Skip to content
Home » [NEW] อักษรย่อภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม เขียนยังไง ย่อมาจากอะไรบ้าง | เขียนว่าอะไร – NATAVIGUIDES

[NEW] อักษรย่อภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม เขียนยังไง ย่อมาจากอะไรบ้าง | เขียนว่าอะไร – NATAVIGUIDES

เขียนว่าอะไร: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

เคยเห็นอักษรย่อ คำย่อ ตัวย่อ (แล้วแต่จะเรียก) แบบนี้ บางทีเราเรียกทับศัพท์ อ่านชื่อตัวอักษรกันไป เอาจริงๆ ก็แทบไม่รู้เลยว่าย่อมาจากอะไรบ้าง บทความนี้นำคำย่อและชื่อเต็มๆ ของคำย่อนั้นมาฝาก อย่างไฟล์ PDF นี้ เค้าย่อมาจาก Portable Document Format .. ถามว่ารู้ไปทำไม ? ไม่รู้ก็ได้ แต่รู้ไว้ก็ดี ไม่มีอะไรเลย ╮(︶▽︶)╭ 

Table of Contents

อักษรย่อภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม เขียนยังไง

ส่วนใหญ่เป็นคำศัพท์ ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ไอที มีคำศัพท์อื่นๆ ทั่วไป ปะปนมาบ้างนิดหน่อยนะคะ

AIM = Ambition in Mind
APN = Access Point Name

ATM = Automated Teller Machine (ตู้เอทีเอ็ม)

COMPUTER = Common Operating Machine Particularly Used for Technical, Education and Research (ไม่เคยคิดเลยว่า คอมพิวเตอร์ จะมีชื่อเต็มๆ ยาวขนาดนี้)

PC = Personal computer

EDGE = Enhanced Data Rates for GSM Evolution
ESN = Electronic Serial Number
ETC. = et ectera

DLL = Dynamic-Link Library
DVD = Digital Versatile Disc (คำนี้เริ่มหายไปแล้ว)

GPS = Global Positioning System
GPRS = General Packet Radio Service
GSM = Global System for Mobile Communications

H.S = HOTSPOT
HDMI = High-Definition Multimedia Interface
HSPA = High Speed Packet Access

ICT = Information community technology
IMEI = International Mobile Equipment Identity

MPEG = Motion Picture Experts Group

KIA = Killed in action
MIA = Missing in action
OK = Objection Killed

OS = Operating System (ระบบปฏิบัติการ)

PDF = Portable Document Format (ไฟล์รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายๆ ระบบ)

หมวดนี้เกี่ยวกับ หน่วยความจำ มือถือ คอมพิวเตอร์

RAM = Random-Access Memory
ROM = Read Only Memory
SIM = Subscriber Identity Module
UMTS = Universal Mobile Telecommunications System

สองคำนี้สับสนกันบ่อยๆ

USB = Universal Serial Bus
UPS = Uninterruptible Power Supply

VIRUS = Vital Information Resources Under Siege
VGA = Video Graphic Array
VPN = Virtual Private Network

WI-FI = Wireless Fidelity (อันนี้คุ้นๆ ใช่มั้ยคะ ไวไฟ ของเรา ไปไหนก็อยากให้มีสัญญาณ)

WLAN = Wireless Local Area Network

WINDOW = Wide Interactive Network Development for Office Work Solution

LCD = Liquid Crystal Display
LED = Light Emitting Diode (เห็นแล้วนึกถึงหลอดไฟทันที)

หมวดภาพ ที่เจอบ่อยๆ

GIF = Graphics Interchange Format
JPEG = Joint Photographic Experts Group
PNG = Portable Network Graphics

TGIF = Thank God It’s Friday

คำย่ออื่นๆ

AM = Ante Meridiem (ใช้เวลา หลังเที่ยงคืน ถึง ก่อนเที่ยงวัน)
PM = Post Meridiem (ระยะหลังเที่ยงวัน – ก่อนเที่ยงคืน)

EMS =  Express Mail Service (ส่งของด่วนๆ ต้องเจอคำนี้)

DIY = do it yourself
EAT = Energy And Taste
TEA = Taste And Energy Admitted

AEC = Asean economics community
OK = Okey-doke

สองคำนี้ เจอบ่อยๆ ในวีดีโอ Youtube

HD = High definition
SD = Standard definition

ICU = Intensive care unit
SPF = Sun protection factor
SMS = Short message service
AKA = Also known as

AWOL = Absent without leave

TBA = To be announced
B C = To be continued

p.s. = Post Script (เขียนภายหลัง, การบันทึกครั้งสุดท้าย)

ที่มา TruthInsideOfYou

บทความแนะนำ

[Update] รู้จักกับงานเขียนแบบ Evidence-based เพื่อความน่าเชื่อถือของคอนเทนต์ | เขียนว่าอะไร – NATAVIGUIDES

ไม่นานมานี้ ผู้เขียนได้ไปเจอ Infographic ของ American Council of Science and Health ที่ทำแผนภาพลำดับเว็บข่าววิทยาศาสตร์ที่ดีและแย่ที่สุด ซึ่งพอพูดแบบนี้แล้ว เราก็จะเกิดคำถามว่า นิยามของคำว่าดีหรือแย่ มันอยู่ที่ตรงไหน เขียนแล้วคนชอบ ? เขียนเข้าใจง่าย ? ซึ่งทาง ACSH ก็ได้ให้ความสำคัญกับสิ่งที่เรียกว่า compelling หรือ การดึงดูด จับใจ กับอีกอย่างนึงที่ผู้เขียนนึกไม่ถึงตอนแรก สิ่งนั้นคือ Evidence-based Reporting คือการให้เหตุผล การมีหลักฐาน สนับสนุน ซึ่งมันคือพื้นฐานของงานเขียนด้านวิทยาศาสตร์เลย

ซึ่งวิธีการคิดแบบนี้ก็ทำให้การเขียนข่าววิทยาศาสตร์ของ Daily Mail เว็บไซต์ที่ดูเหมือนจะดูดี กลายเป็นข่าวขยะเลยทันที (ซึ่งผู้เขียนก็รู้สึกว่าข่าวของ Daily Mail มันขยะมาก โดยเฉพาะในหมวดวิทยาศาสตร์)

ซึ่ง Infographic ตัวนี้ก็ดี แล้วก็ค่อนข้างตรงกับที่ผู้เขียนนำมาใช้อ้างอิงในบทความต่าง ๆ บนเว็บไซต์ที่ผู้เขียนเป็นบรรณาธิการอยู่ ทั้งหมดดูเหมือนจะไม่มีปัญหาอะไร แต่มันหามันอยู่ตรงที่ ทำไมการเขียนแบบ Evidence-based ถึงได้ถูกเอามายึดติดกับวิทยาศาสตร์เพียงอย่างเดียว ? แล้วข่าวการเมือง ข่าวเศรษฐกิจ หรือแม้กระทั่งคอนเทนต์ How-to หรือรีวิวต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้อง  Evidence-based เหรอ ? 

การทำคอนเทนต์แบบ  Evidence-based ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นคอนเทนต์ที่มาจากหลักฐาน แน่นอนว่ามันจะช่วยให้งานของเรามีคุณค่าและน่าเชื่อถือ รวมถึงจริงใจกับผู้อ่านหรือผู้ชมมากขึ้น แต่ก่อนอื่น เราจะมาเข้าใจก่อนว่า มันคืออะไรแล้วการคิดงานแบบ Evidence-based เขาว่าไว้ว่าอย่างไรบ้าง

อะไรคือ Evidence-based

คำว่า Evidence-based มาจากคำเต็มว่า evidence-based practice หรือ หลักฐานเชิงประจักษ์ ซึ่งแนวคิดนี้ถูกนำมาเริ่มต้นใช้กับทางการแพทย์เป็นอย่างแรก เนื่องจากการตัดสินใจจะรักษาผู้ป่วยด้วยวิธีไหนนั้น เราจะมาเดามั่ว ๆ ไม่ได้ มีหลาย ๆ ปัจจัยที่เราต้องยกขึ้นมาคิด เช่น รักษาแบบนี้กับผู้ป่วยคนก่อนหายไหม ถ้าหายหายเพราะวิธีการรักษาหรือหายเพราะว่าต่อให้รักษาด้วยวิธีอื่นก็มีโอกาสหาย แบบนี้เป็นต้น ซึ่งเป็นวิธีคิดที่วิทยาศาสตร์มาก ๆ ไปสอดคล้องกับ ตรรกศาสตร์หรือ Logic หรือเป็นวิธีการที่นักวิจัยใช้ในการเขียนงาน ฟังดูแล้วเหมือนเป็นเรื่องยาก แต่จริง ๆ แล้ว Evidence-based เป็นสิ่งที่ปลูกฝังได้ในตัวทุกคน รวมถึงวิชาที่เราเรียน ๆ กันก็มีการนำ Evidence-based มาใช้ด้วย

GED (ระบอบมาตรฐานการสอบเทียบมหาวิทยาลัยของสหรัฐอเมริกา) ได้ให้นิยามของ Evidence-based กับงานเขียนซึ่งเป็นข้อสอบในปี 2014 ไว้ว่า evidence-based writing is writing in which students use evidence to support their points เป็นงานเขียนที่ผู้เขียนมีหลักฐานมาสนับสนุนประเด็นที่ยกมา

เห็นแบบนี้เราอาจจะคุ้น ๆ กัน เพราะถ้าเราเรียน Paragraph Writing เราจะถูกสอนการเขียนที่ว่า จะต้องมี point และ supporting details ยกตัวอย่างเช่น “นักการเมืองโกงชาติเพราะมีนาฬิกาหรู” อันนี้เป็นการให้เหตุผลแปลก ๆ เพราะแสดงว่า มีนาฬิกาหรู = โกง ทั้ง ๆ ที่มันอาจจะมาจากรายได้สุจริตก็ได้ การให้เหตุผลที่ดีก็เช่น “นักการเมืองโกงเพราะมีนาฬิกาหรูแต่ไม่ยอมยื่นรายการทรัพย์สินให้ตรวจสอบ” แบบนี้เราจะบอกว่า การไม่ยื่นรายทรัพย์สินให้ตรวจสอบ = การโกง ซึ่งก็ดูมีเหตุผล เนื่องจากการยื่นทรัพย์สินเป็นสิ่งที่นักการเมืองควรทำ การไม่ทำไม่ว่าจะโกงจริงหรือไม่โกงก็นับว่าโกง อย่างน้อยไม่โกงเงินก็ก็คือโกงระบบ

ดังนั้น Topic ของเรา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไรก็ตาม การมี supporting detail ก็จะช่วยให้เราสามารถสร้างประเด็นที่ดูน่าเชื่อถือขึ้นมาได้ เป็นการ Save ตัวเองไปในตัวด้วยว่าเราไม่ได้เขียนอะไรจากความรู้สึก

แล้วจะทำมาใช้กับการทำคอนเทนต์ได้อย่างไร

ทุกวันนี้คอนเทนต์หลาย ๆ ตัวถูกสร้างขึ้นมาบนความรู้สึก ซึ่งถ้าย้อนไปดูนิยามของ ACSH เว็บข่าวที่ห่วยคือเว็บที่ใช้ Ideologically หรือใช้ความคิดตัวเองมาผูกสร้างเรื่อง ไม่ว่าจะเกิดจากอะไรก็ตาม ความเชื่อ อารมณ์ร่วม หรือแหล่งข่าวที่มีอำนาจชื่อเสียง ก็ทำให้การรายงานข่าวหรือทำคอนเทนต์กลายเป็น Ideologically driven ไปได้

ตัวอย่างของ Ideologically ก็เช่น

  • กรมอุตุนิยมวิทยาออกรายงานมาฉบับนึง บอกว่าอุณหภูมิจะลดลง 5 องศา แต่สำนักข่าวเอามารายงานว่า หนาวสะท้านแน่! ซึ่งคำว่าหนาว เป็นอัตวิสัย ซึ่งจริง ๆ แม้แต่คนเขียนข่าวเองก็ยังไม่ได้สัมผัสเลย เพราะมันเป็นเรื่องของอนาคต แต่กลับเอามาบอกแล้วว่า หนาวแน่ ๆ ผลที่ตามมาก็คือคนไปด่ากรมอุตุฯ (ซึ่งคนที่ด่าก็อ่านแค่หัวข้อ จริง ๆ ด้านในอาจจะบอกก็ได้ว่าลดแค่ 5 องศา แต่ก็ไม่ช่วยอะไร เพราะเอา Ideologically ใส่ไปแล้ว)
  • การใช้ผลมาก่อนเหตุ ซึ่งเราจะพบได้ตามกระทู้ Pantip เช่น “เพราะอยากดังก็เลยโชว์นม” เรายังไม่รู้เลยว่าเขาอยากดังจริงหรือเปล่า รู้แค่ว่าเขาโชว์นม แต่เราก็สรุปไปแล้ว สิ่งนี้จะเห็นได้บ่อยตามพาดหัวข่าว อยากดัง! อยากสวย! กลัวไม่ดัง! 

เคล็ดลับเขียนงานให้ดูน่าเชื่อถือ

จริง ๆ แล้วการคิดให้ได้แบบ evidence-based จะต้องฝึกกันพอสมควร แต่การเริ่มต้นเราอาจจะไม่ต้องคิดแบบนั้นได้ทั้งหมด เราไม่ใช่นักปรัชญา แต่สิ่งที่เราควรจะทำก็คือ คอยเฝ้าระวัง สอดส่อง และรู้เท่าทันการคิดแบบไม่มีเหตุผลสนับสนุนของตัวเองและคนอื่น รวมถึงในสื่อต่าง ๆ เพื่อไม่ให้เราโดนหลอก หรือพลาดเขียนงานที่ไม่มีเหตุผลลงไป ตัวอย่างสิ่งที่ควรระวังเช่น

  • ระวังสิ่งที่เรียกว่า Counterexample เช่น เด็กไทยโง่คะแนนสอบน้อย เป็นการสรุปว่าเด็กไทยทุกคนโง่และทำข้อสอบไม่ได้ทุกคน ซึ่งถ้ามีเด็กที่ฉลาดขึ้นมาหรือได้คะแนนสูงแม้แต่คนเดียว การให้เหตุผลนั้นจะผิดทันที วิธีการก็คือ ใช้คำแนว ๆ ว่า ค่าเฉลี่ยผลสอบของเด็กไทยต่ำกว่ามาตรฐาน (คำว่าค่าเฉลี่ยคือการเอาของทุกคนมารวมกัน แปลว่ามีทั้งคะแนนน้อยและเยอะ)
  • เลิกใช้ไปเลย คำว่า เขาพูดกันว่า, เขาว่ากันว่า, คนส่วนใหญ่เชื่อว่า, แหล่งข่าวใหญ่บอกมาว่า ถ้าเราไม่สามารถบอกได้ว่า เขาที่ว่าคือใคร คนส่วนใหญ่ไปสำรวจมาจากไหน หรือ แหล่งข่าวคือจากไหน
  • พยายามใช้คำว่า เพราะ ______ , เนื่องจาก _____ , คุณ _____ พูดไว้ใน ____ ว่า _____ , ทำให้ _____
  • ถ้าใช้คำว่า งานวิจัยเผย กรุณาระบุชื่องานวิจัยด้วย อย่าบอกว่าก็เว็บนี้บอกมาว่างานวิจัยเผย

การใช้เขียนแบบใช้เหตุผล ไม่ได้แปลว่าห้ามใช้ความรู้สึก เราไม่ได้เขียนงานวิจัย เราใส่ความรู้สึกเข้าไปได้ แต่เราต้องตอบได้ด้วยว่าทำไมเราถึงมีความรู้สึกนั้น เช่น เราสามารถบอกได้ว่า “เรารู้สึกว่า iPad รุ่นใหม่โคตรกากที่ไม่มีรูหูฟัง” แบบนี้ไม่ผิด แต่ต้องบอกด้วยว่า ผู้เขียนรู้สึกว่ามันกาก เพราะ Apple บอกว่า iPad Pro เน้นใช้งานระดับสูง ซึ่งนั่นรวมถึงอุปกรณ์ที่ต้องต่อหูฟัง เช่นเครื่องดนตรี สิ่งนี้ทำให้ iPad Pro ยังแทน MacBook ไม่ได้ ต้องพกหัวแปลงอยู่ดี การนำไปใช้จึงต่ำกว่าที่ Apple ให้ความหวังไว้

เราจะเห็นว่าการใช้เหตุผลกับคอนเทนต์ ไม่ได้จำกัดอยู่แค่กับข่าวด้านวิทยาศาสตร์เสมอไป เพราะจริง ๆ แล้ววิทยาศาสตร์ก็ไม่ใช่ Story อยู่ดี แต่เป็นวิธีการคิดอย่างเป็นโครงสร้าง เหมือน GAT เชื่อมโยงที่เด็ก ๆ สอบกัน (สอนให้เข้าใจว่า ประเด็นนี้ทำให้เกิดอะไร ไปยับยั้งอะไร ใช้เหตุผลร่วมกับอะไร) ทุกวันนี้ เราอยู่ในโลกที่เต็มไปด้วย Poor Journalism เต็มไปหมด ในฐานะผู้อ่านหรือเสพคอนเทนต์ ก็ควรรู้เท่าทัน หรือในฐานะคนทำคอนเทนต์เองก็ควรจะหันมาสร้างคอนเทนต์ที่น่าเชื่อถือ และตรวจสอบได้ เพื่อให้คอนเทนต์ของเรามีค่าจริง ๆ

ผู้เขียนเคยเขียนอธิบายการทำคอนเทนต์ในแนว ๆ นี้ไว้เยอะมาก สามารถตามอ่านได้ที่

 

ผู้ร่วมก่อตั้งและบรรณาธิการบริหาร Spaceth.co ทีมงาน MacThai.com บล็อกเกอร์วิทยาศาสตร์ ฟิสิกส์ เทคโนโลยี สังคม การเมือง วัฒนธรรม การออกแบบ อยากให้โลกออนไลน์น่าอยู่ขึ้นด้วยการทำคอนเทนต์ดี ๆ สร้างสรรค์


KITE แปลว่า ว่าว WINE แปลว่า ลม


KITE แปลว่า ว่าว WINE แปลว่า ลม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

KITE แปลว่า ว่าว WINE แปลว่า ลม

สือการเรียนรู้สำหรับเด็ก เรียนรู้ชื่อสัตว์บกสัตว์น้ำหลากหลายชนิด และเสียง Learning Animal Name


พาเด็กๆมาเรียนรู้จักสัตว์ชนิดต่างๆทั้งบนบกและในน้ำ
เล่นรถแม็คโคร รถดั้ม และรถก่อสร้างอื่นๆ
https://goo.gl/VCqQn8
รถแม็คโครคันจิ๋ว
https://goo.gl/fUT79t
ทรายมหัศจรรย์กับรถแม็คโคร
https://goo.gl/kYzYXB
เล่นรถไฟของเล่น
https://goo.gl/3h8RGC
เพลงเด็ก
https://goo.gl/6jhh67
อย่าลืมกดติดตามช่องเด็กจ๋าเพื่อรับชมคลิปใหม่ๆด้วยนะจ๊ะ
Subscribe to our channel for new videos
Youtube :https://goo.gl/YTNYmj
Facebook : https://goo.gl/c89BtS
Google + :https://goo.gl/1L6KZe

สือการเรียนรู้สำหรับเด็ก เรียนรู้ชื่อสัตว์บกสัตว์น้ำหลากหลายชนิด และเสียง Learning Animal Name

The Wall Song ร้องข้ามกำแพง | EP.62 | พั้นช์ วรกาญจน์,ติ๊ก ชิโร่,ขนมจีน กุลมาศ | 11 พ.ย. 64 FULL EP


พบกับรายการ The Wall Song ร้องข้ามกำแพง
ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 20.05 น.
ทาง ช่องเวิร์คพอยท์ หมายเลข 23
=========================================
ติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่
Facebook: https://www.facebook.com/workpoint
Website: https://www.workpointtv.com
Instagram: https://www.instagram.com/workpoint
TikTok: https://vt.tiktok.com/ZS9GDwTY

The Wall Song ร้องข้ามกำแพง | EP.62 | พั้นช์ วรกาญจน์,ติ๊ก ชิโร่,ขนมจีน กุลมาศ | 11 พ.ย. 64 FULL EP

ไม่รู้จะเขียนว่าอะไร


Subscribe like share

ไม่รู้จะเขียนว่าอะไร

เฉลยเกมที่ \”ยาก\” จนขนาด \”คนสร้าง\” ยังขี้เกียจเฉลย


เกมนี้มีชื่อว่า \”Game Outside Game\” เป็น เกมไขปริศนาที่ผู้เล่นต้องใช้ความรู้จริงในการเล่น
และ นั้นหมายถึง คุณต้องทั้งหาข้อมูล และ เรียนรู้ทักษะต่างๆในโลกจริงเพื่อเล่นเกมนี้เช่นกัน
เนื่องจาก เกมนี้มีคนผ่านมาบ้างแล้ว แต่ยังมีอีกมากมาย ที่ไม่สามารถผ่านได้ ดังนั้น ในคลิปนี้จึงเป็นคลิปเฉลยให้สำหรับคนที่ไม่ผ่าน นั้นเองงงงง
[ข้อคิดของเกมนี้]
สิ่งที่เกมนี้ set ไว้ให้ คือ ปัญหา ในแต่ละห้อง ทั้งยาก และ ง่าย
สิ่งที่ผู้เล่นจะได้เล่นก็คือ ความรู้สึกของตัวเอง ที่มีต่อปัญหา
และ อย่างที่บอกภายในคลิปว่า วิธีเล่นที่ง่ายที่สุดคือ \”การยอมแพ้\”
มันง่ายนะ ที่เราจะยอมแพ้ แล้วบอกว่า ปัญหามันยากไป หรือ ว่าเราไม่รู้จักวิธีแก้ปัญหานี้
เกมนี้ก็เหมือนชีวิตของเรา
เราทุกคนล้วน ต้องเจอกับปัญหาที่ ยาก และ ง่าย ทั้งปัญหาที่ เข้าใจ และ ไม่เข้าใจ
ถ้ามันเป็นชีวิตจริงของเรา ถึงตอนนั้นเราจะยอมแพ้มันง่ายๆ เหมือนในเกมนี้รึเปล่า
หรือ จะผ่านมันไปให้ได้ด้วยทุกวิถีทาง
เกมนี้ ไม่ได้สร้างให้คนที่ มีความรู้เล่น นะ
เกมนี้ สร้างให้คนที่ มีความพยายาม ต่างหาก
ชีวิตก็เช่นเดียวกัน…..
เลือดนี่แบบ ซิบๆ
ทำไมวะ
คม….. ท่ด
ช่องทางติดตาม
facebook : https://www.facebook.com/TechcastNeedSponsor
support me
promptpay : https://bit.ly/3m3uH5p
มาเป็น Member และ Sponsor ให้ Techcast ได้แล้ววันนี้
ด้วยการสมัครเป็นสมาชิกเพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษอีกมากมาย
https://www.youtube.com/channel/UCZ1xUPnSDPRtz76nGNBcaIA/join
ref.
โหลดเกม นอกเกม เพื่อ โหลดเกม !? (โหลดแค่ .rar พอนะ)
https://bit.ly/3bjxd4z
โหลดเกมเหมือนกัน แต่เป็นการช่วย Donate ให้ techcast (0.003฿)
http://gestyy.com/epPbMv
อยากดู detective conan ก็มาดิครับ
https://tv.line.me/conanth
ref conan intro
https://tv.line.me/v/3411671_ยอดนักสืบจิ๋วโคนันซีรีส์ปี1ep2/list/225637
TEENIE CH.
https://www.youtube.com/channel/UCmg0gZHGnzuq1JnYPB_EjQ
BaMeYam CH.
https://www.youtube.com/channel/UC_mBilNF1vnuwOWL8oPEUpQ
เฉลย Game outside game
https://www.youtube.com/watch?v=CeKWOmbdznU
https://www.youtube.com/watch?v=nsKHw2IGS3A
Hack Game outside game แบบต่างๆ
https://www.youtube.com/watch?v=9ln9t2T7_Gg
https://www.youtube.com/watch?v=oJfvq_whryA
Reaction คนเล่น
https://www.youtube.com/watch?v=zIG6Wm3ZY7U
Audacity โปรแกรมเสียง open source โปรแกรมที่ใช้ทำ Spectrogram
https://www.audacityteam.org/download/
Unicode คืออะไร
https://www.mindphp.com/คู่มือ/73คืออะไร/2050unicodeคืออะไร.html
utf8
https://en.wikipedia.org/wiki/UTF8
เลขฐาน 2, 16 คืออะไร
https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบเลข
Unity (game engine)
https://unity.com/
morse code
https://th.wikipedia.org/wiki/รหัสมอร์ส
bit plane
https://en.wikipedia.org/wiki/Bit_plane
cryptocurrency (not financial advice na i sus)
https://www.investopedia.com/terms/c/cryptocurrency.asp
metamask
https://metamask.io/
BNB coin
https://www.youtube.com/watch?v=LInGPEpyFxs

เฉลยเกมที่ \

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ เขียนว่าอะไร

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *