Skip to content
Home » [NEW] 40 คำอุทานในภาษาอังกฤษที่ต้องรู้ | แต่ง ประโยค คํา อุทาน – NATAVIGUIDES

[NEW] 40 คำอุทานในภาษาอังกฤษที่ต้องรู้ | แต่ง ประโยค คํา อุทาน – NATAVIGUIDES

แต่ง ประโยค คํา อุทาน: คุณกำลังดูกระทู้

     สวัสดีค่ะน้องๆ ชาว

Dek-D.com

กลับมาพบกับ

English Issues

ทุกวันเสาร์เช่นเคยนะคะ วันนี้เรามาดูเรื่องคำอุทานในภาษาอังกฤษกัน คำอุทานก็เช่น อุ้ย ว้าย โอ๊ะ โอ๊ยค่ะ ในภาษาไทยมีให้ใช้ตั้งเยอะ ภาษาอังกฤษก็มีเยอะเช่นกัน ลองดูคำต่อไปนี้แล้วบอก

พี่พิซซ่า

ด้วยนะคะว่าชอบคำไหนเป็นพิเศษ


 

1. Ah

[อ้า] เสียงแสดงความพอใจหรือโล่งใจ มักลากเสียงสระอายาวๆ

2. Aha

[อ่าฮ่า] เสียงแสดงชัยชนะ หรือจะใช้เยาะเย้ยอีกฝ่ายด้วยก็ได้

3. Ahem

[อะเฮ่ม] เสียงกระแอมเพื่อเรียกความสนใจ แบบอะแฮ่มๆ

4. Argh

[อ๊าร์ก] เสียงโวยวาย แสดงความไม่พอใจ มักเขียนตัว h เพิ่มยาวๆ ตามระดับความไม่พอใจ เหมือนกับ อ๊ากกกก ย๊ากกกก

5. Aw

[อ่อว] เป็นได้ทั้งเสียงในแง่ลบและแง่บวก แง่ลบคือแสดงความผิดหวัง แง่บวกคือแสดงความเห็นใจหรือใช้เวลาเห็นอะไรน่ารักๆ เช่นเห็นเด็กน่ารักๆ ก็ Aw แบบลากเสียงยาวๆ

6. Aye

[อ้าย] เสียงแสดงการเห็นด้วย ถ้าใครถามว่าตกลงมั้ยกับวิธีการนี้ ถ้าเห็นด้วยก็ตอบว่า Aye ได้เลย

7. Boo

[บู้] เสียงจ๊ะเอ๋ให้ตกใจ เหมือนแฮ่

8. Boo-hoo

[บูฮู] เสียงเยาะเย้ยเวลาคนที่เราแกล้งเขาร้องไห้ เป็นเสียงที่ไม่สุภาพ เพราะเป็นการรังแกคนอื่น

9. Bwah-hah-hah

[บวาฮาฮ่า] เสียงหัวเราะอันชั่วร้ายของตัวร้ายเวลาชนะฝ่ายดีได้

10. Duh

[ดะ] เสียงที่ใช้เมื่อฝ่ายตรงข้ามถามอะไรโง่ๆ หรือถามสิ่งที่เห็นได้ชัดอยู่แล้ว เลยตอบไปพร้อมเสียงนี้ เหมือนต่อท้ายว่า “ถามมาได้ไง” เช่น ถามว่า How did you get in here? เลยตอบว่า Through the door, duh. (เธอเข้ามาที่นี่ได้ยังไง – ก็เดินเข้าประตูมาน่ะสิ ถามได้)

11. Eh

[เอ] ปกติมักมากับเครื่องหมายคำถาม (ออกเสียงเป็น เอ๋) ใช้ถามเพื่อให้พูดอีกครั้ง เพื่อเป็นการคอนเฟิร์มสิ่งที่ได้ยินในตอนแรก แต่บางทีก็เจอแบบที่ไม่เครื่องหมายคำถามเช่นกัน จะใช้แสดงความไม่สนใจ

12.

Er, Erm

[เอ่อร์, เอิ่ร์ม] เสียงที่ใช้เวลานึกอยู่ว่าจะพูดอะไร มักลากเสียงยาวๆ ใช้เพื่อยื้อเวลาไว้ก่อนว่าเราคิดอยู่นะ แป๊บนึง นอกจากนี้ก็ใช้คำว่า

Uh

[เอ่อ] ได้เช่นกัน

13. Ew

[อิ้ว] เสียงแสดงความรังเกียจ ยิ่งเกลียดมากยิ่งลากเสียงยาว เวลาเขียนก็เช่นกัน มักลากยาวๆ ว่า Eeeeeeew หรือ Ewwwwwwww

14. Ha

[ฮ่า] เสียงแสดงชัยชนะ หรือความดีใจมากๆๆๆๆ จะออก “ฮ่า” เดียว สั้นๆ

15. Haha

[ฮ่าฮ่า] เสียงหัวเราะ เพราะตลก สนุกสนาน หรือจะหัวเราะเยาะเย้ยก็ได้ ขำมากก็เพิ่ม ha เข้าไปได้อีกเรื่อยๆ บางทีก็เป็นหัวเราะแบบประชด

16. Hee-hee

[ฮี่ฮี่] เสียงหัวเราะแสดงความชั่วร้าย หัวเราะแบบเจ้าเล่ห์หรือมีแผนร้ายอะไรอยู่ บางครั้งเขียนเป็น

Heh-heh

[เฮะเฮ่] ก็ได้เช่นกัน

17. Hey

[เฮ่] ใช้แสดงความตกใจ หรือแสดงความยินดี หรือใช้เรียกคนอื่นแบบ “เฮ้”

18. Hist

[ฮิสต์] เสียงที่ใช้เป็นสัญญาณบอกให้เงียบ แบบจุ๊ๆ นอกจากนี้ก็มีเสียง

Shh

[ชือ] ที่ใช้บอกให้เงียบได้เหมือนกัน เหมือนชู่

19. Hm

[หืม] เสียงแสดงความสงสัยใครรู้ ความสับสน ความไม่แน่ใจ ความลังเล มักเขียนใส่ตัว m เยอะๆ

20. Hooray

[ฮูเร่] เสียงแสดงความยินดี ความสุข หรือชัยชนะ

21. Huh

[ฮ่ะ/เฮอะ] เสียงแสดงความไม่อยากเชื่อ แต่ถ้าใส่เครื่องหมายคำถามไปด้วยจะเป็นการถามให้พูดซ้ำอีกครั้ง

22. Meh

[เหมะฮ์] เสียงแสดงความไม่สนใจในคนนั้นหรือสิ่งที่คนนั้นกำลังพูด ไม่แคร์คนนั้นรู้สึกว่ามันน่าเบื่อมาก

23. Oh

[โอ๊ะ/โอ้] มีความหมายหลายอย่าง สามารถใช้เป็นเสียงแสดงความเข้าใจ (โอ้ อย่างนี้นี่เอง) หรือจะใส่เครื่องหมายคำถามเป็นการถามย้ำว่าจริงๆ หรอ บางทีก็ใช้นำหน้าเวลาเรียกคน นอกจากนี้ยังใช้แสดงว่า “เพิ่งนึกขึ้นมาได้” หรือเป็นเสียงแสดงความเจ็บปวดหรือความสุข

24. Ooh

[โอ้] เสียงนี้จะลากยาวกว่าเสียงเมื่อกี้ ใช้แสดงความสนใจ ความชื่นชม แต่บางครั้งก็เหมือนเป็นการประชดว่าเหมือนจะสนใจ แต่จริงๆ แล้วไม่แคร์เลยซักนิด

25. Oops

[อุ๊ปส์] เสียงที่ใช้เมื่อเกิดความผิดพลาด

26. Ouch

[เอ้าช์] เสียงแสดงความเจ็บปวดทั้งทางกาย เช่นหกล้มเป็นแผล และทางใจ เช่นโดนด่าแล้วเจ็บจนจุกไปเลย ก็เอ้าช์ได้เช่นกัน

27. Pff

[พึฟ/เพิฟ] แสดงความรู้สึกว่าน่ารำคาญจัง หรือแสดงว่าผิดหวัง น่ารังเกียจ บางทีก็ใช้ลงท้ายประโยคเพื่อย้ำว่าเรื่องที่พูดไปนั้นมันเป็นเรื่องแย่หรือเรื่องที่น่ารำคาญจริงๆ

28. Poof

[พุฟ] เสียงที่ใช้เวลาเล่นมายากลให้อะไรหายไป “พุฟ กระต่ายหายไปแล้ว”

29. Tchah

[จึ๊] ออกเสียงโดยเอาลิ้นแตะด้านหลังของฟันหน้าบน แล้วพ่นลมออกมาพร้อมดีดลิ้นลงมา (ยากเนอะ) เป็นเสียงจิ๊จ๊ะแสดงความน่ารำคาญค่ะ บางทีก็เขียน

Tch

เฉยๆ หรือ

Tsk

ก็ออกเสียงคล้ายๆ กัน

30. Ugh

[เอิ๊ก] เสียงแสดงความรังเกียจ

31. Uh-huh

[อ่าฮะ/อ่าฮ่ะ] เสียงแสดงความเห็นด้วย หรือแสดงความเข้าใจ

32. Um

[เอิ่ม] เสียงที่ใช้เวลากำลังนึกอยู่ว่าจะพูดอะไรต่อ โดยที่สิ่งที่จะพูดต่อนั้นก็ยังไม่ค่อยมั่นใจด้วย

33. Whee

[วี่] เสียงแสดงความสนุกสนานตื่นเต้น เช่นเวลาเล่นเครื่องเล่นในสวนสนุก มักลากเสียงยาวๆ

34. Whoa

[โว่ว] เสียงที่ใช้เมื่ออยากบอกให้อีกฝ่ายหยุด หรือทำอะไรให้ช้าลง เช่นอีกฝ่ายเติมน้ำให้เราเยอะมาก เราเลยบอกว่า Whoa เพื่อให้เทช้าลงหรือให้พอ

35. Wow

[ว่าว] เสียงแสดงความตกตะลึง หรือมีเรื่องดีๆ เกิดขึ้น เหมือนว้าว

36. Yay

[เย่] เสียงแสดงความยินดี หรือดีใจด้วย เหมือนเย้

37. Yikes

[ไย้คส์] เสียงแสดงความกลัวหรือความกังวล แต่จะออกแนวทะเล้น หรือแกล้งจงใจพูดมากกว่า

38. Yoo-hoo

[ยู้ฮู] เสียงเรียกให้หันมาสนใจ หรือเสียงทักทายให้คนหันมา

39. Yuck

[ยัค] เสียงแสดงความรังเกียจ หรือขยะแขยง

40. Yum, Yummy

[ยัม, ยัมมี่] เสียงแสดงความอร่อยเวลาทานของอร่อย หรืออาจใช้เวลามีเพศตรงข้ามหน้าตาดีเดินผ่านมาแล้วเราส่งสัญญาณบอกเพื่อนว่าอาหารตาน่ากินมาแล้ว ก็ใช้ยัมแต่ลากเสียง ม. ยาวๆ เป็น Yummmmmm

    

นี่แค่ 40 เสียงที่เจอบ่อยๆ นะคะ อันที่จริงมีอีกเป็นร้อยคำเลยที่ใช้แทนเสียงเพื่อใช้อุทาน แต่ส่วนมากต้องรอเจอจริงๆ ในสถานการณ์ถึงจะเข้าใจค่ะ แต่ไม่เป็นไร เราเริ่มกันที่ 40 คำนี้ก่อนก็ได้ แล้วค่อยเพิ่มคลังศัพท์ของเราเรื่อยๆ ในภายหลัง ว่าแต่วันนี้จะลองใช้คำไหนดีคะ

[NEW] 40 คำอุทานในภาษาอังกฤษที่ต้องรู้ | แต่ง ประโยค คํา อุทาน – NATAVIGUIDES

     สวัสดีค่ะน้องๆ ชาว

Dek-D.com

กลับมาพบกับ

English Issues

ทุกวันเสาร์เช่นเคยนะคะ วันนี้เรามาดูเรื่องคำอุทานในภาษาอังกฤษกัน คำอุทานก็เช่น อุ้ย ว้าย โอ๊ะ โอ๊ยค่ะ ในภาษาไทยมีให้ใช้ตั้งเยอะ ภาษาอังกฤษก็มีเยอะเช่นกัน ลองดูคำต่อไปนี้แล้วบอก

พี่พิซซ่า

ด้วยนะคะว่าชอบคำไหนเป็นพิเศษ


 

1. Ah

[อ้า] เสียงแสดงความพอใจหรือโล่งใจ มักลากเสียงสระอายาวๆ

2. Aha

[อ่าฮ่า] เสียงแสดงชัยชนะ หรือจะใช้เยาะเย้ยอีกฝ่ายด้วยก็ได้

3. Ahem

[อะเฮ่ม] เสียงกระแอมเพื่อเรียกความสนใจ แบบอะแฮ่มๆ

4. Argh

[อ๊าร์ก] เสียงโวยวาย แสดงความไม่พอใจ มักเขียนตัว h เพิ่มยาวๆ ตามระดับความไม่พอใจ เหมือนกับ อ๊ากกกก ย๊ากกกก

5. Aw

[อ่อว] เป็นได้ทั้งเสียงในแง่ลบและแง่บวก แง่ลบคือแสดงความผิดหวัง แง่บวกคือแสดงความเห็นใจหรือใช้เวลาเห็นอะไรน่ารักๆ เช่นเห็นเด็กน่ารักๆ ก็ Aw แบบลากเสียงยาวๆ

6. Aye

[อ้าย] เสียงแสดงการเห็นด้วย ถ้าใครถามว่าตกลงมั้ยกับวิธีการนี้ ถ้าเห็นด้วยก็ตอบว่า Aye ได้เลย

7. Boo

[บู้] เสียงจ๊ะเอ๋ให้ตกใจ เหมือนแฮ่

8. Boo-hoo

[บูฮู] เสียงเยาะเย้ยเวลาคนที่เราแกล้งเขาร้องไห้ เป็นเสียงที่ไม่สุภาพ เพราะเป็นการรังแกคนอื่น

9. Bwah-hah-hah

[บวาฮาฮ่า] เสียงหัวเราะอันชั่วร้ายของตัวร้ายเวลาชนะฝ่ายดีได้

10. Duh

[ดะ] เสียงที่ใช้เมื่อฝ่ายตรงข้ามถามอะไรโง่ๆ หรือถามสิ่งที่เห็นได้ชัดอยู่แล้ว เลยตอบไปพร้อมเสียงนี้ เหมือนต่อท้ายว่า “ถามมาได้ไง” เช่น ถามว่า How did you get in here? เลยตอบว่า Through the door, duh. (เธอเข้ามาที่นี่ได้ยังไง – ก็เดินเข้าประตูมาน่ะสิ ถามได้)

11. Eh

[เอ] ปกติมักมากับเครื่องหมายคำถาม (ออกเสียงเป็น เอ๋) ใช้ถามเพื่อให้พูดอีกครั้ง เพื่อเป็นการคอนเฟิร์มสิ่งที่ได้ยินในตอนแรก แต่บางทีก็เจอแบบที่ไม่เครื่องหมายคำถามเช่นกัน จะใช้แสดงความไม่สนใจ

12.

Er, Erm

[เอ่อร์, เอิ่ร์ม] เสียงที่ใช้เวลานึกอยู่ว่าจะพูดอะไร มักลากเสียงยาวๆ ใช้เพื่อยื้อเวลาไว้ก่อนว่าเราคิดอยู่นะ แป๊บนึง นอกจากนี้ก็ใช้คำว่า

Uh

[เอ่อ] ได้เช่นกัน

13. Ew

[อิ้ว] เสียงแสดงความรังเกียจ ยิ่งเกลียดมากยิ่งลากเสียงยาว เวลาเขียนก็เช่นกัน มักลากยาวๆ ว่า Eeeeeeew หรือ Ewwwwwwww

14. Ha

[ฮ่า] เสียงแสดงชัยชนะ หรือความดีใจมากๆๆๆๆ จะออก “ฮ่า” เดียว สั้นๆ

15. Haha

[ฮ่าฮ่า] เสียงหัวเราะ เพราะตลก สนุกสนาน หรือจะหัวเราะเยาะเย้ยก็ได้ ขำมากก็เพิ่ม ha เข้าไปได้อีกเรื่อยๆ บางทีก็เป็นหัวเราะแบบประชด

16. Hee-hee

[ฮี่ฮี่] เสียงหัวเราะแสดงความชั่วร้าย หัวเราะแบบเจ้าเล่ห์หรือมีแผนร้ายอะไรอยู่ บางครั้งเขียนเป็น

Heh-heh

[เฮะเฮ่] ก็ได้เช่นกัน

17. Hey

[เฮ่] ใช้แสดงความตกใจ หรือแสดงความยินดี หรือใช้เรียกคนอื่นแบบ “เฮ้”

18. Hist

[ฮิสต์] เสียงที่ใช้เป็นสัญญาณบอกให้เงียบ แบบจุ๊ๆ นอกจากนี้ก็มีเสียง

Shh

[ชือ] ที่ใช้บอกให้เงียบได้เหมือนกัน เหมือนชู่

19. Hm

[หืม] เสียงแสดงความสงสัยใครรู้ ความสับสน ความไม่แน่ใจ ความลังเล มักเขียนใส่ตัว m เยอะๆ

20. Hooray

[ฮูเร่] เสียงแสดงความยินดี ความสุข หรือชัยชนะ

21. Huh

[ฮ่ะ/เฮอะ] เสียงแสดงความไม่อยากเชื่อ แต่ถ้าใส่เครื่องหมายคำถามไปด้วยจะเป็นการถามให้พูดซ้ำอีกครั้ง

22. Meh

[เหมะฮ์] เสียงแสดงความไม่สนใจในคนนั้นหรือสิ่งที่คนนั้นกำลังพูด ไม่แคร์คนนั้นรู้สึกว่ามันน่าเบื่อมาก

23. Oh

[โอ๊ะ/โอ้] มีความหมายหลายอย่าง สามารถใช้เป็นเสียงแสดงความเข้าใจ (โอ้ อย่างนี้นี่เอง) หรือจะใส่เครื่องหมายคำถามเป็นการถามย้ำว่าจริงๆ หรอ บางทีก็ใช้นำหน้าเวลาเรียกคน นอกจากนี้ยังใช้แสดงว่า “เพิ่งนึกขึ้นมาได้” หรือเป็นเสียงแสดงความเจ็บปวดหรือความสุข

24. Ooh

[โอ้] เสียงนี้จะลากยาวกว่าเสียงเมื่อกี้ ใช้แสดงความสนใจ ความชื่นชม แต่บางครั้งก็เหมือนเป็นการประชดว่าเหมือนจะสนใจ แต่จริงๆ แล้วไม่แคร์เลยซักนิด

25. Oops

[อุ๊ปส์] เสียงที่ใช้เมื่อเกิดความผิดพลาด

26. Ouch

[เอ้าช์] เสียงแสดงความเจ็บปวดทั้งทางกาย เช่นหกล้มเป็นแผล และทางใจ เช่นโดนด่าแล้วเจ็บจนจุกไปเลย ก็เอ้าช์ได้เช่นกัน

27. Pff

[พึฟ/เพิฟ] แสดงความรู้สึกว่าน่ารำคาญจัง หรือแสดงว่าผิดหวัง น่ารังเกียจ บางทีก็ใช้ลงท้ายประโยคเพื่อย้ำว่าเรื่องที่พูดไปนั้นมันเป็นเรื่องแย่หรือเรื่องที่น่ารำคาญจริงๆ

28. Poof

[พุฟ] เสียงที่ใช้เวลาเล่นมายากลให้อะไรหายไป “พุฟ กระต่ายหายไปแล้ว”

29. Tchah

[จึ๊] ออกเสียงโดยเอาลิ้นแตะด้านหลังของฟันหน้าบน แล้วพ่นลมออกมาพร้อมดีดลิ้นลงมา (ยากเนอะ) เป็นเสียงจิ๊จ๊ะแสดงความน่ารำคาญค่ะ บางทีก็เขียน

Tch

เฉยๆ หรือ

Tsk

ก็ออกเสียงคล้ายๆ กัน

30. Ugh

[เอิ๊ก] เสียงแสดงความรังเกียจ

31. Uh-huh

[อ่าฮะ/อ่าฮ่ะ] เสียงแสดงความเห็นด้วย หรือแสดงความเข้าใจ

32. Um

[เอิ่ม] เสียงที่ใช้เวลากำลังนึกอยู่ว่าจะพูดอะไรต่อ โดยที่สิ่งที่จะพูดต่อนั้นก็ยังไม่ค่อยมั่นใจด้วย

33. Whee

[วี่] เสียงแสดงความสนุกสนานตื่นเต้น เช่นเวลาเล่นเครื่องเล่นในสวนสนุก มักลากเสียงยาวๆ

34. Whoa

[โว่ว] เสียงที่ใช้เมื่ออยากบอกให้อีกฝ่ายหยุด หรือทำอะไรให้ช้าลง เช่นอีกฝ่ายเติมน้ำให้เราเยอะมาก เราเลยบอกว่า Whoa เพื่อให้เทช้าลงหรือให้พอ

35. Wow

[ว่าว] เสียงแสดงความตกตะลึง หรือมีเรื่องดีๆ เกิดขึ้น เหมือนว้าว

36. Yay

[เย่] เสียงแสดงความยินดี หรือดีใจด้วย เหมือนเย้

37. Yikes

[ไย้คส์] เสียงแสดงความกลัวหรือความกังวล แต่จะออกแนวทะเล้น หรือแกล้งจงใจพูดมากกว่า

38. Yoo-hoo

[ยู้ฮู] เสียงเรียกให้หันมาสนใจ หรือเสียงทักทายให้คนหันมา

39. Yuck

[ยัค] เสียงแสดงความรังเกียจ หรือขยะแขยง

40. Yum, Yummy

[ยัม, ยัมมี่] เสียงแสดงความอร่อยเวลาทานของอร่อย หรืออาจใช้เวลามีเพศตรงข้ามหน้าตาดีเดินผ่านมาแล้วเราส่งสัญญาณบอกเพื่อนว่าอาหารตาน่ากินมาแล้ว ก็ใช้ยัมแต่ลากเสียง ม. ยาวๆ เป็น Yummmmmm

    

นี่แค่ 40 เสียงที่เจอบ่อยๆ นะคะ อันที่จริงมีอีกเป็นร้อยคำเลยที่ใช้แทนเสียงเพื่อใช้อุทาน แต่ส่วนมากต้องรอเจอจริงๆ ในสถานการณ์ถึงจะเข้าใจค่ะ แต่ไม่เป็นไร เราเริ่มกันที่ 40 คำนี้ก่อนก็ได้ แล้วค่อยเพิ่มคลังศัพท์ของเราเรื่อยๆ ในภายหลัง ว่าแต่วันนี้จะลองใช้คำไหนดีคะ


DLTV ป.2 ภาษาไทย | 6 ก.ย. 64 | คำอุทาน | เรียนออนไลน์ ย้อนหลัง


สื่อ https://www.dltv.ac.th/utils/files/download/73650
ใบงาน https://www.dltv.ac.th/utils/files/download/73651
ใบความรู้ https://www.dltv.ac.th/utils/files/download/74212
ภาษาไทย หน่วยที่ ๗ วรรคตอนสะท้อนคิด รายการ อุทานเสริมบท ออกอากาศวันที่ 6 ก.ย. 64

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

DLTV ป.2 ภาษาไทย | 6 ก.ย. 64 | คำอุทาน | เรียนออนไลน์ ย้อนหลัง

คำอุทาน – สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.6


สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.6 ชุดนี้
เรื่อง คำอุทาน
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สื่อการเรียนการสอนทุกระดับชั้น ป.1 ม.3 ที่
ครูโอ๋ สื่อการเรียนการสอน
webpage : http://www.kruao.com (ครูโอ๋)
fanpage : https://goo.gl/O22C3X
google+ : https://goo.gl/OBu7ia
youtube : https://goo.gl/bZlYwE

คำอุทาน - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.6

เพลง คำอุทาน (ETH3204)


เพลง คำอุทาน
ทำนอง jingle bell
เพลงนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน
เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ETH 3204 การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เสนอ
อ.ดร.ทัศนีย์ เศรษฐพงษ์
จัดทำโดย
นางสาวพันทิวา ชาญพลรบ รหัส003
นางสาวรักชนก เสมามอญ รหัส 007
นางสาวมณฑิตา พูลผล รหัส 011
นางสาวนิศาชล ดวงอิน รหัส 014
นางสาวสกุลรัตน์ แก้วอุย รหัส 015
นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หมู่เรียน 01
สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

เพลง คำอุทาน (ETH3204)

วิชาภาษาไทย ชั้น ป.5 เรื่อง คำอุทาน


สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 ม.6 ทุกคนที่ต้องการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และคณิตศาสตร์
นักเรียนสามารถทำแบบฝึกหัด และทำแบบทดสอบได้จาก เว็บไซต์ หรือแอปพลิเคชันของเรา
Web: https://nockacademy.com/learn/
iOS: https://apple.co/2SKdksn
Android: http://bit.ly/2REzb7w
●สำหรับผู้ปกครองท่านใดที่สนใจ●
http://nockacademy.com
●สำหรับโรงเรียนใดที่สนใจ●
https://nockacademy.com/forschool/

วิชาภาษาไทย ชั้น ป.5 เรื่อง คำอุทาน

ทบทวนบทเรียน เรื่อง คำอุทานบอกอาการ (ชุดที่ 2) By Meepooh ครูกิตติวัฒน์


ทบทวนบทเรียน เรื่อง คำอุทานบอกอาการ (ชุดที่ 2) By Meepooh ครูกิตติวัฒน์

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ แต่ง ประโยค คํา อุทาน

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *