Skip to content
Home » [NEW] หลักการใช้ Present Simple and Present Continuous ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย – Tuemaster เรียนออนไลน์ ม.ปลาย | หลักการเติมing – NATAVIGUIDES

[NEW] หลักการใช้ Present Simple and Present Continuous ภาษาอังกฤษ ม.ปลาย – Tuemaster เรียนออนไลน์ ม.ปลาย | หลักการเติมing – NATAVIGUIDES

หลักการเติมing: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Table of Contents

ระหว่าง Present simple กับ Present continuous ว่าใช้งานต่างกันอย่างไร 

Present Simple Tense 

Present Simple Tense คือ การพูดถึงเรื่องทั่วไป เรื่องที่ทำซ้ำ ๆ ในปัจจุบัน

โครงสร้างประโยคของ Present Simple Tense 

– S + V.1 ถ้าประธานเป็นเอกพจน์บุรุษที่ 3 (He, She, It, The library, a dog, etc…) กริยาต้องเติม s/es 

He drives a taxi.
She eats pizza.
I live in Bangkok.

– S + Auxiliary Verb (กริยาช่วย) + V.1 (V.1 ไม่เติม s/es)

She can play tennis.
We must work hard.

โครงสร้าง Present Simple Tense

S+V1 (s,es)

Subject
Verb (s, es)

I, You, We,They
eat, go

He, She, It
eats, goes

หลักการใช้ Present Simple 

1. ใช้พูดถึงสิ่งที่เป็นความจริงทั่วไป (ทั้งเรื่องเกี่ยวกับตัวเราและความจริงตามธรรมชาติ)

I live in Bangkok. (ฉันอาศัยอยู่ที่กรุงเทพ)
The earth moves round the sun. (โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์)

2. ใช้พูดถึงนิสัย หรือกิจวัตรที่ทำเป็นประจำในปัจจุบัน

She eats fruit every day. (เธอกินผลไม้ทุกวัน)
I go to work by BTS. (ฉันไปทำงานโดยรถไฟฟ้าบีทีเอส)

ข้อสังเกต: เหตุการณ์หรือการกระทำที่ทำเป็นประจำมักมีคำบอกความถี่ (Adverbs of frequency) แสดงอยู่ในประโยค 

3. ใช้พูดเกี่ยวกับสิ่งที่กำหนดไว้ว่าจะทำในอนาคต (มักเกี่ยวกับแผนงานและตารางเวลา)

Our holiday starts on the 11th August. (วันหยุดของพวกเราเริ่มต้นที่วันที่ 11 สิงหาคม)
The museum opens at 9.00 a.m. and closes at 5.00 p.m. (พิพิธภัณฑ์เปิดตอนเก้าโมงเช้าและปิดตอนห้าโมงเย็น)

4. ใช้เล่าเรื่องตลก สรุปเรื่องราวจากละคร ภาพยนตร์ นิยาย หรือรายงานการแข่งกีฬาแบบเรียลไทม์

In her new movie, Yaya plays a troubled woman. (ในภาพยนตร์เรื่องใหม่ ญาญ่าเล่นเป็นนางร้าย)
Messi stops in mid-field and passes the ball to Suarez. (เมสซี่หยุดที่กลางสนามและผ่านบอลให้ซัวเรซ)

5. ใช้พูดแสดงความชอบ ความคิดเห็น ความรู้สึก โดยคำกริยาส่วนใหญ่ที่ใช้คือ like, love, prefer, know, understand, hate, need, want, believe, remember, see, hear, taste, smell, look

I need to know right now. (ฉันต้องรู้เดี๋ยวนี้)
Nadee likes eating dessert. (นาดีชอบกินของหวาน)
**eating ในที่นี่เป็น Gerund มีสถานะเป็นคำนาม หมายถึง การกิน

Present Continuous Tense

Present Continuous Tense คือ การพูดถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่อย่างต่อเนื่องในขณะนั้น แต่จะสิ้นสุดในไม่ช้า

โครงสร้าง present continuous tense

S + is, am, are + V ing

ประธาน + is, am, are + กริยาเติม ing

I
am
eating
He, She, It, A cat
is
eating
You, We, They, Cats
are
eating

โครงสร้างของ Present Continuous Tense

S + V to be (is, am, are) + V ing

She is talking to her friend.
I’m watching the movie.

หลักการใช้ Present Continuous Tense

1. ใช้พูดถึงสิ่งที่กำลังทำหรือกำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะที่พูด

They are swimming in the pool. (พวกเขากำลังว่ายน้ำในสระว่ายน้ำ)
He is having breakfast. (เขากำลังกินอาหารเช้า)

** เราสามารถเติมคำว่า just ข้างหน้า V ing เพื่อเน้นย้ำว่า กำลัง… ได้

He is just having breakfast.

2. ใช้พูดเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้หรือต้องเป็นอย่างนั้นแน่ ๆ ซึ่งมักใช้กับกริยาที่มีการเคลื่อนที่

My dad is going to Tokyo on Friday. (พ่อของฉันกำลังจะไปโตเกียวในวันศุกร์)
I’m flying to Milan in September. (ฉันกำลังจะบินไปมิลานในเดือนกันยายน)

ข้อควรจำ: คำกริยาบางคำไม่สามารถเติม ing ใน Present Continuous ได้ กริยาเหล่านั้นเรียกว่า Stative Verbs เช่น hear, see, feel, understand, love เป็นต้น 

สรุปเรื่อง

เปรียบเทียบ Present Simple และ Present Continuous

หัวข้อ

Present Simple

Present Continuous

  โครงสร้างประโยค

 

  บอกเล่า

 

  – S + V1 (ประธานเอกพจน์ V1 เติม s/es)
  – S + กริยาช่วย + V1 (V1 ไม่เติม s/es)

  S + is/am/are + V-ing

  ปฏิเสธ

  – S +  don’t / doesn’t + V1
  – S + Vช่วย + not + V1
  **(V1 ไม่เติม s/es)
  Ex 1. I don’t like horror films.
          (ฉันไม่ชอบหนังสยองขวัญ)
  Ex 2. He doesn’t work on Monday.
          (เขาไม่ทำงานในวันจันทร์)
  Ex 3. She shouldn’t drive a car.
        (เธอไม่ควรขับรถ)

 

  S + is/am/are + not + V-ing

 

 

 

  Ex. We aren’t going home.
        (พวกเราไม่ได้กำลังจะกลับบ้าน)

 

  คำถาม

  – Do / Does + S + V1?
  – V ช่วย +  S + V1?
  **(V1 ไม่เติม s/es)

  Ex 1. Do you like coffee.
          (คุณชอบกาแฟไหม?)

  Ex 2. Can you swim?
          (คุณว่ายน้ำเป็นไหม?)

 

  Is/Am/Are + S + V-ing?

 

 

  Ex. Are you playing football in the evening?
      (เย็นนี้คุณจะเล่นฟุตบอลไหม?)

 

  คำถาม Wh – Question

  Who/What/Where/When/Why/How + do/does + S + V1?

  Ex. When do you want to meet me
       (คุณอยากพบฉันเมื่อไหร่?)

  Who/What/Where/When/Why/How + is/am/are + S + V-ing

  Ex. Where are you going to?
       (คุณกำลังจะไปไหน?)

  หลักการใช้

 
  1. พูดถึงสิ่งที่เป็นความจริงทั่วไป
  2. พูดถึงนิสัย หรือกิจวัตรที่ทำเป็นประจำในปัจจุบัน
  3. พูดถึงสิ่งที่กำหนดว่าจะทำในอนาคต
  4. สรุปเรื่องราวจากละคร ภาพยนตร์ นิยาย หรือรายงานการแข่งกีฬาแบบเรียลไทม์

  1.พูดถึงสิ่งที่กำลังทำหรือกำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะที่พูด
  2.พูดเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้หรือต้องเป็นอย่างนั้นแน่ ๆ

  ข้อควรระวัง

  1. ประธานเอกพจน์ (he, she, it, the library, etc.) V1 ต้องเติม s หรือ es
  2. ถ้าในโครงสร้างที่มีกริยาช่วย V1 ไม่ต้องเติม s หรือ es

  กริยาในกลุ่ม Stative Verbs ใช้ใน Present Continuous ไม่ได้ (เติม ingไม่ได้)

  ตัวอย่าง

 
  I play tennis. (สื่อว่าเล่นเทนนิสอยู่เสมอ เป็นกิจวัตรหรือสิ่งที่ทำเป็นประจำ เรียกได้ว่าเป็นสถานการณ์ถาวร)

  Brother watches cartoons every day.
  (น้องชายดูการ์ตูนทุกวัน)

  I am playing tennis. (สื่อว่ากำลังเล่นเทนนิสอยู่ในขณะนั้น และจะจบเกมในไม่ช้า เรียกได้ว่าเป็นสถานการณ์ชั่วคราว)

Brother is watching a film now.  
  (ตอนนี้น้องชายกำลังดูหนังอยู่)

 

ขอบคุณข้อมูล https://www.trueplookpanya.com/

[Update] หลักการใช้ adjectives ending with –ed and -ing มันใช้ต่างกันยังไง มาดูให้เคลียร์ไปเลย | หลักการเติมing – NATAVIGUIDES

0

SHARES

Facebook

Twitter

adjective ที่เติม ed ing มันก็คือคำกริยานั่นแหละครับ แต่มาเติม ed ing ต่อท้ายเพื่อทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์แค่นั้นเอง ว่าแต่มันใช้ยังไง เดี๋ยวมาดูกันดีกว่านะ

การใช้ adjective ed ing

adjective ที่เติม ed หรือ ing เดิมทีมันก็คือคำกริยานั่นแหละ ถ้าเป็นคำกริยา บางคำจะแปลว่า “ทำให้….” หรือ แปลตามตัว

แต่พอทำหน้าที่เป็นคำคุณศัพท์ จะแปลว่า “รู้สึก…” หรือ “น่า…”

ซึ่งถ้าเป็นคำโดดๆ เราจะไมรู้ว่ามันทำหน้าที่เป็นคำกริยา หรือ คุณศัพท์ จนกว่ามันจะมาปรากฎในรูปประโยคนั่นแหล่ะ เราจะถึงบางอ้อ

ตัวอย่างใช้เป็นคำกริยา

  • frighten แปลว่า ทำให้…กลัว
  • tire แปลว่า เหนื่อย
  • satisfy แปลว่า ทำให้…พอใจ
  • interest แปลว่า ทำให้สนใจ
  • disappoint แปลว่า ทำให้ผิดหวัง

He is frightening kids by wearing a ghost mask.
เขากำลังทำให้เด็กๆกลัวโดยการสวมหน้ากากผี

My granddad is very old, so he tires easily.
ปู่ของผมแก่มาก ดังนั้นท่านจึงเหนื่อยง่าย

Yesterday’s show satisfied all of us.
การแสดงเมื่อวานทำให้พวกเราทุกคนพอใจ

This job might interest you.
งานนี้อาจทำให้คุณสนใจก็ได้นะ

Sam never disappoints his parents.
แซมไม่เคยทำให้พ่อแม่ผิดหวัง

ตัวอย่างการใช้เป็นคำคุณศัพท์

ทีนี้พอมาทำหน้าที่เป็นคำคุณศํพท์ จะแปลว่า รู้สึก… น่า… โดยมีหลักการจำดังนี้

รู้สึก ให้เติมอีดี
น่าอย่างนั้น น่าอย่างนี้ เติมไอเอ็นจี นะจ๊ะ… (เอ้า..อีกเที่ยว)

  • ed = รู้สึก
  • ing = น่า

I am bored. ฉันรู้สึกเบื่อ (เซ็ง ไม่อยากทำอะไรทั้งนั้น)
I am boring. ฉันน่าเบื่อ (ไม่มีใครอยากคบ อยากคุยกับฉัน)

โครงสร้างของประโยค

S + linking verb + adj ed, ing

  • S = Subject คือ ประธานของประโยค
  • Linking verb คือ กริยาเชื่อมทั้งหลาย เช่น is, am, are, was, were, seem, sound, feel, etc.
  • adj ed, ing คือคำคุณศัพท์ที่เติม ed กับ ing

อ่านเพิ่มเติม >> Linking verb คืออะไร

ed รู้สึก…

ใครรู้สึก? ก็ประธานของประโยคไง เช่น ฉัน คุณ เขา เด็กชาย ไก่ ลิง พระ เด็ก เป็นต้น เราจะแปลว่า รู้สึก หรือไม่ต้องแปลว่ารู้สึกก็ได้

  • I am bored. I won’t do anything today.
  • ฉันเบื่อ ฉันจะไม่ทำอะไรทั้งนั้นวันนี้
  • I am confused. I don’t know which way to go.
  • ฉันรูสึกสับสบ ฉันไมรู้จะไปทางไหนดี
  • Everyone was impressed when the show ended.
  • ทุกคนรู้สึกประทับใจ เมื่อการแสดงจบลง
  • Jane sounded pleased when she passed the exam.
  • เจนดูเหมือนรู้สึกพอใจที่หล่อนสอบผ่าน
  • I am interested in this job.
  • ฉันสนใจในงานนี้
  • I am deeply disappointed in you.
  • ฉันผิดหวังในตัวเธออย่างมาก

ing น่า…

ใครน่า…? ก็ประธานของประโยคอีกนั่นแหละ เช่น น่าเบื่อ น่าสับสน น่าประทับใจ เป็นต้น

  • I am boring. Nobody wants to play with me.
  • ฉัน(เป็นคน)น่าเบื่อ ไม่มีใครอยากเล่นกับฉัน
  • The streets are confusing. I don’t know which way to go.
  • ถนน(มัน)น่าสับสน ฉันไมรู้จะไปทางไหนดี
  • The show was impressing. Everyone liked it very much.
  • การแสดงน่าประทับใจ ทุกคนชอบมาก
  • The roller coaster is challenging. I want to try it.
  • เครืองเล่นโรลเลอร์โคสเตอร์น่าท้าทายมาก ฉันจะลองมัน
  • This job is interesting.
  • งานนี้น่าสนใจ
  • The result is really disappointing.
  • ผลที่ออกมาน่าผิดหวังจริงๆ

ยกตัวอย่างให้พอเห็นภาพนะครับ มันมีหลายคำอยูเลยแหละครับ คำประเภทนี้ มาดูคำที่เราควรรู้จักกันดีกว่านะครับ

  • Amazed – Amazing รู้สึกมหัศจรรย์ – น่ามหัศจรรย์
  • Amused – Amusing สนุก – น่าสนุก
  • Annoyed – Annoying รำคาญ – น่ารำคาญ
  • Astonished – Astonishing ประหลาดใจ – น่าประหลาดใจ
  • Bored – Boring รู้สึกเบื่อ – น่าเบื่อ
  • Challenged – Challenging ท้าทาย – น่าท้าทาย
  • Confused – Confusing สับสน – น่าสับสน
  • Depressed – Depressing หดหู่ – น่าหดหู่
  • Disappointed – Disappointing ผิดหวัง – น่าผิดหวัง
  • Disgusted – Disgusting ขยะแขยง – น่าขยะแขยง
  • Embarrassed – Embarrassing อับอาย -น่าอับอาย
  • Entertained – Entertaining บันเทิง – น่าบันเทิง
  • Excited – Exciting ตื่นเต้น – น่าตื่นเต้น
  • Exhausted – Exhausting เหนื่อย – น่าเหนื่อย
  • Fascinated – Fascinating ตราตรึงใจ – น่าตราตรึงใจ
  • Frightened – Frightening หวาดกลัว – น่าหวาดกลัว
  • Interested – Interesting สนใจ – น่าสนใจ
  • Pleased – Pleasing พึงพอใจ – น่าพึงพอใจ
  • Relaxed – Relaxing ผ่อนคลาย – น่าผ่อนคลาย
  • Satisfied – Satisfying พอใจ – น่าพอใจ
  • Shocked – Shocking ตกใจ – น่าตกใจ
  • Surprised – Surprising ประหลาดใจ – น่าประหลาดใจ
  • Terrified – Terrifying กลัว – น่ากลัว
  • Thrilled – Thrilling ขนลุก – น่าขนลุก
  • Tired – Tiring เหนื่อย – น่าเหนื่อย
  • Touched – Touching สะเทือนใจ – น่สะเทือนใจ
  • Worried – Worrying กังวล – น่ากังวล

ขอ 5 ดาวให้บทเรียนด้วยครับผม…

คลิกดาวดวงที่ขวามือสุดเลยครับครับ…

Average rating 4.5 / 5. Vote count: 262

ยังไม่มีใครให้ดาว คุณคือคนแรก….


การใช้ SOME และ ANY นามนับได้ และ นับไม่ได้


ครูเชอรี่ กับเคล็ดลับอังกฤษ ฟัง พูด อ่าน เขียน ผ่านประสบการณ์ใช้จริง สอนจริง
แฟนเพจ https://www.facebook.com/cherry.englishbright

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การใช้ SOME และ ANY นามนับได้ และ นับไม่ได้

สรุปคลิปเดียวจบ *V-ing* ใช้ยังไง?


สรุปสั้น การใช้ V ing 4 งานหลักๆ
1) กำลังเกิดขึ้น
2) จวนจะเกิดขึ้น
3) Present Perfect Con.
4) Gerund

สรุปคลิปเดียวจบ  *V-ing*  ใช้ยังไง?

หลักการเติม ing ที่เข้าใจง่ายที่สุดในโลก


หลักการเติม ing ที่เข้าใจง่ายและช่อง รัชต์วดี สามารถ ยังมีคลิปอื่นๆ ให้ติดตามมากกว่า 50 คลิป

หลักการเติม ing ที่เข้าใจง่ายที่สุดในโลก

Adjectives ที่ลงท้ายด้วย \”-ing\” และ \”-ed\” มีความหมายแตกต่างกันอย่างไร ?


มีกริยาอยู่กลุ่มหนึ่งที่จะเติม ing หรือเติม ed ก็ได้ โดยปกติแล้ว กริยากลุ่มนี้จะมีความหมายในตัวว่า ทำให้… ซึ่งเมื่อเติม –ing และ – ed เข้าไปแล้วจะทำให้คำกริยาคำนั้นกลายเป็นคำคุณศัพท์ และทำให้ความหมายของคำนั้นแตกต่างไปอย่างสิ้นเชิง ซึ่งยังมีผู้สับสนและใช้ผิดบ่อยครั้ง เรามาดูกันว่า ทั้งสองแบบนี้มีความหมายและการใช้แตกต่างกันอย่างไร
Adjectives ที่ลงท้ายด้วย \”ing\” และ \”ed\”

Adjectives ที่ลงท้ายด้วย \

เมื่อไหร่ที่เติม ed หรือ ing | Tina Academy Ep.14


เมื่อไหร่ที่เติม ed หรือ ing สำหรับคลิปนี้ ตีน่าจะมาไขข้อข้องใจทั้งหมดกับการเติม ing หรือ ed ถ้าใครชอบคลิปนี้กดไลค์ ถ้าใช่กด Subscribe ได้เลยนะค๊าาา
รายละเอียดคอร์สสอนภาษา https://goo.gl/e9Cttr
Subscribe จะได้ไม่พลาดคลิปทุกๆสัปดาห์
https://www.youtube.com/tinathanchannel/
คลิปอันก่อน
https://youtu.be/MiGnRDyFOZ0
Instagram: https://www.instagram.com/tinathanchanel
Facebook: https://www.facebook.com/tinathanchannel
กล้องที่ใช้: https://goo.gl/xxAi9H
ไฟที่ใช้: https://goo.gl/SFguUQ

เมื่อไหร่ที่เติม ed หรือ ing | Tina Academy Ep.14

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ หลักการเติมing

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *