Skip to content
Home » [NEW] 108 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐานง่ายๆ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจําวัน มีคำอ่าน แปล! | ประเทศ รัสเซีย ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

[NEW] 108 ประโยคภาษาอังกฤษพื้นฐานง่ายๆ ที่ใช้บ่อยในชีวิตประจําวัน มีคำอ่าน แปล! | ประเทศ รัสเซีย ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

ประเทศ รัสเซีย ภาษา อังกฤษ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

1721

SHARES

Facebook

Twitter

ประโยคภาษาอังกฤษ 108 ประโยคพื้นฐาน สำหรับผู้เริ่มฝึกพูดภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันกันนะครับ  เนื้อหาต่อไปนี้มีทั้งภาษาอังกฤษ คำอ่าน พร้อมทั้งคำแปลให้เรียบร้อย เผื่อบางคนที่ยังอ่านไม่คล่องนั่นเอง

ประโยคภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจําวันสำรับเจ้าของภาษาอาจจะยาวๆ หรือว่ายากๆหน่อย ซึ่งเขาก็ใช้ในแบบฉบับของเขานั่นแหละครับ สำหรับพวกเราแล้ว ถ้ายังเพิ่งเริ่มเรียนใหม่ๆ ขอแนะนำให้ศึกษาประโยคภาษาอังกฤษง่ายๆ และเป็นประโยคภาษาอังกฤษที่ใช้บ่อยก่อนเป็นเบื้องต้น แล้วค่อยๆศึกษาอะไรที่มันยากขึ้นหลังจากที่เราพอมีพื้นฐานแล้ว

ประโยคภาษาอังกฤษ

Table of Contents

ประโยคภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน

ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษที่จะได้เรียนรู้กันต่อไปนี้ เป็นแนวคําถามและคำตอบคู่กัน ซึ่งแต่งประโยคโดยใช้คำพูดง่ายๆ พร้อมคำแปล เพื่อทุกคนไม่ต้องพะวงกับการเปิดดิกชันนารี ถ้าสามารถเรียนรู้และจดจำได้ทั้ง 108 ประโยค รับรองว่าสามารถฟุดฟิดฟอไฟได้ในระดับหนึ่งเลยแหล่ะ

ประโยคภาษาอังกฤษสำหรับการทักทาย ถามตอบทุกข์สุข

ประโยคภาษาอังกฤษที่ใช้บ่อย

ประโยคถามตอบทุกข์สุขก็จะเป็นการทักทาย การแนะนำตัว การกล่าวลา ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า Greetings นั่นเอง มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 12 ประโยคด้วยกัน

1.Hello, my name is Sam.
เฮ็ลโล มายเนม อิส แซม
สวัสดี ชื่อ ของผม คือ แซม (ผมชื่อแซม)

2. Hey, I’m Jane.
เฮ้ ไอม เจน
หวัดี ฉัน คือ เจน (ฉันชื่อเจน)

3. Nice to meet you.
ไนซ ทุ มีท ยู
ยินดี ที่ได้ พบ คุณ (ยินดีที่ได้รู้จัก)

4. Nice to meet you, too.
ไนซ ทุ มีท ยู ทู
ยินดี ที่ได้ พบ คุณ เช่นกัน (ยินดีที่ได้รู้จักเช่นกัน)

5. It was nice meeting you.
อิท เวิส ไนซ มี๊ททิง ยู
มัน ดี ที่ได้ รู้จัก คุณ (ยินดีที่ได้รู้จักกับคุณ)

6. It was nice meeting you, too. Bye.
อิท เวิส ไนซ มี๊ททิง ยู ทู บาย
มัน ดี ที่ได้ รู้จัก คุณ เช่นกัน ลาก่อน

7. Goodbye.
กุ๊ดบาย
ลาก่อน

8. Nice to see you again.
ไนซ ทู ซี ยู อะเกน
ยินดี ที่ได้ พบ คุณ อีกครั้ง

 9.You too.
ยูทู
เช่นกัน

10.How are you?
ฮาว อา ยู
คุณ สบายดี ไหม

11. Fine thanks, and you?
ไฟน แธงส แอน ยู๊
สบายดี ขอบคุณ แล้วคุณล่ะ

12.I’m okay, thank you.
ไอม โอเค แธงคิว
ฉัน สบายดี ขอบคุณ

ประโยคภาษาอังกฤษสำหรับถามตอบข้อมูลส่วนบุคคล

ฝึกพูดภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน

ประโยคถามตอบข้อมูลส่วนบุคคล ก็จะเป็นการถามข้อมูลส่วนบุคคลในด้านต่างๆ เช่น ถิ่นกำเนิด อาชีพ สถานศึกษาเป็นต้น ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า Personal Information นั่นเอง มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 35 ประโยคด้วยกัน

13. Where are you from?
แว อา ยู ฟรอม
คุณ มา จาก ไหน

14. I’m from England.
ไอม ฟรอม อิ๊งเลินด
ฉัน มา จาก ประเทศอังกฤษ

15. Where do you come from?
แว ดู ยู คัม ฟรอม
คุณ มา จาก ไหน

16. I come from America.
ไอ คัม ฟรอม อเม๊ริเคอะ
ฉัน มา จาก ประเทศ อเมริกา

17. What do you do?
ว็อท ดู ยู ดู
คุณ ทำงาน อะไร

18. I’m a student.
ไอม อะ สตู๊เดินท
ผม เป็น นักศึกษา

19.What’s your job?
ว็อทส ยัว จอบ
คุณ ทำงาน อะไร

20. I work in a bank.
ไอ เวิค อิน อะ แบ็งค
ฉัน ทำงาน ใน ธนาคาร

21. Where do you work?
แว ดู ยู เวิค
คุณ ทำงาน ที่ไหน

22. I work for the Smile Bank.
ไอ เวิค ฟอ เดอะ สไมล แบ็งค
ฉัน ทำงาน ให้กับ ธนาคาร สไมล์

23. Do you like your job?
ดู ยู ไลค ยัว จอบ
คุณ ชอบ งาน ของคุณ ใช่ไหม

24. Yes. I like it very much.
เย็ส ไอ ไลค อิท เว๊ริ มัช
ใช่ค่ะ ฉัน ชอบ มัน มาก

25. Where do you go to school?
แว ดู ยู โก ทู สกูล
คุณ ไป โรงเรียน ที่ไหน (คุณเรียนอยู่ที่ไหน)

26. I go to King School.
ไอ โก ทู คิง สกูล
ผม ไป โรงเรียน คิง (ผมเรียนอยู่ที่โรงเรียนคิง)

27. What subjects do you like?
ว็อท ซับเจ็คส ดู ยู ไลค
วิชา อะไร ที่คุณ ชอบ (คุณชอบวิชาอะไร)

28. I like math and English.
ไอ ไลค แม็ธ แอน อิ๊งลิช
ผม ชอบ คณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ

29. How tall are you?
ฮาว ทอล อา ยู
คุณ สูง เท่าไหร่

30. I’m 165 centimetres tall.
ไอม วัน ฮั๊นเดริด แอนด ซิกสติ เซ็นทิมี๊เทอส ทอล
ฉัน สูง 165 เซ็นติเมตร

31. What is your weight?
ว็อท อิส ยัว เวท
น้ำหนัก ของคุณ คือ อะไร (คุณ หนัก เท่าไหร่)

32.I wiegh 42 kilograms.
ไอ เว ฟ๊อทิ ทู คิ๊ละแกรมส
ฉัน หนัก 42 กิโลกรัม

33. How old are you?
ฮาว โอลด อา ยู
คุณ อายุ เท่าไหร่

34. I’m twenty-three.
ไอม เทว็นทิ ธรี
ฉัน อายุ 23

35. How old are you?
ฮาว โอลด อา ยู
คุณ อายุ เท่าไหร่

36. I’m twenty years old.
ไอม เทว็นทิ เยียส โอลด
ฉัน อายุ ยี่สิบ ปี

37. When is your birthday?
เว็น อิส ยัว เบิ๊ธเด
เมื่อไหร่ คือ วันเกิด ของคุณ (วันเกิดของคุณวันไหน)

38. Fourth of July.
ฟอธ ออฟ จุล๊าย
วันที่ 4 ของ เดือนกรกฎาคม ( 4 กรกฎาคม)

39. When were you born?
เว็น เวอ ยู บอน
เมื่อไหร่ คุณ ถูกให้กำเนิด (คุณเกิดวันไหน)

40. December 6th, 1994.
ดิเซ็มเบอะ เดอะ ซิกส์ ไนนทีน ไนนทิฟอ
เดือนธันวาคม วันที่ 6 ปี 2537 (6 ธันวาคม 2537)

41. Do you have a mobile phone?
ดู ยู แฮฝ อะ โม๊ไบล โฟน
คุณ มี โทรศัพท์ มือถือ ใช่ไหม

42. Yes, I do.
เย็ส ไอ ดู
ใช่ ฉัน มี

43.What’s your phone number?
ว็อทส ยัว โฟน นั๊มเบอะ
เบอร์ โทรศัพท์ ของคุณ คือ อะไร

44. 086 123 3129
โอ เอท ซิกส วัน ทู ธรี ธรี ทู วัน ไนน
ศูนย์ แปด หก หนึ่ง สอง สาม สาม หนึ่ง สอง เก้า

45.What nationality are you?
ว็อท แน๊ชแน็ลเลอะทิ อา ยู
คุณ คือ สัญชาติ อะไร (คุณมีสัญชาติอะไร)

46. I’m American.
ไอม อะเม๊ริเคิน
ผม คือ สัญชาติอเมริกัน (ผมมีสัญชาติอเมริกัน)

47. What’s your nationality?
ว็อทส ยัว แน๊ชแนลเลอะทิ
สัญชาติ ของ คุณคือ อะไร

48. I’m English.
ไอม อิ๊งลิช
ฉัน คือ สัญชาติอังกฤษ (ฉันมีสัญชาติอังกฤษ)

ประโยคภาษาอังกฤษสำหรับถามตอบสิ่งที่ชื่นชอบ

ประโยคภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน

ประโยคถามตอบสิ่งที่ชื่นชอบ ก็จะเป็นการถามเกี่ยวกับ บุคคล สิ่งของ กิจกรรมต่างๆที่ชื่นชอบ เช่น นักร้อง สี กีฬา ผลไม้ เป็นต้น  ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า Favourites นั่นเอง มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 30 ประโยคด้วยกัน

49. Who is your favourite singer?
ฮู อิส ยัว เฟ็ฝเวอะริท ซิ๊งเงอะ
นักร้อง ที่ชื่นชอบ ของคุณ คือ ใคร (นักร้องคนโปรดของคุณคือใคร)

50. My favorite singer is Justin Bieber?
มาย เฟ็ฝเวอะริท ซิ๊งเงอะ อิส จั๊สติน บี๊เบอะ
นักร้อง คนโปรด ของฉัน คือ จัสติน บีเบอร์

51.I like Lady Gaga.
ไอ ไลค เล๊ดิ ก๊ากะ
ฉัน ชอบ เลดี้ กาก้า

52. Who is your favourite star?
ฮู อิส ยัว เฟ็ฝเวอะริท สตา
ดารา ที่ชื่นชอบ ของคุณ คือ ใคร (ดาราคนโปรดของคุณคือใคร)

53. I like Brad Pitt. And you?
ไอ ไลค แบรด พิท แอนด ยู๊
ฉัน ชอบ แบรด พิตต์ แล้ว คุณล่ะ

54. My favourite is David Beckham.
มาย เฟ็ฝเวอะริท อิส เด๊วิด เบ็คแฮม
คนที่โปรดปราน ของฉัน คือ เดวิด เบ็คแฮม

55. What kind of music do you like?
ว็อท ไคด ออฟ มิ๊วสิค ดู ยู ไลค
ดนตรี ชนิด อะไร ที่ คุณ ชอบ (คุณชอบดนตรีแนวไหน)

56. I like pop music.
ไอ ไลค พ็อพ มิ๊วสิค
ฉัน ชอบ ดนตรีแนวป็อป

57. I don’t like pop music. I like rock.
ไอ ด้นท ไลค พ็อพ มิ๊วสิค ไอ ไลค ร็อค
ฉัน ไม่ชอบ ดนตรี แนวป็อป ฉัน ชอบ แนวร็อก

58. What kind of food do you like?
ว็อท ไคด ออฟ ฟูด ดู ยู ไลค
อาหาร ชนิด อะไร ที่ คุณ ชอบ (คุณชอบอาหารชนิดไหน)

59. I like chicken.
ไอ ไลค ชิ๊คเคิน
ฉัน ชอบ ไก่

60. What’s your favorite food?
ว็อทส ยัว เฟ็ฝเวอะริท ฟูด
อาหาร ที่คุณ ชื่นชอบ คือ อะไร

61. My favorite food is steak.
มาย เฟ็ฝเวอะริท ฟูด อิส สเต๊ค
อาหาร ที่ชื่นชอบ ของฉัน คือ สเต็ก

62. What colour do you like?
ว็อท คั๊ลเลอะ ดู ยู ไลค
สี อะไร ที่ คุณ ชอบ (คุณชอบสีอะไร)

63. I like blue.
ไอ ไลค บลู
ฉัน ชอบ สีฟ้า

64. What’s your favorite color?
ว็อทส ยัว เฟ็ฝเวอะริท คั๊ลเลอะ
สี ที่คุณ ชื่นชอบ คือ อะไร

65.My favorite colour is white.
มาย เฟ็ฝเวอะริท คั๊ลเลอะ อิส ไวท
สี ที่ชื่นชอบ ของฉัน คือ สีขาว

66.What movie do you like?
ว็อท มู๊วิ ดู ยู ไลค
หนัง อะไร ที่ คุณ ชอบ (คุณชอบหนังเรื่องไหน)

67.  I like Harry Potter.
ไอ ไลค แฮ๊ริ พ็อทเทอะ
ฉัน ชอบ แฮรี่ พ็อตเตอร์

68. What’s your favorite movie?
ว็อทส ยัว เฟ็ฝเวอะริท มู๊วิ
หนัง ที่คุณ ชื่นชอบ คือ อะไร

69. Spider Man.
สไป๊เดอะ แมน
สไปเดอร์ แมน

70. What’s your favorite sport?
ว็อทส ยัว เฟ็ฝเวอะริท สปอท
กีฬา ที่ชื่นชอบ ของคุณ คือ อะไร

71. My favourite sport is football.
มาย เฟ็ฝเวอะริท สปอท อิส ฟุทบอล
กีฬา ที่ชื่นชอบ ของฉัน คือ ฟุตบอล

72. What sport do you like?
ว็อท สปอท ดู ยู ไลค
คุณ ชอบ กีฬา อะไร

73. I like golf.
ไอ ไลค กอฟ
ฉับ ชอบ กอล์ฟ

74. What animals do you like?
ว็อท แอ๊นเนอะเมิลส ดู ยู ไลค
สัตว์ อะไร ที่คุณ ชอบ (คุณชอบสัตว์ชนิดไหน)

75.  I like cats. Do you like cats?
ไอ ไลค แค็ทส ดู ยู ไลค แค็ทส
ผม ชอบ แมว คุณ ชอบ แมว ใช่ไหม

76.  Yes, I do.
เย็ส ไอ ดู
ใช่ค่ะ (ํฉัน ชอบ แมว)

77.  What kind of fruit do you like?
ว็อท ไคด ออฟ ฟรูท ดู ยู ไลค
ผลไม้ ชนิด อะไร ที่ คุณ ชอบ (คุณชอบผลไม้ชนิดไหน)

78. I like bananas.
ไอ ไลค บะน๊านัส
ฉัน ชอบ กล้วย

79. Do you like bananas?
ดู ยู ไลค บะนานั๊ส
คุณ ชอบ กล้วย ไหม

ประโยคภาษาอังกฤษสำหรับถามตอบความสามารถส่วนบุคคล

ประโยคภาษาอังกฤษง่ายๆ

ประโยคถามตอบความสามารถส่วนบุคคล ก็จะเป็นการถามว่าคุณมีความสามารถพิเศษอะไรบ้าง เช่น การพูดภาษาต่างประเทศ การร้องเพลง การเล่นดนตรี เป็นต้น ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า Special Ability นั่นเอง มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 14 ประโยคด้วยกัน

80. Can you speak French?
แคน ยู สปีค เฟร็นช
คุณ สามารถ พูด ภาษาฝรั่งเศส ไหม (คุณพูดภาษาฝรั่งเศสเป็นไหม)

81. Yes, I can. I speak English and French.
เย็ส ไอ แคน ไอ สปีค อิ๊งลิช แอนด เฟร็นช
ใช่ ฉัน สามารถ (พูดได้) ฉัน พูด ภาษาอังกฤษ และ ภาษาฝรั่งเศส

82. How many languages can you speak?
ฮาว เม็นนิ แล๊งกวิจเจ็ส แคน ยู สปีค
คุณ สามารถ พูดได้ กี่ ภาษา

83. I can speak two languages; English and Chinese.
ไอ แคน สปีค ทู แล๊งกวิจเจ็ส อิ๊งลิช แอนด ไชนี๊ส
ฉัน สามารถ พูดได้ สอง ภาษา ภาษาอังกฤษ และ ภาษาจีน

84. Can you play the football?
แคน ยู เพล ฟุตบ๊อล
คุณ สามารถ เล่น ฟุตบอลล ไหม (คุณเล่นฟุตบอลเป็นไหม)

85. Yes, I can.
เย็ส ไอ แคน
ใช่ ฉัน สามารถ (เล่นเป็น)

86. Can you play football?
แคน ยู เพล ฟุตบ๊อล
คุณ สามารถ เล่น ฟุตบอล ไหม (เล่นฟุตบอลเป็นไหม)

87. No, I can’t play football. I can play golf.
โน ไอ แค๊นท ไอ แคน เพล กอฟ
ไม่ ฉัน ไม่สามารถ เล่น ฟุตบอล(เล่นฟุตบอลไม่เป็น) ฉัน สามารถ เล่น กอฟ (เล่นกอล์ฟเป็น)

88. Can you play the piano?
แคน ยู เพล เดะ พิแอโน๊
คุณ สามารถ เล่น เปียโน ไหม (คุณเล่นเปียโนเป็นไหม)

89. No, I can’t. I can play the violin.
โน ไอ แค้นท ไอ แคน เพล เดอะ ไว๊เออะลิน
ไม่ ฉัน ไม่สามารถ (เล่นไม่เป็น) ฉัน สามารถ เล่น ไวโอลิน (เล่นไวโอลินเป็น)

90. Can you play the guitar?
แคน ยู เพล เดอะ กิท๊า
คุณ สามารถ เล่น กีตาร์ ไหม (เล่นกีตาร์เป็นไหม)

91. Yes, I can play the guitar and the piano?
เย็ส ไอ แคน เพล เดอะ กิท๊า แอนด เดอะ พิแอ๊โน
ใช่ ฉัน สามารถ เล่น กีตาร์ และ เปียโน (เล่นกีตาร์และเปียโนได้)

92. Can you sing?
แคน ยู ซิง
คุณ สามารถ ร้องเพลง ไหม (คุณร้องเพลงเป็นไหม)

93. Yes, I can. And you?
เย็ส ไอ แคน แอนด ยู๊
ใช่ ฉัน สามารถ (ร้องเป็น) แล้ว คุณล่ะ

94. I can’t sing but I can dance.
ไอ ค้านท ซิง บัท ไอ แคน ด๊านซ
ฉัน ไม่สามารถ ร้องเพลง (ร้องไม่เป็น) แต่ ฉัน สามารถ เต้นรำ(เต้นรำเป็น)

ประโยคภาษาอังกฤษสำหรับถามตอบเกี่ยวกับครอบครัว

ประโยคภาษาอังกฤษที่ใช้ในชีวิตประจําวัน

ประโยคถามตอบเกี่ยวกับครอบครัว ก็จะเป็นการถามข้อมูลเกี่ยบกับบุคคลในครอบรัว  เช่น ในครอบครัวมีกี่คน มีพี่น้องกี่คน เป็นต้น ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า Family นั่นเอง มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 7 ประโยคด้วยกัน

95. How many people are there in your family?
ฮาว เม็นนิ พี๊เพิล อา แด อิน ยัว แฟ๊มลิ
ใน ครอบครัว ของคุณ มี กี่ คน

96. There are five people. What about you?
แด อา ไฟฝ พี๊เพิล ว็อท อะเบ๊า ยู
มี ห้า คน แล้วคุณล่ะ

97. There are three people in my family.
แด อา ธรี พี๊เพิล อิน มาย แฟ๊มลิ
มี สาม คน ใน ครอบครัว ของฉัน

98. How many brothers and sisters do you have?
ฮาว เม็นนิ บรั๊ดเดอส แอนด ซิ๊สเตอส ดู ยู แฮฝ
คุณ มี พี่ชายน้องชาย และ พี่สาวน้องสาว กี่คน

99. I have one sister and two brothers.
ไอ แฮฝ วัน ซิสเตอะ แอนด ทู บรั๊ดเดอส
ฉัน มี พี่สาวน้องสาว หนึ่งคน และ พี่ชายน้องชาย สองคน

100. Do you have any brothers or sisters?
ดู ยู แฮฝ เอ็นนิ บรัดเดอส ออ ซิ๊สเตอส
คุณ มี พี่ชายน้องชาย หรือ พี่สาวน้องสาว บ้างไหม

101. Yes, I have one brother.
เย็ส ไอ แฮฝ วัน บรั๊ดเดอะ
ใช่ ผม มี พี่ชายน้องชาย หนึ่งคน

ประโยคภาษาอังกฤษสำหรับถามตอบทั่วไป

ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษ

ประโยคถามตอบทั่วไป ก็จะเป็นการถามทั่วๆไปไม่จำกัด  ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกว่า General Topics นั่นเอง มีอยู่ด้วยกันทั้งหมด 7 ประโยคด้วยกัน

102. What do you do after school?
ว็อท ดู ยู ดู อ๊าฟเทอะ สกูล
คุณ ทำ อะไร หลังจาก เลิกเรียน

103. I play football.
ไอ พเล ฟุทบอล
ผม เล่น ฟุตบอล

104. what do you do after work?
ว็อท ดู ยู ดู อ๊าฟเทอะ เวิค
คุณ ทำ อะไร หลังจาก เลิกงาน

105. I read books.
ไอ รีด บุคส
ฉัน อ่าน หนังสือ

106. How often do you play football?
ฮาว อ๊อฟึน ดู ยู เพล ฟุ๊ทบอล
คุณ เล่น ฟุตบอล บ่อยแค่ไหน

107. I play football twice a week. And you?
ไอ เพล ฟุ๊ทบอล ไทว๊ซ อะ วีค
ผม เล่น ฟุตบอล สองครั้ง ต่อ สัปดาห์

108. I don’t play football.
ไอ ด๊น เพล ฟุ๊ทบอล
ฉันไม่เล่นฟุตบอล

เป็นอย่างไรกันบ้างครับสำหรับ ประโยคภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน คิดว่าถ้าใครเรียนจนจบทั้ง 108 ประโยคแล้ว คิดว่าสามารถที่จะพูดภาษาอังกฤษได้ในระดับหนึ่งแน่นอน เพราะประโยคที่นำมาเสนอ เป็นประโยคง่ายที่ใช้กันในชีวิตประจำวัน

ขอ 5 ดาวให้บทเรียนด้วยครับผม…

คลิกดาวดวงที่ขวามือสุดเลยครับครับ…

Average rating 4.4 / 5. Vote count: 658

ยังไม่มีใครให้ดาว คุณคือคนแรก….

[Update] คำศัพท์ ”*รัสเซีย*” แปลว่าอะไร? | ประเทศ รัสเซีย ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

Moscow (Russia)มอสโก (รัสเซีย) [TU Subject Heading]

Russiaรัสเซีย [TU Subject Heading]

Russian languageภาษารัสเซีย [TU Subject Heading]
Russian newspapersหนังสือพิมพ์รัสเซีย [TU Subject Heading]
Russian poetryกวีนิพนธ์รัสเซีย [TU Subject Heading]

Asia Pacific Economic Cooperationความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก
” เป็นกระบวนการความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2532 มีเป้าหมายในการเปิดการค้าเสรีและการลงทุน ภายในปี พ.ศ. 2553 สำหรับสมาชิกพัฒนาแล้ว และปี พ.ศ. 2563 สำหรับสมาชิกกำลังพัฒนา ขณะนี้มีสมาชิกประกอบด้วย ออสเตรเลีย บรูไน ดารุสซาลาม แคนาดา ชิลี จีน ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี มาเลเซีย เม็กซิโก นิวซีแลนด์ ปาปัวนิวกีนี เปรู ฟิลิปปินส์ รัสเซีย สิงคโปร์ จีนไทเป ไทย สหรัฐอเมริกา และเวียดนาม โดยประเทศไทยเป็นสมาชิกก่อตั้ง ” [การทูต]

ASEAN Regional Forumการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
” เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ “”geographical footprint”” หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting – AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures – CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures – ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief – ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations – ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination – ARF ISM on SAR) ” [การทูต]
ASEAN-Russia Joint Cooperation Committeeคณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย
เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน มีคณะทำงาน 2 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ (2) ด้านเศรษฐกิจ [การทูต]
ASEAN Dialogue Partnersคู่เจรจาอาเซียน
” ประกอบด้วย 9 ประเทศ 1 กลุ่มประเทศ และ 1 องค์การระหว่างประเทศ คือ ออสเตรเลีย แคนาดา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี นิวซีแลนด์ รัสเซีย สหรัฐอเมริกา ประชาคมยุโรป และโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ โดยคู่เจรจาเหล่านี้ (ยกเว้นโครงการพัฒนาแห่งสห- ประชาชาติ) จะเข้าร่วมการประชุม PMC ด้วย ”
[การทูต]
Black Sea Economic Cooperationกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศริมฝั่งทะเลดำ
ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2535 มีสมาชิก 11 ประเทศ ประกอบด้วยรัสเซีย แอลเบเนีย อาร์เมเนีย อาร์เซอร์ไบจาน จอร์เจีย บัลแกเรีย กรีซ มอลโดวา ตุรกี ยูเครนและโรมาเนีย
[การทูต]
The Conference on Interaction and Confidence-Building Measures in Asiaการประชุมว่าด้วยการแสวงหามาตรการเสริมสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (ด้านความมั่นคง) ในเอเชีย
” CICA ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2536 โดยความริเริ่มของคาซัคสถาน และมีสมาชิกเข้าร่วม 16 ประเทศ ได้แก่ คาซัคสถาน อินเดีย ปากีสถาน ปาเลสไตน์ รัสเซีย ตุรกี จีน อิสราเอล อิหร่าน อัฟกานิสถาน อียิปต์ อาเซอร์ไบจาน มองโกเลีย คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน และประเทศผู้สังเกตการณ์อีก 10 ประเทศ ได้แก่ มาเลเซีย ญี่ปุ่น เกาหลี ยูเครน เวียดนาม อินโดนีเซีย ไทย ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และเลบานอน ”
[การทูต]
Commonwealth of Independent Statesเครือรัฐเอกราช
” กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราชเกิดจากการรวมตัวกันของบรรดาประเทศเกิดใหม่ภาย หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต (ยกเว้นประเทศ กลุ่มทะเลบอลติก 3 ประเทศ ได้แก่ ลิธัวเนีย แลตเวีย และเอสโตเนีย) ซึ่งได้ร่วมลงนามในปฏิญญา Alma-Ata ก่อตั้งเครือรัฐเอกราชเมื่อปี พ.ศ. 2534 ประกอบด้วยสมาชิก 12 ประเทศ ได้แก่ รัสเซีย ยูเครน เบลารุส มอลโดวา คาซัคสถาน อุซเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คีร์กิซสถาน ทาจิกิสถาน อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน และจอร์เจีย ” [การทูต]
concert of nationsความปรองดองระหว่างชาติ
หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง “มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ” (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365
[การทูต]
Congress of Viennaเป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป
ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว
[การทูต]
Diplomatic Languageภาษาการทูต
ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา
[การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ
เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
Great Powersประเทศมหาอำนาจ
รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่
[การทูต]
Intelligenceเรื่องสืบราชการลับ
กล่าวอย่างกว้าง ๆ คือ เรื่องลับไม่ว่าชนิดใด โดยเฉพาะที่จะมีประโยชน์แก่ผู้กำหนดนโยบาย หรือฝ่ายทหารที่มีหน้าที่ว่างนโยบายหรือวางแผนยุทธศาสตร์ ถือว่าเป็น Intelligence ทั้งสิ้น เช่น ในสหรัฐอเมริกามีองค์กรสืบราชการลับอยู่หลายแห่ง เช่น CIA (สำนักงานสืบราชการลับกลาง) The NSA (National Security Agency หรือองค์การรักษาความมั่นคงปลอดภัยแห่งชาติ) G-2 (ฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพบก) FBI (Federal Bureau of Investigation หรือหน่วยสืบสวนของรัฐบาลกลาง) Bureau of Intelligence and Research of the State Department หรือหน่วยสืบราชการลับและวิจัยของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ รวมทั้งฝ่ายสืบราชการลับของกองทัพเรือและกองทัพอากาศ ส่วนในโซเวียตรัสเซีย (ปัจจุบันเรียกชื่อใหม่ว่ารัสเซีย) แต่เดิมมีองค์การสืบราชการลับอยู่จำนวนหนึ่ง ที่สำคัญๆ ได้แก่ ฝ่ายสืบราชการลับทางทหารของกระทรวงกลาโหม หรือที่เรียกว่า YRU (Ylavnoe Razdevyvatelnoe Uptavlenie) และ KGB (Kommissariat Gosudatstvennoie Bezopastnotsi หรือ Commisariat of State Security) ในประเทศอังกฤษ มีฝ่ายสืบราชการลับเรียกว่า M15 (British Counter Intelligence) M16 เป็นหน่วยสาขาซึ่งทำงานด้านจารกรรมในต่างประเทศ และ M18 เป็นฝ่ายสืบราชการฝ่ายทหาร (Cryptographic Bureau of Military Intelligence)
[การทูต]
International Conferencesคือการประชุมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการระหว่าง ผู้แทนผู้มีอำนาจเต็มจากหลาย ๆ ประเทศ
เพื่อพิจารณาหาทางระงับปัญหาระหว่างประเทศ การประชุมเช่นนี้บางทีเรียกว่า คองเกรสระหว่างประเทศ แม้จะเรียกต่างกัน แต่ก็ไม่มีอะไรแตกต่างกันที่สำคัญระหว่างสองคำนี้ บ้างมีความเห็นว่า ใช้คำคองเกรส ดูจะมีความสำคัญและมีลักษณะเป็นทางการมากกว่าใช้คำ คอนเฟอเรนซ์ผู้แทนจากประเทศที่ร่วมการประชุมในบางโอกาส ได้แก่บุคคลในระดับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือเอกอัครราชทูต แล้วแต่ว่าการประชุมนั้น ๆ มีความสำคัญระดับใดในการประชุมระหว่างประเทศ แต่เดิมใช้ภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศสกันมากทั้งสองภาษา มาในภายหลังมักนิยมใช้ภาษาอังกฤษเกือบทั้งหมด ส่วนการประชุมระหว่างประเทศที่องค์การสหประชาชาติเป็นผู้จัด จะใช้ภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส สเปน รัสเซีย และจีน รวม 5 ภาษาตามปกติ มักจะเลือกหัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศเจ้าภาพให้ทำหน้าที่ประธานการประชุม ส่วนเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ของการประชุม ได้แก่ รองประธาน เลขานุการของการประชุม ประธานกรรมการ และผู้บันทึกรายงานสำหรับรายงานการประชุม ข้อมติของที่ประชุมและข้อเสนอแนะนั้น จะรวมเข้าไว้ในเอกสารที่เรียกว่า กรรมสารสุดท้าย (Final Act) ซึ่งผู้แทนประเทศผู้มีอำนาจเต็มจะเป็นผู้ลงนามในเอกสารนั้นในการประชุมครั้ง สุดท้าย
[การทูต]

Neutralization, Neutrality หรือ Neutralismคำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ
รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน
[การทูต]
Shanghai Cooperation Organization พัฒนามาจากเวทีการประชุม Shanghai Five ซึ่งจีนเป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2539 เดิมมีสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ จีน รัสเซีย คาซัคสถาน สาธารณรัฐคีร์กีซ และทาจิกิสถาน ต่อมาเมื่อเดือนมิถุนายน 2544 อุซเบกิสถาน ได้เข้าเป็นสมาชิกด้วย จึงมีการเปลี่ยนชื่อกลไกความ ร่วมมือนี้เป็น Shanghai Cooperation Organization เดิมมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจและแก้ไขข้อพิพาทเกี่ยวกับพรมแดนของประเทศสมาชิก และต่อมาได้ขยายขอบเขตความร่วมมือให้ครอบคลุม ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจการค้า วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม การศึกษา พลังงาน การคมนาคม [การทูต]
The Hague Peace Conferencesการประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์
การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย
[การทูต]
United Nations Security Councilคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
” ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ ”
[การทูต]


เรียนก่อนนอน – รัสเซีย (เจ้าของภาษา) – มีเพลง


เรียนก่อนนอน รัสเซีย (เจ้าของภาษา) มีเพลง
=== สมัครสมาชิก === http://www.usefulrussian.com
▼▼▼ วีดีโอเพิ่มเติม ▼▼▼ https://www.youtube.com/watch?v=BsY2BIPprbY\u0026list=PLtXj4U74pNC5GCkmgIwBd6qcJPma8JO7s
UsefulRussian LearningPhrases
ช่วยเหลือ และ สมัครสมาชิก
========================================================
https://www.youtube.com/learningphrases?sub_confirmation=1
https://www.youtube.com/usefulgerman?sub_confirmation=1
https://www.youtube.com/usefulfrench?sub_confirmation=1
https://www.youtube.com/usefulchinese?sub_confirmation=1
https://www.youtube.com/usefuljapanese?sub_confirmation=1
https://www.youtube.com/usefulspanish?sub_confirmation=1
https://www.youtube.com/usefulrussian?sub_confirmation=1
https://www.youtube.com/usefulitalian?sub_confirmation=1
▼▼▼ วีดีโอเพิ่มเติม ▼▼▼
==อัลบาเนีย==
https://www.youtube.com/watch?v=mx1tYnllZ74
==อาราบิก==
https://www.youtube.com/watch?v=WWE4dSTuyWI
==บัลแกเรีย==
https://www.youtube.com/watch?v=_6TI2xwbVuo
==เยอรมัน==
https://www.youtube.com/watch?v=j7njJgIykfs
==อังกฤษ==
https://www.youtube.com/watch?v=BsY2BIPprbY
==สเปน==
https://www.youtube.com/watch?v=hLOtg5URb7k
==ฝรั่งเศษ==
https://www.youtube.com/watch?v=fASWPNx2o8
==อิตาลี่==
https://www.youtube.com/watch?v=C2rXf_eouvo
==ญี่ปุ่น==
https://www.youtube.com/watch?v=Amo6e8xqdO4
==โปรตุเกส==
https://www.youtube.com/watch?v=zAOtd70YpIo
==โรมาเนีย==
https://www.youtube.com/watch?v=2R9eTkeqgok
==รัสเซีย==
https://www.youtube.com/watch?v=HZpUMk3lvVw
==จีน==
https://www.youtube.com/watch?v=DNEB5Q_N3tc

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

เรียนก่อนนอน - รัสเซีย (เจ้าของภาษา)  - มีเพลง

คำศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดประเทศ เมืองหลวง สัญชาติ Nationality_ครูบุ๋ม


รายชื่อประเทศในโลก และเมืองหลวง เรียงตามอักษรอังกฤษอยู่ ด้านล่าง
List of countries in the world and the capital.
COUNTRY CAPITAL
AFGHANISTAN KABUL
ALBANIA TIRANA
ALGERIA ALGIERS
ANDORRA ANDORRA LA VELLA
ANGOLA LUANDA
ANTIGUA \u0026 BARBUDA SAINT JOHN’S
ARGENTINA BUENOS AIRES
ARMENIA YEREVAN
AUSTRALIA CANBERRA
AUSTRIA VIENNA
AZERBAIJAN BAKU
BAHAMAS, THE NASSAU
BAHRAIN MANAMA
BANGLADESH DHAKA
BARBADOS BRIDGETOWN
BELARUS MINSK
BELGIUM BRUSSELS
BELIZE BELMOPAN
BENIN PORTONOVO
BHUTAN THIMPHU
BOLIVIA SUCRE
BOSNIA \u0026 HERZEGOVINA SARAJEVO
BOTSWANA GABORONE
BRAZIL BRASILIA
BRUNEI BANDAR SERI BEGAWAN
BULGARIA SOFIA
BURKINA FASO OUAGADOUGOU
BURUNDI BUJUMBURA
CABO VERDE PRAIA
CAMBODIA PHNOM PENH
CAMEROON YAOUNDE
CANADA OTTAWA
CENTRAL AFRICAN REPUBLIC BANGUI
CHAD N’DJAMENA
CHILE SANTIAGO
CHINA BEIJING
COLOMBIA BOGOTÁ
COMOROS MORONI
CONGO, DEMOCRATIC REPUBLIC OF THE KINSHASA
COSTA RICA SAN JOSE
CÔTE D’IVOIRE YAMOUSSOUKRO
CROATIA ZAGREB
CUBA HAVANA
CYPRUS NICOSIA
CZECH REPUBLIC PRAGUE
DENMARK COPENHAGEN
DJIBOUTI DJIBOUTI (CITY)
DOMINICA ROSEAU
DOMINICAN REPUBLIC SANTO DOMINGO
ECUADOR QUITO
EGYPT CAIRO
EL SALVADOR SAN SALVADOR
EQUATORIAL GUINEA MALABO
ERITREA ASMARA
ESTONIA TALLINN
ETHIOPIA ADDIS ABABA
FEDERATED STATES OF MICRONESIA PALIKIR
FIJI SUVA
FINLAND HELSINKI
FRANCE PARIS
GABON LIBREVILLE
GAMBIA, THE BANJUL
GEORGIA TBILISI
GERMANY BERLIN
GHANA ACCRA
GREECE ATHENS
GRENADA SAINT GEORGE’S
GUATEMALA GUATEMALA CITY
GUINEA CONAKRY
GUINEABISSAU BISSAU
GUYANA GEORGETOWN
HAITI PORTAUPRINCE
HONDURAS TEGUCIGALPA
HUNGARY BUDAPEST
ICELAND REYKJAVIK
INDIA NEW DELHI
INDONESIA JAKARTA
IRAN TEHRAN
IRAQ BAGHDAD
IRELAND DUBLIN
ISRAEL JERUSALEM, TEL AVIV
ITALY ROME
JAMAICA KINGSTON
JAPAN TOKYO
JORDAN AMMAN
KAZAKHSTAN ASTANA
KENYA NAIROBI
KIRIBATI SOUTH TARAWA
KOSOVO PRISTINA
KUWAIT KUWAIT CITY
KYRGYZSTAN BISHKEK
LAOS VIENTIANE
LATVIA RIGA
LEBANON BEIRUT
LESOTHO MASERU
LIBERIA MONROVIA
LIBYA TRIPOLI
LIECHTENSTEIN VADUZ
LITHUANIA VILNIUS
LUXEMBOURG LUXEMBOURG
MACEDONIA SKOPJE
MADAGASCAR ANTANANARIVO
MALAWI LILONGWE
MALAYSIA KUALA LUMPUR
MALDIVES MALE
MALI BAMAKO
MALTA VALLETTA
MARSHALL ISLANDS MAJURO
MAURITANIA NOUAKCHOTT
MAURITIUS PORT LOUIS
MEXICO MEXICO CITY
MOLDOVA CHISINAU
MONACO MONACO
MONGOLIA ULAANBAATAR
MONTENEGRO PODGORICA
MOROCCO RABAT
MOZAMBIQUE MAPUTO
MYANMAR NAY PYI TAW
NAMIBIA WINDHOEK
NAURU YAREN DISTRICT
NEPAL KATHMANDU
NETHERLANDS AMSTERDAM
NEW ZEALAND WELLINGTON
NICARAGUA MANAGUA
NIGER NIAMEY
NIGERIA ABUJA
NORTH KOREA PYONGYANG
NORWAY OSLO
OMAN MUSCAT
PAKISTAN ISLAMABAD
PALAU NGERULMUD
PALESTINE JERUSALEM, RAMALLAH
PANAMA PANAMA CITY
PAPUA NEW GUINEA PORT MORESBY
PARAGUAY ASUNCIÓN
PERU LIMA
PHILIPPINES MANILA
POLAND WARSAW
PORTUGAL LISBON
QATAR DOHA
REPUBLIC OF THE CONGO BRAZZAVILLE
ROMANIA BUCHAREST
RUSSIA MOSCOW
RWANDA KIGALI
SAINT KITTS \u0026 NEVIS BASSETERRE
SAINT LUCIA CASTRIES
SAINT VINCENT \u0026 THE GRENADINES KINGSTOWN
SAMOA APIA
SAN MARINO SAN MARINO
SÃO TOMÉ \u0026 PRÍNCIPE SÃO TOMÉ
SAUDI ARABIA RIYADH
SENEGAL DAKAR
SERBIA BELGRADE
SEYCHELLES VICTORIA
SIERRA LEONE FREETOWN
SINGAPORE SINGAPORE
SLOVAKIA BRATISLAVA
SLOVENIA LJUBLJANA
SOLOMON ISLANDS HONIARA
SOMALIA MOGADISHU
SOUTH AFRICA BLOEMFONTEIN, CAPE TOWN, PRETORIA
SOUTH KOREA SEOUL
SOUTH SUDAN JUBA
SPAIN MADRID
SRI LANKA COLOMBO, SRI JAYAWARDENEPURA KOTTE
SUDAN KHARTOUM
SURINAME PARAMARIBO
SWAZILAND MBABANE
SWEDEN STOCKHOLM
SWITZERLAND BERN
SYRIA DAMASCUS
TAJIKISTAN DUSHANBE
TANZANIA DODOMA
THAILAND BANGKOK
TIMORLESTE DILI
TOGO LOMÉ
TONGA NUKUʻALOFA
TRINIDAD \u0026 TOBAGO PORT OF SPAIN
TUNISIA TUNIS
TURKEY ANKARA
TURKMENISTAN ASHGABAT
TUVALU FUNAFUTI
UGANDA KAMPALA
UKRAINE KIEV
UNITED ARAB EMIRATES ABU DHABI
UNITED KINGDOM LONDON
UNITED STATES WASHINGTON, D.C.
URUGUAY MONTEVIDEO
UZBEKISTAN TASHKENT
VANUATU PORT VILA
VATICAN CITY VATICAN CITY
VENEZUELA CARACAS
VIETNAM HANOI
YEMEN SANA’A
ZAMBIA LUSAKA
ZIMBABWE HARARE

คำศัพท์ภาษาอังกฤษ หมวดประเทศ เมืองหลวง สัญชาติ  Nationality_ครูบุ๋ม

CareTalk x CareClubHouse : “Metaverse” โลกก้าวไป แต่นายกไทยยังใช้ทหารปลูกผักชี!?


“Metaverse” โลกก้าวไป แต่นายกไทยยังใช้ทหารปลูกผักชี!?
.
.
ในขณะที่มนุษยชาติกำลังมุ่งหน้าสู่ “Metaverse” โลกเสมือนจริงที่สร้างจากเทคโนโลยีอันซับซ้อน เพื่อเชื่อมโลกดิจิทัลกับโลกความเป็นจริงเข้าด้วยกัน
.
โลกที่แข่งขันกันพัฒนา Quantum Computing, Cryptocurrency และ AI เพื่อช่วยให้ชีวิตของมนุษย์ง่ายและสะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
.
โลกที่ใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์สภาพดินฟ้าอากาศ ปรับภูมิประเทศ เพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิตทางการเกษตร อย่างอิสราเอลซึ่งใช้เทคโนโลยีเพื่อพลิกทะเลทรายให้เป็นแปลงการเกษตร และบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
.
แต่ตัดภาพกลับมาที่นายกฯ ไทย แก้ปัญหาราคาสินค้าเกษตร��พงด้วยการให้ทหารไปปลูกผักชี! (โอ้ พระเจ้า)
.
พบกันในครั้งนี้ พี่โทนี่จะพูดถึงเรื่องราวของเทคโนโลยีล้ำหน้าที่กำลังเป็นที่สนใจไปทั่วโลกอย่าง Metaverse จนถึงเรื่อง “ข้าวถูกแต่ผักแพง” ซึ่งกำลังเป็นปัญหาใหญ่ในบ้านเราขณะนี้
.
และแน่นอนว่า พี่โทนี่จะมาไขข้อสงสัยต่างๆที่ค้างคาใจใครหลายๆ คน \”ให้กระจ่าง\”
.
ใครมีข้อสงสัยเตรียมเอาไว้ถามได้เลยกับรายการ CareTalk x Care Clubhouse ในหัวข้อ
“Metaverse” โลกก้าวไป แต่นายกไทยยังใช้ทหารปลูกผักชี!?
แล้วพบกัน…
.
Metaverse
เทคโนโลยีเพื่อการเกษตร
คิดเคลื่อนไทย

CareTalk x CareClubHouse : “Metaverse” โลกก้าวไป แต่นายกไทยยังใช้ทหารปลูกผักชี!?

คนลาวพูดภาษาอังกฤษรัฐมนตรีต่างประเทศฮังการีมาเยือนลาว


คนลาวพูดภาษาอังกฤษรัฐมนตรีต่างประเทศฮังการีมาเยือนลาว

อ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี #ม็อบ14พฤศจิกา64


ชมคลิปอื่นๆ ที่น่าสนใจได้ที่ https://thestandard.co/video/
———————————————
THE STANDARD : STAND UP FOR THE PEOPLE
สำนักข่าวที่นำเสนอข้อมูลข่าวสารในแนวทางสร้างสรรค์
THE STANDARD Website : http://www.thestandard.co
Facebook : https://www.facebook.com/thestandardth
Twitter : https://twitter.com/thestandardth
Ig : @thestandardth.ig
TheStandardco TheStandardth StandUpforThePeople

อ่านแถลงการณ์หน้าสถานทูตเยอรมนี #ม็อบ14พฤศจิกา64

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ประเทศ รัสเซีย ภาษา อังกฤษ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *