Skip to content
Home » [NEW] หลักการใช้ Verb to do (do, does) การเปลี่ยนประโยคบอกเล่าเป็นปฏิเสธ คำถาม | ตัวอย่าง ประโยค บอก เล่า ภาษา ไทย – NATAVIGUIDES

[NEW] หลักการใช้ Verb to do (do, does) การเปลี่ยนประโยคบอกเล่าเป็นปฏิเสธ คำถาม | ตัวอย่าง ประโยค บอก เล่า ภาษา ไทย – NATAVIGUIDES

ตัวอย่าง ประโยค บอก เล่า ภาษา ไทย: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

70

SHARES

Facebook

Twitter

Do กับ Does ก็คือคำเดียวกัน แต่คำว่า do ใช้กับประธานพหูพจน์ ส่วน does ใช้กับประธาน เอกพจน์นะครับ จงจำให้แม่นเลยเชียว

Table of Contents

หลักการใช้ Verb to do

หลักการใช้ verb to do

  • หลักการใช้ Verb to do คือ ประธานเอกพจน์ ใช้ does ประธานพหูพจน์ใช้ do
He, She, It, A cat
does
I, You, We, They, Cats
do

จริงๆแล้วคำว่า does คือการเติม s ที่ท้ายคำว่า do แต่ไม่ได้เติม s เฉยๆ แต่เป็นการเติม es  ตามหลักการทางภาษา

การย่อรูป

ปกติจะย่อรูปประโยคปฏิเสธเท่านั้น

do not = don’t  ดู น็อท = โดนท

does not = doesn’t  ดัส น็อท = ดัสเซินท

verb to do กับความหมายในประโยคต่างๆ

ประโยคบอกเล่า

He, She, It, A cat
does
ส่วนขยาย
I,You, We, They, Cats
do
ส่วนขยาย

1. ประโยคบอกเล่า ( ประธาน + do, does) แปลว่า ทำ จะทำอะไรบ้างนั้น ดูจากตัวอย่างเลย

I do the ironing in the morning.  ฉันรีดผ้าในตอนเช้า
You do the laundry everyday. คุณซักผ้าทุกวัน
We do the washing after dinner. พวกเราล้างจานหลังอาหารเย็น
He does homework in the evening. เขาทำการบ้านในตอนเย็น
My mom does housework everyday. แม่ของฉันทำงานบ้านทุกวัน

2. ประโยคบอกเล่า ( ประธาน + do, does+ กริยาช่องที่ 1 (ไม่ต้องเติม s) ) แปลว่า จริงๆ ใช้เพื่อเน้น แต่ไม่ค่อยได้ใช้หรอก ยกตัวอย่างให้ดูเฉยๆ

I do love you. ผมรักคุณจริงๆ
She does clean the floor everyday. หล่อนทำความสะอาดพื้นทุกวันจริงๆ
We do go to school early. พวกเราไปโรงเรียนแต่เช้าจริงๆ

ประโยคปฏิเสธ

  •   do + not / does + not ใช้เป็นคำปฏิเสธใน present simple tense
He, She, It, A cat
does not
กริยาช่องที่1
I, You, We, They, Cats
do not
กริยาช่องที่ 1

I don’t  know.ผมไม่รู้

He doesn’t  love you. เขาไม่รักคุณ
She doesn’t  play football. หล่อนไม่เล่นฟุตบอล
It doesn’t rain everyday. ฝนไม่ตกทุกวัน
A cat doesn’t  eat rice. แมวไม่กินข้าว

You don’t drink coffee in the morning. คุณไม่ดื่มกาแฟในตอนเช้า
We don’t  go to school everyday. พวกเราไม่ไปโรงเรียนทุกวัน
They don’t  read newspapers.พวกเขาไม่อ่านหนังสือพิมพ์
Cats don’t sleep on the roof. แมวทั้งหลายไม่นอนบนหลังคา

ประโยคคำถาม  Yes / No Question

การทำประโยคคำถามให้เอา Do , Does  มาวางไว้หน้าประโยค ตามหลักที่ว่า การสร้างประโยคบอกเล่าเป็นคำถามนั้น ถ้าไม่กริยาช่วย (is, am, are/ can/ should/ must) ในประโยค ให้เอา Verb to do มาใช้แทน

ประโยคคำถามแบ่งออกเป็นสองประเด็นคือ ถามในรูปแบบบอกเล่า และถามรูปแบบปฏิเสธ

1. การถามในรูปแบบบอกเล่า

Does
he, she, it, a cat
กริยาช่องที่ 1
Do
I, you, we, they, cats
กริยาช่องที่ 1
  • I love a cat? ผมรักแมว
    Dolove a cat? ผมรักแมวใช่ไหม
    Yes, you do./ No, you don’t. ใช่ / ไม่ใช่
  • He comes from China. เขามาจากจีน
    Does
    he come from China.? เขามาจากจีนใช่ไหม
    Yes, he does.  No, he doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • She likes football. หล่อนชอบฟุตบอล
    Does
    she like football? หล่อนชอบฟุตบอลใช่ไหม
    Yes, she does.  No, she doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • It rain in July. ฝนตกในเดือนกรกฎาคม
    Does
    it rain in July? ฝนตกในเดือนกรกฎาคาใช่ไหม
    Yes, it does.  No, it doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • A cat eats fish. แมวกินปลา
    Does
    a cat eat fish? แมวกินปลาใช่ไหม
    Yes, a cat does.  No, a cat doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • You go to school by car. คุณไปโรงเรียนโดยรถยนต์
    Do
    you go to school by car. คุณไปโรงเรียนโดยรถยนต์ใช่ไหม
    Yes, I do. / No, I don’t. ใช่  / ไม่ใช่
  • We eat rice everyday. พวกเรากินข้าวทุกวัน
    Do
    we eat rice everyday? พวกเรากินข้าวทุกวันใช่ไหม
    Yes, we do. / No, we don’t. ใช่  / ไม่ใช่
  • They sell fruit. พวกเขาขายผลไม้
    Do they sell  fruit? พวกเขาขายผลไม้ใช่ไหม
    Yes, they do. / No, they don’t. ใช่  / ไม่ใช่
  • Cats sleep at night. แมวนอนตอนกลางคืน
    Do
    cats sleep at night? แมวทั้งหลายนอนตอนกลางคืนใช่ไหม
    Yes, cats do. / No, cats don’t. ใช่  / ไม่ใช่

2. การถามในรูปแบบปฏิเสธ

การถามในรูปปฏิเสธแบ่งออกอีกสองประเด็นคือ ในรูปแบบเต็ม และรูปแบบย่อ แต่นิยมถามในรูปย่อมากกว่า

  • รูปแบบเต็ม

Does
he, she, it, a cat
not
กริยาช่องที่ 1
Do
I, you, we, they, cats
not
กริยาช่องที่ 1
  • รูปแบบย่อ

Doesn’t
he, she, it, a cat
กริยาช่องที่ 1
a car?
Don’t
I, you, we, they, cats
กริยาช่องที่ 1
a car?
  • Do I not love a cat? ผมไม่รักแมวใช่ไหม
    Yes, you do./ No, you don’t. ใช่ / ไม่ใช่
  • Doesn’t he come from China.? เขาไม่ได้มาจากจีนใช่ไหม
    Yes, he does.  No, he doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • Does she not like football? หล่อนไม่ชอบฟุตบอลใช่ไหม
    Yes, she does.  No, she doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • Doesn’t it rain in July? ฝนไม่ตกในเดือนกรกฎาคมใช่ไหม
    Yes, it does.  No, it doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • Does a cat not eat fish? แมวไม่กินปลาใช่ไหม
    Yes, a cat does.  No, a cat doesn’t.ใช่ / ไม่ใช่
  • Don’t you go  to school by car. คุณไม่ได้ไปโรงเรียนโดยรถยนต์ใช่ไหม
    Yes, I do. / No, I don’t. ใช่  / ไม่ใช่
  • Do we not eat rice everyday? พวกเราไม่กินข้าวทุกวันใช่ไหม
    Yes, we do. / No, we don’t. ใช่  / ไม่ใช่
  • Don’t they sell  fruit? พวกเขาไม่ได้ขายผลไม้ใช่ไหม
    Yes, they do. / No, they don’t. ใช่  / ไม่ใช่
  • Do cats not sleep at night? แมวทั้งหลายไม่นอนกลางคืนใช่ไหม
    Yes, cats do. / No, cats don’t. ใช่  / ไม่ใช่

*** ไม่ว่าคำถามจะเป็นอย่างไร ถ้ามีก็บอกว่าใช่ ถ้าไม่มีก็บอกว่าไม่ เช่น ผมรักคุณนะ แล้วคุณมาถาม

Do you love? คุณรักฉันใช่ไหม
Yes, I do. ใช่ (ถูกต้องครับ เพราะผมรักคุณจริงๆ)

Don’t  you love me? คุณไม่รักฉันใช่ไหม
คุณจะตอบว่าอย่างไร
Yes, I do. ใช่ (แปลว่ารัก)
No, I don’t. ไม่ใช่ (แปลว่าไม่รัก)
ต้องตอบว่า Yes  นะครับ ถ้าตอบว่า No หมายความว่าผมไม่รักคุณเลย

ประโยคคำถาม Wh- Question

ให้เอาคำเหล่านี้ (Who, What, Where, When, Why, How) นำหน้าประโยค ตามด้วย do

Who do you love? คุณรักใคร
I love John. ฉันรักจอห์น

What do you like? คุณชอบอะไร
I like cats. ฉันชอบแมว

Where do you usually go on weekends? ปกติคุณไปไหนในวันหยุดสุดสัปดาห์
I usually go to the market?  ปกติผมไปตลาด

When does rainy season start? ฤดูฝนเริ่มเมื่อไหร่
It begins around July. มันเริ่มราวๆ เดือนกรกฎาคม

Why do you have to go now? ทำไมคุณต้องไปเดี๋ยวนี้
My friends are waiting for me. เพื่อนของฉันคอยอยู่

How long does it take? มันต้องใช้เวลานานเท่าไหร่
About ten minutes. ประมาณ 10 นาที ประมาณ 10 นาที

ขอ 5 ดาวให้บทเรียนด้วยครับผม…

คลิกดาวดวงที่ขวามือสุดเลยครับครับ…

Average rating 4.5 / 5. Vote count: 313

ยังไม่มีใครให้ดาว คุณคือคนแรก….

[Update] พื้นฐานที่ควรรู้เพื่อหัดแต่งประโยคภาษานอร์เวย์ (แบบง่ายๆ ) | ตัวอย่าง ประโยค บอก เล่า ภาษา ไทย – NATAVIGUIDES

เนื้อหาในบทความนี้:

  1. โครงสร้างประโยคพื้นฐาน (Ordstilling)

  2. คำสรรพนาม (Pronomen)

  3. คำกริยา (Verb)

  4. คำนามในภาษานอร์เวย์ (Substantiv)

  5. คำกริยาช่วย (Modalverb)

  6. คำแสดงคำถาม (Spørreord)

  7. ตัวอย่างประโยค

เกริ่นนำ:

สำหรับเด็กใหม่ไฟแรงอย่างเราๆ พอเรียนภาษานอร์เวย์มาได้สักพัก 

เริ่มทักทาย Hei! Hvordan har du det? ได้ อ่าน A B C D ในภาษานอร์เวย์ได้ 

เราก็เริ่มอยากหัดเขียนเป็นภาษานอร์เวย์บ้าง

แต่เพราะเราเรียนภาษานอร์เวย์ด้วยตัวเอง ทำให้ตอนเริ่มต้นนั้นงงมาก ไม่รู้ว่าจะเริ่มตรงไหน

รู้แต่ว่าอยากเขียน แต่เขียนไม่ถูก ไม่รู้ต้องเริ่มยังไง ต้องเขียนยังไง

พอเรียนด้วยตัวเองมาสักพัก เราจึงเริ่มจับจุดได้ สรุปออกมาเป็นโน้ตย่อเพื่อทบทวนความเข้าใจของตนเอง

เลยอยากนำมาแบ่งปันกับเพื่อนๆที่อาจกำลังเรียนภาษานอร์เวย์ด้วยตนเองอยู่ และยังงงๆเหมือนเราในตอนแรกๆ

โน้ตสรุปนี้ คือสิ่งที่เราคิดว่าเพื่อนๆที่เพิ่งเริ่มเรียนควรรู้เพื่อสามารถหัดเขียนภาษานอร์เวย์แบบง่ายๆได้

เหมาะสำหรับการเขียนประโยคสั้นๆ ถาม-ตอบแบบง่ายๆ อย่างน้อยเพื่อให้เพื่อนๆต่อยอดไปยังประโยคที่ซับซ้อนได้ต่อไป

พื้นฐานที่ควรรู้เพื่อหัดแต่งประโยคภาษานอร์เวย์ (แบบง่ายๆ)

การหัดแต่งประโยคก็เหมือนการหัดทำไข่เจียว เราต้องรู้ก่อนว่าส่วนผสมมีอะไรบ้าง และใส่อะไรก่อนหลัง

1. รู้จักโครงสร้างประโยคพื้นฐานในภาษานอร์เวย์ (Ordstilling)

1.1) ประโยคบอกเล่าโดยทั่วไป

ประธาน (Subject) + กริยา (Verb) + กรรม (Object) (หรือใน Main clause อาจจะไม่มีกรรมก็ได้)

1.2) ทำประโยคบอกเล่าให้เป็นรูปปฏิเสธ (ใช้ Adverb – ikke)

ประธาน (Subject) + กริยา (Verb) + คำวิเศษณ์ (Adverb) + กรรม (Object)

1.3) การสร้างประโยคคำถาม

– รู้จักการใช้ Question word เพื่อสร้างประโยคคำถาม

Question word + กริยา (Verb) + ประธาน (Subject)?

– รู้จักการสร้างประโยคคำถามแบบไม่มี Question word **สามารถใช้คำกริยาขึ้นต้นได้เลย

กริยา (Verb) + ประธาน (Subject)?

**พอรู้จักโครงสร้างว่า 1 ประโยคประกอบด้วยอะไรบ้างแล้ว 

ต่อไปเรามาทำความรู้จักกับส่วนประกอบนั้น เพื่อเลือกใช้ให้ถูกต้อง**

2. รู้จักการใช้คำสรรพนาม (Pronomen)

Jeg (I ฉัน) – meg (Me ฉัน)

Du (You คุณ) – deg (You คุณ)

Vi (We เรา) – oss ( Us เรา)

Dere (พวกคุณ) – dere (พวกคุณ)

Han (He เขา) – ham (Him เขา)

Hun (She หล่อน) – henne (Her หล่อน)

De (They พวกเขา) – dem (Them พวกเขา)

Det/Den (It มัน) – det/den (It มัน)

3. รู้จักคำกริยา ประเภทและหน้าที่ของคำกริยา

ภาษานอร์เวย์จะใช้คำกริยาเป็นตัวบอกเวลา ว่าประธานทำกริยานั้นๆ ตอนไหน (คล้ายๆภาษาอังกฤษ)

ซึ่งคำกริยาจะต้องผันไปตามกาลเวลาของประโยคนั้นๆ (อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต)

3.1) รูปดิค (infinitive form) infinitiv å

กริยาคงที่ หรือที่เราเรียกเองว่ารูปดิค คือ กริยาที่ยังไม่ได้ผัน

เป็นรูปตั้งต้นของคำกริยา ขึ้นต้นด้วย å

เช่น å snakke

ถ้าเทียบในภาษาอังกฤษคือ to ….. (to eat, to go, to speak)

หรือที่เราเคยอ่านมา เขาให้แปลคำว่า å ว่า “การ”

เช่น å snakke – การพูด, å lese – การอ่าน, å spise – การกิน

3.2) รูปปัจจุบัน (present form) Present

เพื่อใช้พูดถึงสิ่งที่เกิดขึ้น ณ ตอนนี้ หรือเรื่องที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันสม่ำเสมอ

การผันโดยส่วนใหญ่ จะนำคำกริยารูป infinitiv å มาตัด å ออก และเติม “r” เพื่อแสดงว่าเป็นรูปปัจจุบัน

เช่น å spise – spiser, å lese – leser, å snakke – snakker

3.3) รูปอดีต (past form) Preteritum

เพื่อใช้พูดถึงเรื่องที่เกิดขึ้นในอดีตระบุสถานที่/เวลาที่เกิดชัดเจน และจบไปแล้ว ไม่ต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน

การผันนั้นจะหลากหลายกว่ารูปปัจจุบัน คือนำคำกริยารูป infinitiv å มาตัด å ออก แต่อาจจะเติม “et”, “t”, “te” หรือเปลี่ยนรูปไปเลย **ต้องศึกษาจากตารางการผันกริยา ซึ่งพอจะมีหลักให้จำอยู่ 5 หมวด**

3.4) รูปปัจจุบันสมบูรณ์ (present perfect form) har + Prefektum

เพื่อใช้พูดเรื่องที่เกิดขึ้นแล้ว (ในอดีต) และดำเนินมาจนถึงปัจจุบัน หรือใช้พูดเพื่อเน้นผลลัพท์ที่ได้ของเหตุการณ์นั้นๆ

ตัวอย่างการผันคำกริยา

ช่องแรก รูปดิค – ช่องที่ 2 รูปปัจจุบัน – ช่องที่ 3 รูปอดีต  – ช่องที่ 4 รูปปัจจุบันสมบูรณ์

4. รู้จักคำนามในภาษานอร์เวย์ (Substantiv)

คำนามในภาษานอร์เวย์มี 3 เพศ

ซึ่งอาจจะเป็นสิ่งใหม่สำหรับคนไทย เพราะในภาษาไทยคำนามไม่มีเพศ

เพศของคำนามมีความสำคัญและจำเป็นต้องรู้ เพราะการจะนำไปใช้ต้องผันตามรูปประโยค

ซึ่งแบ่งเป็นการผันบอกรูปไม่เจาะจง (Ubestemt from) และรูปเจาะจง (Bestemt form)

**อ่านรายละเอียดการใช้คำนาม Ubestemt และ Bestemt from ได้ใน Section: Substantiv

นอกจากนี้การผันพวกนี้ยังต้องนำไปใช้กับการแสดงความเป็นเจ้าของและคำคุณศัพท์และอื่นๆ การเรียนรู้เพศ การผัน และการใช้คำนามจึงสำคัญมาก

ที่สำคัญ: ไม่มีหลักในการแยกแยะว่าคำนามอะไร เป็นเพศอะไร ต้องจำเอง

– เพศชาย ใช้คำนำหน้าคำนาม En เช่น En gutt, En far, En bil

– เพศหญิง ใช้คำนำหน้าคำนาม Ei เช่น Ei kvinne, Ei mor, Ei dør

– ไร้เพศ ใช้คำนำหน้าคำนาม Et เช่น Et tog, Et hus, Et fly

*คำนามเพศหญิงสามารถใช้ Ei หรือ En ก็ได้

ตัวอย่างการผันคำนาม

5. รู้จักคำกริยาช่วย Skal, Vil, Kan, Må และ Bør (Modalverb)

หลักการใช้คือ เมื่อใช้คำกริยาช่วยทั้ง 5 นี้ ต้องตามด้วยคำกริยาแท้ช่อง infinitiv å

แต่ตัด å ออก

คำกริยาช่วยเหล่านี้จะได้ใช้บ่อยมากในชีวิตประจำวัน ควรฝึกเขียนให้คล่อง

skal = จะ

vil = ต้องการจะ, อยากจะ

kan = สามารถ

må = ต้อง คงจะต้อง

bør = ควร

6. รู้จักคำแสดงคำถาม

ในภาษานอร์เวย์ก็มี Question word (คำแสดงคำถาม) เหมือนภาษาไทย ภาษาอังกฤษ

เช่น Hva – อะไร, Hvor – ที่ไหน, Hvem – ใคร, Hvordan – อย่างไร, Når – เมื่อไหร่, Hvorfor – ทำไม

“6 ข้อนี้คือสิ่งที่โบคิดว่าน้องใหม่จำเป็นต้องรู้ เพื่อที่สามารถหัดเขียนภาษานอร์เวย์แบบง่ายๆได้ก่อน 

สิ่งสำคัญคือต้องค่อยๆ ทำความเข้าใจหน้าที่ของคำ 

จากนั้นฝึกเขียน ฝึกแต่งประโยคบ่อยๆให้คล่อง

แล้วค่อยๆ ขยับไปเรียนรู้คำคุณศัพท์ คำกริยาช่วยอื่นๆ เพื่อให้สามารถแต่งประโยคที่ซับซ้อนมากขึ้นได้”

ตัวอย่างการแต่งประโยค

1) ประโยคบอกเล่าโดยทั่วไป

ประธาน (Subject) + กริยา (Verb) + กรรม (Object)

รูปปัจจุบัน (present form) Present

– Jeg spiser lunsj. ฉันกำลังกินอาหารกลางวัน

– Jeg står opp klokkla 7 hver dag. ฉันตื่นนอนตอน 7 โมงเช้าทุกวัน (กิจวัตรประจำวัน)

รูปอดีต (past form) Preteritum

– Jeg spiste lunsj. ฉันกินอาหารกลางวันแล้ว

– Jeg sto opp klokkla 7 i dag. วันนี้ฉันตื่นนอน 7 โมงเช้า (ตื่นมาแล้ว)

รูปปัจจุบันสมบูรณ์ (present perfect form) Har + Prefektum

– Han har bodd i Norge i 2 år. เขาอาศัยอยู่นอร์เวย์มา 2 ปีแล้ว (ตอนนี้ก็ยังอยู่ที่นอร์เวย์)

– Jeg har studert norsk i seks måneder. ฉันเรียนภาษานอร์เวย์มา 6 เดือนแล้ว (ตอนนี้ก็ยังเรียนอยู่)

2) ประโยคบอกเล่าในรูปปฏิเสธ (ใช้กริยาช่วย ikke)

ประธาน (Subject) + กริยา (Verb) + คำวิเศษณ์ (Adverb) + กรรม (Object)

รูปปัจจุบัน (present form) Present

– Jeg spiser ikke lunsj. ฉันไม่ได้กำลังกินอาหารกลางวัน

– Jeg snakker ikke norsk. ฉันไม่ได้พูดภาษานอร์เวย์

รูปอดีต (past form) Preteritum

– Jeg spiste ikke middag i går. ฉันไม่ได้กินอาหารเย็นเมื่อวาน

รูปปัจจุบันสมบูรณ์ (present perfect form) Har + Prefektum

– Han har ikke bodd i Norge. เขาไม่ได้อาศัยอยู่นอร์เวย์

– Jeg har ikke studert norsk. ฉันไม่ได้เรียนภาษานอร์เวย์

3) ประโยคคำถาม

3.1 ใช้ Question word เพื่อสร้างประโยคคำถาม

Question word + กริยา (Verb) + ประธาน (Subject)?

– Hva spiser du? คุณกำลังกินอะไร

– Hvor bor du? คุณอาศัยอยู่ที่ไหน

– Hvem er han? เขาคือใคร

3.2 สร้างประโยคคำถามแบบไม่มี Question word

กริยา (Verb) + ประธาน (Subject) + กรรม (Object)?

– Spiser du lunsj? คุณกำลังกินข้าวกลางวันอยู่ใช่ไหม

– Snakker du thai? คุณพูดภาษาไทยใช่ไหม

4) ประโยคที่ใช้กริยาช่วย Skal, Vil, Kan, Må และ Bør

ประธาน (Subject) + กริยาช่วย (modalverb) + กริยา (infinitiv å แต่ตัด å ออก)

– Han skal arbeide i Oslo. เขาจะไปทำงานที่ออสโล

– Jeg vil ha en kopp kaffe. ฉันต้องการกาแฟ 1 แก้ว

– Jeg kan snakke engelsk. ฉันสามารถพูดภาษาอังกฤษได้

– Du må hente meg. คุณต้องมารับฉัน

5) ประโยคที่ใช้กริยาช่วย Skal, Vil, Kan, Må และ Bør ในรูปปฏิเสธ

ประธาน (Subject) + กริยาช่วย (modalverb) + คำวิเศษณ์ (IKKE) + กริยา (infinitiv å แต่ตัด å ออก)

– Jeg skal ikke spise middag i dag. วันนี้ฉันจะไม่กินข้าวเย็น

– Jeg vil ikke ha en kopp kaffe. ฉันไม่ต้องการกาแฟ 1 แก้ว

– Jeg kan ikke snakke engelsk. ฉันไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้

6. ประโยคที่มีคำกริยามากกว่า 1 คำ (กริยาหลัก-กริยารอง)

**ใน 1 ประโยคสามารถมีคำกริยาหลัก (present หรือ preteritum หรือ perfektum) ได้ 1 คำเท่านั้น

กริยารองจะต้องมาในรูป Infinitiv å (ไม่ต้องตัด å)

ประธาน (Subject) + กริยาหลัก (Verb) + กริยารอง (Infinitiv å) + กรรม (Object)

– Jeg liker å lese norskbok. ฉันชอบการอ่านหนังสือภาษานอร์ช

– Jeg liker å se på tv. ฉันชอบการดูทีวี

– Jeg hater å lese norskbok. ฉันเกลียดการอ่านหนังสือภาษานอร์ช

7. ประโยคที่มีคำกริยามากกว่า 1 คำ ในรูปปฏิเสธ (ใช้กริยาช่วย ikke)

ประธาน (Subject) + กริยาหลัก (Verb) + คำวิเศษณ์ (Adverb – IKKE) + กริยารอง (Infinitiv å) + กรรม (Object) / กริยาช่วย (Adverb)

– Han liker ikke å spise kake. เขาไม่ชอบการกินเค้ก

– Jeg liker ikke å lese norskbok. ฉันไม่ชอบการอ่านหนังสือภาษานอร์ช

Share this:

Like this:

Like

Loading…


ประโยค ป 3 ตอนที่ 1 ประโยคบอกเล่า


ภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่องประโยคบอกเล่า ภาษาไทย ป3 หลักภาษา ประโยค ประโยคบอกเล่า การเรียนการสอน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

ประโยค ป 3 ตอนที่ 1 ประโยคบอกเล่า

ประโยคบอกเล่า ปฏิเสธ และคำถาม ป. 4


ประโยคบอกเล่า ปฏิเสธ และคำถาม ป. 4 เรียนรู้ผ่านคลิปวีดีโอแสนสนุก

ประโยคบอกเล่า ปฏิเสธ และคำถาม ป. 4

ประโยค บอกเล่า ปฏิเสธ และคำถาม


การใช้ ประโยค บอกเล่า ปฏิเสธ และคำถาม

ประโยค บอกเล่า ปฏิเสธ และคำถาม

Mẫu câu đơn trần thuật tiếng Thái ประโยคบอกเล่าภาษาไทย


🚩 Cẩm Tú, giáo viên tiếng Thái (ครูตู๋)
📍 Kênh YouTube: https://www.youtube.com/c/YêutiếngTháiHiểuTháiLan
📍 Page: https://www.facebook.com/yeutiengthai…
📍 Email: [email protected]
✳️ Các video liên quan được nói đến trong bài:
Câu đơn tiếng Thái: https://youtu.be/d7GXOozr45E
Từ trái nghĩa: https://youtu.be/L7DI3kosOUw
Câu bị động: https://youtu.be/NxYW2mQP1zw
Trạng ngữ chỉ thời gian: https://youtu.be/fOkcUEydsIw
✳️ Danh sách các loạt video quan trọng:
📍 10 bài Đánh vần Phát âm cơ bản:
https://youtube.com/playlist?list=PLVDZ8VgWFEPDx5M8k6wrJYWgqGfp83rc5
📍 Các bài Đánh vần Phát âm nâng cao:
https://youtube.com/playlist?list=PLVDZ8VgWFEPAs9_nphrm7K5pDSKcDsv1q
📍 Các chủ đề giao tiếp:
https://youtube.com/playlist?list=PLVDZ8VgWFEPAF3yHpGA1ZSaXVMt_uiLdj
📍 Ngữ pháp và Mẫu câu:
https://youtube.com/playlist?list=PLVDZ8VgWFEPDmI3vEvZ4O9GmAairXfBYs
📍 Bài luyện kĩ năng:
https://youtube.com/playlist?list=PLVDZ8VgWFEPA8KYbBTh44W1rDPsChyF3w
📍 Kinh nghiệm Tài liệu học tiếng Thái
https://youtube.com/playlist?list=PLVDZ8VgWFEPBeZXr0n5Px4WK_Pm17exQI
❇️ Chú ý:
การถ่ายเสียงภาษาไทยในวิดีโอไม่ใช่ระบบสัทอักษรสากล แต่ใช้อักษรภาษาเวียดนามและระบบสัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนเวียดนามที่ไม่มีพื้นฐานภาษาศาสตร์สามารถเรียนรู้ได้เร็ว
Cách ghi âm tiếng Thái trong video không phải là phiên âm quốc tế quy chuẩn, mà dùng tiếng Việt và các kí hiệu quy ước. Cách này nhằm giúp người học Việt Nam không có chuyên môn ngôn ngữ học cũng dễ dàng đọc được.
• Quy ước cách ghi âm
1. Phụ âm đầu:
j (จ): gần giống nhưng không phải âm ch của tiếng Việt; khi phát âm, hai hàm răng khép lại để không có hơi thoát ra
w (ว): phát âm tròn môi như o hay u trong chữ oanh, uống của tiếng Việt
y (ย, ญ): phát âm như trong chữ young, yes của tiếng Anh
P (พ, ภ, ผ): khi viết P hoa, phát âm bật hơi như trong chữ pen, pork của tiếng Anh, khác với âm p trong chữ pin của tiếng Việt
2. Nguyên âm tiếng Thái có nguyên âm dài và nguyên âm ngắn, độ dàingắn của nguyên âm làm thay đổi nghĩa của từ. Ở đây, nguyên âm dài được ghi bằng 2 chữ cái; ví dụ: a là nguyên âm ngắn còn aa là nguyên âm dài, ê là nguyên âm ngắn còn êê là nguyên âm dài
3. Thanh điệu:
Thanh sả’măn: giống thanh ngang của tiếng Việt, không có dấu (กา: kaa)
Thank ệk: phát âm giống thanh huyền, ghi bằng dấu huyền (ก่า: kaà)
Thanh thôô: là thanh lênxuống không có trong thanh điệu tiếng Việt, ghi bằng hai gạch (ก้า: kaa”)
Thanh trii: phát âm giống thanh sắc, ghi bằng dấu sắc (ก๊า: kaá)
Thanh jặttawaa: là thanh xuốnglên, độ cao ở giữa thanh hỏi và sắc của tiếng Việt, ghi bằng cả dấu hỏi và dấu sắc (ก๋า: kaả’)

Mẫu câu đơn trần thuật tiếng Thái ประโยคบอกเล่าภาษาไทย

เรื่อง ประโยคขอร้อง ภาษาไทย ป.4


เรื่อง ประโยคขอร้อง ภาษาไทย ป.4

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ตัวอย่าง ประโยค บอก เล่า ภาษา ไทย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *