณะ/มหาวิทยาลัย

 

ส่วนใหญ่คณะ/มหาวิทยาลัย ในเยอรมันทุกที่จะมีอีเมล์ของ   โปรเฟสเซอร์หรืออาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษาของนักศึกษาต่างชาติ ก็เขียนอีเมล์ไปแนะนำตัวว่าตอนนี้กำลังเรียนอะไร ทำ  Thesis  เรื่องอะไร ทำงานวิจัยอะไรมาบ้าง อยากทำงานวิจัยในปริญญาโทเรื่องอะไร แล้วก็ขอคำแนะนำว่าถ้าเราอยากไปเรียนที่เยอรมันที่มหาวิทยาลัยที่โปรเฟสเซอร์สอนอยู่ เราต้องเตรียมตัวอะไรบ้าง

 

เวลาเขียนไป ถ้าเขาไม่ตอบก็รอค่ะ   เพราะส่วนใหญ่โปรเฟสเซอร์ที่ hot  มักจะงานเยอะ ทั้งงานราษฏ์งานหลวง แต่ไม่เคยไม่ตอบอีเมล์นะคะ เท่าที่เรียมเจอมา แต่จะช้าหรือเร็วเท่านั้นเอง แต่ต้องรอเป็นเดือน อย่าใช้นิสัยแบบ พอไม่ตอบมาชั้นระดมยิงอีเมล์รัวๆไป จะดับตั้งแต่ยังไม่เกิดค่ะ

 

3. ฝึกฝนภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมันให้อยู่ในระดับดี

 

การเรียนที่ต่างประเทศ ภาษาเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเป็นเครื่องมือที่ทำให้เราได้รับความรู้อย่างเต็มที่    ซึ่งเดี๋ยวนี้ทาง DAAD ค่อนข้างเข้มงวดกับภาษาค่อนข้างมาก เพราะมีนักศึกษาที่ได้ทุนไป   แล้วเรียนไม่จบทำให้เสียเวลาและเสียงบประมาณไปเป็นอันมาก  มหาวิทยาลัยก็เสียโอกาสที่จะรับนักศึกษามีคุณภาพเข้าไปด้วย   ดังนั้นควรสอบวัดระดับภาษาอังกฤษและภาษาเยอรมันให้อยู่ในระดับมาตรฐานสากลที่ส่วนใหญ่เขายอมรับกันค่ะ 

 

 

นอกจากนั้น การเรียนที่ประเทศเยอรมัน เราก็ต้องใช้ภาษาเยอรมันในการใช้ชีวิตประจำวันด้วย และถึงจะไม่ได้ทุนการได้ภาษาที่ 2 และ 3 ก็ทำให้มีโอกาสดีๆอีกมากมายในชีวิตค่ะ

 

 

สำหรับภาษาอังกฤษมีที่เรียนมากมาย ทั้งใน internet สถาบันฯสอนต่างๆ มีคำแนะนำมากมาย พี่เก๋ไม่พูดถึงนะคะ จะแนะนำเฉพาะภาษาเยอรมัน  โดยช่วงเริ่มต้น    อาจจะไปเรียนตามมหาวิทยาลัยหรือสถาบันฯที่ค่าเรียนไม่แพงมากก่อน เมื่อได้ระดับที่ดีแล้ว  มาสอบวัดระดับที่สถาบันเกอเธ่ ซึ่งเป็นสถาบันฯสอนภาษาเยอรมันที่ทาง  DAAD ยอมรับใบรับรอง   ซึ่งอาจจะเสียค่าใช้จ่ายในการสอบระดับบ้าง แล้วค่อยต่อคอร์สที่สูงขึ้นไป

 

 

แต่ที่แนะนำอย่างนี้เพราะว่า  ทางสถาบันเกอเธ่ไม่ได้เปิดคอร์สทุกคอร์ส ต้องขึ้นอยู่กับจำนวนผู้เรียนด้วย ถ้าไม่ถึงจำนวนที่กำหนด  ก็จะไม่เปิดคอร์สนั้น มีน้องพี่เรียมที่ทำงานมาเรียนเฉพาะวันเสาร์อาทิตย์ พอเลื่อนชั้นไป ก็เรียนต่อไม่ได้เพราะจำนวนนักเรียนไม่พอ ทำให้ต้องรอคนครบก่อน แต่พอรอเรียนเพื่อให้ได้ถึงระดับที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ก็เลยกำหนดส่งใบสมัครและอายุเกินแล้วค่ะ ก็เลยเสียโอกาสตรงนี้ไป

 

 

เล่าให้ฟัง  – คณะที่พี่เก๋เรียนจะมีสอบปากเปล่าเป็นภาษาเยอรมันเพื่อเก็บคะแนนด้วย คร่าวๆก็คือ มีโปรเฟสเซอร์กับอาจารย์นั่งอยู่ 2 คน แล้วก็ให้นักศึกษาเข้าไปทีละ 3 คน แล้วก็ถามคำถามคนที่ 1 ก่อน ถ้าคนที่ 1 ตอบไม่ตรงประเด็นหรือไม่ 100% ก็ไปถามคนที่ 2 และ 3 ตามลำดับ คนที่ 3 ก็ได้คะแนนดีที่สุด (ก็เขารู้แล้วนี้ว่าคำตอบที่ไม่ถูกต้องมีไรบ้าง 555) พอคำถามที่ 2 ก็เริ่มที่คนที่ 2 ก่อน ถ้าตอบไม่ดี ก็จะไปถามคนที่ 1 กับ 3 ตามลำดับ 

 

 

ดังนั้นภาษาสำคัญค่ะ บางทีเรารู้คำตอบ แต่ไม่รู้จะอธิบายอย่างไร ก็ตาอยู่เอาไปกินหมด คะแนนเราสูงกว่ายอดหญ้านิดนึง (หญ้าแพรกด้วย ไม่ใช่หญ้าคา) มันช้ำใจ เพราะเพื่อนบางทีมันฉลาดน้อยกว่าเรา แต่ภาษาม้านนนดีกว่าเรา ม้านนนนตอบได้คะแนนไป  

 

มีวิชานึงทำงานกลุ่มกับเพื่อน พี่เป็นคนคำนวณสูตรเคมีปฏิกิริยา ทำการทดลองเกือบทั้งหมด แต่เพื่อนเป็นคนพรีเซนต์เพราะภาษาเยอรมันดีกว่า ทุกคนเลยคิดว่าเพื่อนเก่งกว่า แต่ก็ไม่ได้ โกรธเพื่อนนะเพราะเป็นเพื่อนกัน อีกอย่างตอนนั้นขี้อาย ไม่กล้าด้วยแหละ แต่ตอนนี้ไม่อาย ไม่เขินแล้ว ถึงแม้ภาษาเยอรมันจะยังห่วยเหมือนเดิมก็เถอะ 55555

 

 

 

 

4. ตั้งใจเรียนให้เกรดดี อย่างน้อย 2.75 ขึ้นไป

 

สำหรับบางคณะและมหาวิทยาลัย จะรับนักศึกษาที่ผ่านการสัมภาษณ์จาก DAAD เมืองไทย เพียงอย่างเดียว ซึ่งเกรดก็เป็นเรื่องสำคัญ เพราะเป็นการสะท้อนพฤติกรรมของน้องๆว่าตั้งใจ เรียนขนาดไหน เอาง่ายว่าน้องๆเรียนเป็นภาษาไทย อาจารย์คนไทย  แล้วยังได้เกรดต่ำต้อยเรี่ยดิน แล้วไปอยู่เยอรมันจะไหวหรือว้า    

 

แต่เท่าที่เจอเพื่อนๆหลายคนที่ไปเรียนเมืองนอกที่เกรดต่ำๆนะ พอไปเมืองนอกแล้ว มั๊นสู้สุดใจขาดดิ้นเลยอ่ะ แล้วก็ได้ดีกันเกือบทุกคน  แต่ทุกคนจะบอกว่า รู้งี้ตอนอยู่เมืองไทย ทำเกรดให้ดีๆกว่านี้ จะได้ไม่เหนื่อยมากเท่านี้   และโอกาสจะได้มีมากกว่านี้ทั้งนั้นค่ะ

 

 

 

5. กิจกรรมนอกหลักสูตรทำบ้างก็ได้

 

เช่น กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์  ออกค่ายอาสา เข้าชมรมโน่นนี่นั่น เป็นประธาน เลขา หัวหน้า ฯลฯรู้จักคนไปทั่ว  ข้อนี้เหมือนจะเป็นการวัดทางจิตวิทยามั้งว่า ถ้าน้องๆไปเรียน คงไม่ไปเรียนอย่างเดียว คงหาเพื่อน ศึกษาวัฒนธรรม เรียนรู้ชีวิต และคงไม่ homesick จนเกิดปัญหาเรียน ไม่จบกลางคัน

 

 

6. ตีซี้กับอาจารย์ที่เล็งว่าจะให้เขียนหนังสือรับรองให้ค่ะ (letter of recommendation)

 

จริงๆแล้ว ถ้าข้อ 4 กับ 5 คุณดีแล้วไม่ว่าอาจารย์ท่านใดเขาก็อยากจะเขียนให้คุณค่ะ ไม่ต้องไป ประจบประแจงเวอร์หรอก 555 แต่ก่อนจะให้อาจารย์ท่านใดหรือใครเขียนหนังสือรับรองให้ สืบประวัติมาดีๆนะคะ 555   ถ้าอาจารย์เป็นที่รู้จักกันในแวดวงของวิชาชีพความน่าเชื่อถือ ชื่อเสียงดี ยิ่งดีใหญ่เลยค่ะ แต่บรรดาอาจารย์เหล่านี้ถ้าน้องๆไม่ดีจริงส่วนใหญ่เขาก็ไม่ค่อยอยากจะรับรองให้หรอกค่ะ เพราะกลัวเสียชื่อเสียงไปด้วยค่ะ

 

 

7. เสริมสร้างโปรไฟล์ตัวเองให้ดูดี

 

วิชาชีพบางอย่างมีโปรไฟล์สวยๆก็ช่วยได้เยอะค่ะ  เช่น เรียนถ่ายภาพ คุณอาจจะต้องมีผลงาน ด้านการถ่ายภาพ มีเวปไซต์ (ง่ายๆก็ blog ) โชว์ผลงาน  นักดนตรีต้องเคยร่วมแสดงดนตรีระดับ ไหนก็ว่าไป วาดรูปสวยผ่านการประกวดระดับเขต ประเทศอะไรก็ว่ากันไป เป็นหมอก็เคยทำงานวิจัยรักษาโรคใหม่ๆ มา เป็นนักวิจัยก็เคยมีผลงานวิจัยมาบ้าง มีตีพิมพ์บ้าง เป็นต้น  เพื่อทำให้คุณ

โดดเด้ง กระแทกตากว่าคนอื่นเขา

 

 

8. เตรียมเอกสารสำหรับการสมัครไว้ค่ะ

 

เอกสารหลายอย่างบางครั้งต้องใช้เวลาในการเตรียม การเขียนและเรียบเรียง ถ้าคิดว่ามีแผนที่จะ ไปเรียนเยอรมัน หรือต่างประเทศ ก็เตรียมไว้เนิ่นๆก็ได้  เตรียมเสร็จตอนหลังจะมาปรับ หรือแก้ไขก็ง่ายค่ะ  หรือเอกสารบางอย่างเช่น เอกสารทางภาษาสามารถเก็บไว้ได้ถึง 2 ปี ก็เตรียมๆไว้ก่อนเพราะบางครั้งอาจจะต้องสอบหลายครั้งจึงจะได้คะแนนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดก็ได้ค่ะ เอกสารด้านล่างนี้ เรียมใช้เวลาประมาณ 3-4 เดือนในการเตรียมค่ะ  ยกเว้นเรื่องภาษาเยอรมัน เพียงอย่างเดียวที่เรียนเพียงแค่ 2 คอร์สแล้วก็ไปเรียนต่อคอร์สภาษาที่เยอรมันเลย 

 

– Application form สำหรับบางมหาวิทยาลัยที่อาจจะมีแบบฟอร์มให้กรอกด้วย

– DAAD scholarship application form 

– Biography– typed 

– Biography – handwritten

 

– ประวัติส่วนตัว (CV -Resume)

– Study plan หรือ statement of purpose

 

– B.Engcertificate and transcript of records

 

– จดหมายแนะนำ (letters of recommendations) 

 

– ใบรับรองทางภาษา (Language certificate) แล้วแต่มหาวิทยาลัย เช่น ภาษาอังกฤษ ก็ TOELF, TOICE ภาษาเยอรมัน ก็ DSH, TestDaF เป็นต้น

 

-The other documents เช่น เอกสารรับรองทางการเงิน (financial statement) เพื่อเตรียมขอวีซ่า,

 

ใบรับรองอื่นๆ ตามข้อ 7 เป็นต้น

 

 

9. เตรียมใจ ไว้บ้างค่ะ

 

ไม่ได้เรียนที่เยอรมันก็ไม่เป็นไร ประเทศอื่นก็มีคณะที่น่าสนใจเหมือนกัน  โลกนี้กว้างใหญ่นักไม่ได้ทุน DAAD ก็ไม่เป็นไร เพราะถ้าคุณแจ่มจริง ดีจริง พอไปเรียนที่โน่น อาจารย์ส่วนใหญ่เขาจะเป็นธุระหาทุน หางานในมหาวิทยาลัยให้ทำค่ะ  เพื่อนๆต่างชาติหลายคนของพี่เก๋  ที่ภาษาดีๆ เรียนเก่งมากๆ อาจารย์หาทุนของมหาวิทยาลัยให้ ให้ทำงานในห้องแลป หรือทำงานเป็นคนติดต่อประสานงานกับนักศึกษาต่างชาติ  ได้เงินพอค่าครองชีพ ค่าเทอม (ที่แสนถูก)ค่าท่องเที่ยวเยอะแยะไปค่ะ

 

คร่าวๆก็ประมาณนี้ค่ะ  

 

SmileySmileySmileySmileySmiley สู้ๆค่ะ 

” ฝันให้ไกล แล้วไปให้ถึงค่ะ”สู้ๆค่ะ

 

……………………………………………………………….

ปล.บทความนี้เก๋เคยเขียนไว้ที่  เรียมเจ้าขา blog ของ Bloggang พันทิบ ก่อนจะยกเอาทั้งหมดมารวมกันที่นี่ค่ะ


Q\u0026A ฉบับนักเรียนแลกเปลี่ยนเดนมาร์ก🇩🇰 | นั่งเครื่อง11ชม. / กักตัว / อากาศ / สถานการณ์โควิด??


✨เราชื่อ ‘ป่าน’ เป็นนักเรียนแลกเปลี่ยน✈️ โครงการ AFS รุ่น 5960 (โดนเลื่อนเนื่องจากสถานการณ์ Covid19 ) ประเทศเดนมาร์ก🇩🇰 ✨
เนื่องจากเราได้ลงให้ถามคำถามใน IG story และมีคนถามเข้ามาเยอะมาก คลิปนี้เรามาตอบคำถาม ฉบับนักเรียนแลกเปลี่ยนยุคโควิด!!
|คลิปนี้เราถ่ายในช่วง กักตัว แต่ยังสามารถออกไปเดินในบริเวณโรงแรมได้|
ถ้าใครมีคำถามเพิ่มสามารถถามได้ใต้คอมเม้น⬇️ เลย
Contact
🧽 IG : ppan_sarinya
🧽 FB : Pan Sarinya

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

Q\u0026A ฉบับนักเรียนแลกเปลี่ยนเดนมาร์ก🇩🇰 | นั่งเครื่อง11ชม. / กักตัว / อากาศ / สถานการณ์โควิด??

#226 ของมันต้องมี 🇯🇵 เด็กประถมญี่ปุ่น | ซื้อของเตรียมตัวเปิดเทอม | เปิดกระเป๋านร.เด็กญี่ปุ่น


BG music :
https://youtu.be/7RwD9R66zLM

#226 ของมันต้องมี 🇯🇵 เด็กประถมญี่ปุ่น | ซื้อของเตรียมตัวเปิดเทอม | เปิดกระเป๋านร.เด็กญี่ปุ่น

พาดูมหาลัยท็อปของเยอรมันที่ไอน์สไตน์เคยสอน! แชร์ชีวิตนักเรียน เทคนิคเรียนภาษาเยอรมันให้ได้ภายใน 1 ปี


นักเรียนไทยสายเศรษฐศาสตร์ พาบุกมหาลัย Humboldt มหาลัยอันดับ Top 10 ของเยอรมันที่ Albert Einstein เคยมาสอนด้วย พาชมห้องสมุดที่ดีไซน์เก๋ที่สุดในเบอร์ลิน แล้วชวนคุยแบบฮาๆ แชร์ประสบการณ์การเรียนภาษาเยอรมันให้เป๊ะภายใน 1 ปี
นักเรียนคนไหนสนใจมาเรียนต่อป.โทที่เยอรมัน ทักมาคุยกับเราได้เลย:
ทักแชทมาคุยกับเราที่ Facebook Page ของเรา https://www.facebook.com/keeneducationgermany
LINE ID: @keeneducation
หรือส่งอีเมล์มาที่ [email protected]
follow ไอจีเราได้ที่ https://www.instagram.com/keen_education/
เรียนต่อเยอรมันกับ Keen Education
https://keeneducation.co/
keeneducation เรียนต่อเยอรมัน เรียนต่อต่างประเทศ

พาดูมหาลัยท็อปของเยอรมันที่ไอน์สไตน์เคยสอน! แชร์ชีวิตนักเรียน เทคนิคเรียนภาษาเยอรมันให้ได้ภายใน 1 ปี

อุปกรณ์นักเรียน ป.1 ที่เยอรมัน #นักเรียน #อุปกรณ์การเรียน #โรงเรียน #เยอรมัน


เด็กนักเรียนปอ.1ที่เยอรมันจะไม่ค่อยเน้นหลัก วิชาการ จะมีสอน การเขียนเลข เขียนอักษร และ กิจกรรม การเคลื่อนไหว อุปกรณ์การเรียน ฝรั่งเยอรมัน ลูกครึ่งเยอรมัน นักเรียน

อุปกรณ์นักเรียน ป.1 ที่เยอรมัน #นักเรียน #อุปกรณ์การเรียน #โรงเรียน #เยอรมัน

VLOG นักเรียนแลกเปลี่ยนเยอรมันในช่วงคริสต์มาส เกิดอะไรขึ้น?? |vapassachol


Merry Christmas นะค้าทุกคน วิดีโอนี้วาก็พาทุกคนตามติดไปกับการเที่ยวในเมืองErfurtและชมบรรยกาศเมืองในช่วงคริสต์มาสค่า 🙂
Subscribe: https://www.youtube.com/channel/UC4iC7xyp2ygS0B7EAUA5OZw

Instagram: https://www.instagram.com/vapassachol/

Ask.fm: https://ask.fm/vapassachol

VLOG นักเรียนแลกเปลี่ยนเยอรมันในช่วงคริสต์มาส เกิดอะไรขึ้น?? |vapassachol

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ นักเรียน เยอรมัน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *