Skip to content
Home » [NEW] แนวทางการปฏิรูปกฎหมาย ให้สอดคล้องกับมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย | ใบ สํา คั ญ รับ – NATAVIGUIDES

[NEW] แนวทางการปฏิรูปกฎหมาย ให้สอดคล้องกับมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย | ใบ สํา คั ญ รับ – NATAVIGUIDES

ใบ สํา คั ญ รับ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

ในปัจจุบันการดำเนินการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายได้มีพัฒนาการและความก้าวหน้าเกิดขึ้นตามลำดับ โดยเฉพาะประเด็นการปฏิรูปเกี่ยวกับการกำหนดกลไกให้มีการตรากฎหมายที่ดีและเท่าที่จำเป็น รวมทั้งมีกลไกในการทบทวนกฎหมายที่มีผลใช้บังคับแล้ว ให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนู­ญแห่งราชอาณาจักรไทย  ในการดำเนินการดังกล่าว คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ในฐานะองค์กรหนึ่งของรัฐในการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมาย ได้ดำเนินการตรวจสอบบทบั­­ัญญัติของกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบัน พบว่า มีกฎหมายจำนวนมากที่มีบทบัญญ­­ัติที่ไม่เหมาะสมกับกาลสมัยและไม่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ อีกทั้งยังเป็นการสร้างภาระและต้นทุนที่ไม่จำเป็นให้เกิดแก่ประชาชน

 

ดังนั้น สมควรที่คณะรัฐมนตรีจะได้วางแนวทางในการร่างกฎหมายให้สอดคล้องกับหลักการตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนู­ญแห่งราชอาณาจักรไทย และเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการมีกฎหมายที่ดีเพื่อชีวิตที่ดีขึ้นของประชาชน (Better Regulation for Better Life) ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน

 

คณะกรรมการพัฒนากฎหมายจึงได้เสนอแนวทางการร่างกฎหมายให้สอดคล้องกับมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ­แห่ง

ราชอาณาจักรไทย ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2563 เห็นชอบกับแนวทางดังกล่าว และให้หน่วยงานของรัฐถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด โดยแนวทางการร่างกฎหมายนี้มีสาระสำคั­ญ 7 ประการ ดังนี้

1. ควรกำหนดให้ชัดเจนว่าการอนุมัติ อนุญ­าต ออกใบอนุ­ญาต ใบแทน ใบอนุ­าต ให้กระทำด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์

เป็นหลัก ในกรณีที่ยังไม่สามารถดำเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ได้หรือระบบอิเล็กทรอนิกส์ขัดข้อง จึงให้มาติดต่อกับเจ้าหน้าที่

2. ไม่ควรกำหนดให้เป็นหน้าที่ของประชาชนที่จะต้องแจ้งข้อมูลต่อเจ้าหน้าที่ของรัฐ หากข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลซึ่งอยู่ในความครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นข้อมูลซึ่งเจ้าหน้าที่ของรัฐทราบอยู่แล้ว และหากจำเป็นอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องกำหนดเช่นนั้น ก็ไม่ควรใช้โทษอาญ­าแก่ผู้ไม่ปฏิบัติตามบทบั­­ญญัตินั้น

3. ไม่ควรกำหนดให้ผู้รับใบอนุ­ญาตซึ่งไม่ขอรับใบแทนใบอนุ­ญาตที่สู­หาย ถูกทำลาย หรือชำรุดในสาระสำคั­ญ ต้องรับโทษอา­า เนื่องจากมิใช่ความผิดร้ายแรง

4. ไม่ควรกำหนดให้ผู้รับใบอนุ­ญาตต้องแสดงใบอนุ­าตไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย ณ สถานประกอบการของผู้ได้รับใบ

อนุ­ญาติ เพราะไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ และไม่ควรกำหนดโทษอา­ญาในกรณีที่มีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบท

บั­­ัญญัติดังกล่าว ตรงกันข้าม สมควรที่จะกำหนดกลไกหรือมาตรการอำนวยความสะดวกและลดภาระให้แก่ผู้ประกอบกิจการซึ่งเข้ามาอยู่ในระบบและขออนุ­ญาตอย่างถูกต้องแทน เช่น การแสดงใบอนุ­ญาตในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ทำนองเดียวกับใบอนุ­ญาตขับขี่ตามกฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก

5. ควรใช้มาตรการซึ่งเป็นการจูงใจให้ดำเนินการ แทนมาตรการบังคับลงโทษ เพื่อมิให้กฎหมายสร้างภาระโดยไม่จำเป็นแก่ประชาชน

6. มิให้กำหนดให้การไม่อำนวยความสะดวกให้แก่เจ้าพนักงานหรือพนักงานเจ้าหน้าที่เป็นความผิดอา­า เนื่องจากไม่มีขอบเขตที่ชัดเจนในการใช้ดุลพินิจ  อีกทั้งมีความผิดฐานขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอา­ญาอยู่แล้ว

7. ควรยกเลิกการใช้โทษอาญ­าในเรื่องที่เป็นเรื่องทางแพ่งโดยแท้ เช่น ความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค

 

จากสาระสำคั­ญของแนวทางการร่างกฎหมายข้างต้นย่อมแสดงให้เห็นได้โดยชัดแจ้งว่า ทิศทางการปฏิรูปกฎหมายที่จะ

เกิดขึ้นในอนาคตจากนี้ต่อไป จะเป็นการปฏิรูปกฎหมายทั้งในเชิงกระบวนการตรากฎหมาย การตรวจสอบเนื้อหาของร่างกฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อให้การปฏิรูปกฎหมายของประเทศเกิดผลสัมฤทธิ์อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต่อไป

[NEW] | ใบ สํา คั ญ รับ – NATAVIGUIDES


Own the Arena: Getting Ahead, Making a Difference, and Succeeding as the Only One

Katrina M. Adams

(5/5)

Free



บิลเงินสด และ ใบสำคัญจ่ายใช้เมื่อไหร่ และเข้าแฟ้มอย่างไร


รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 592 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

บิลเงินสด และ ใบสำคัญจ่ายใช้เมื่อไหร่ และเข้าแฟ้มอย่างไร

EP 2 ระบบใบสำคัญจ่าย


EP 2 ระบบใบสำคัญจ่าย

Excel ช่วยจัดทำใบสำคัญจ่าย


Excel ช่วยจัดทำใบสำคัญจ่าย (Advance)
โดยมีคุณสมบัติดังนี้
1. จัดทำใบสำคัญจ่าย
2. สรุปข้อมูลบัญชีค่าใช้จ่ายตามหมวยค่าใช้จ่าย และตามชื่อบัญชีค่าใช้จ่ายเป็นรายเดือน
3. ออกเอกสารหนังสือรับรองการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย
4. Export ข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่าย สำหรับยื่นภาษีผ่านระบบ eFiling
.
ไฟล์นี้จะมีให้ Download ในคอร์ส \”ภาษีสำหรับผู้ประกอบการ\”
สอบถามข้อมูลคอร์สอบรมได้ที่ : https://www.facebook.com/welovebunchee

Excel ช่วยจัดทำใบสำคัญจ่าย

9 ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน


9 ใบรับรองแทนใบเสร็จรับเงิน

“ប្រតិកម្ម ពីការរឹបអូសស្នាក់ការគណបក្សសង្រ្គោះជាតិ”


គិតមកដល់ថ្ងៃទី១៦ ខែវិច្ឆិកានេះ មានរយៈពេល៤ឆ្នាំគត់ ដែលតុលាការកំពូលរម្លាយគណបក្សសង្រ្គោះជាតិ ជាគណបក្សប្រឆាំងធំជាងគេនៅកម្ពុជា។
រយៈពេល៤ឆ្នាំ មកនេះ សហគមន៍អន្តរជាតិ រួមទាំងអង្គការសហប្រជាជាតិផងទទូចឱ្យគណបក្សកាន់អំណាចបើកផ្លូវឱ្យគណបក្សប្រឆាំងបានចូលរួមការបោះឆ្នោតឡើងវិញ។
បើទោះជាយ៉ាងណាគណបក្សកាន់អំណាចថា មិនអាចទៅរួចព្រោះគណបក្ស ដែលត្រូវរម្លាយរួចហើយគឺជាខ្មោចមិនអាចរស់វិញបានឡើយ។
វេទិកាអ្នកស្ដាប់វិទ្យុអាស៊ីសេរី៖ “ប្រតិកម្ម ពីការរឹបអូសស្នាក់ការគណបក្សសង្រ្គោះជាតិ”
វាគ្មិន៖ ប្រធានស្ដីទីគណបក្សសង្គ្រោះជាតិលោក សម រង្ស៊ី និងអ្នកស្រាវជ្រាវការអភិវឌ្ឍន៍សង្គមបណ្ឌិត មាស នី ។
RFA Khmer ជាទំព័រផ្លូវការរបស់ វិទ្យុអាស៊ីសេរី ( Radio Free Asia )។
ប្រិយមិត្តអាចតាមដានស្តាប់ និងទស្សនាព័ត៌មានរបស់វិទ្យុអាស៊ីសេរី (Radio Free Asia) តាមរយៈ៖
1. ទទួលការជូនដំណឹង (Notification)៖ https://goo.gl/SUtZKE
2. គេហទំព័រ (Website)៖ http://www.rfa.org/khmer/
3. ហ្វេសប៊ុក (Facebook)៖ https://www.facebook.com/rfacambodia
4. ទ្វីតធ័រ (Twitter)៖ https://twitter.com/RadioFreeAsiaKH
5. ផ្ញើព័ត៌មានមកយើង៖ http://www.rfa.org/khmer/send_news_form
6. ជំនួយសម្រាប់ការប្រើ ផតឃែស្ថ (Podcast)៖ https://goo.gl/HBzaD9
7. សោនក្លោដ៍ (Soundcloud)៖ https://goo.gl/Ccm5Q2
8. ប្រព័ន្ធប្រតិបត្តិការ Android៖ https://goo.gl/uWDR9W
9. ប្រព័ន្ធប្រតិបត្តិការ iOS៖ https://goo.gl/8LaCd1

“ប្រតិកម្ម ពីការរឹបអូសស្នាក់ការគណបក្សសង្រ្គោះជាតិ”

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ใบ สํา คั ญ รับ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *