Skip to content
Home » [NEW] หลักการเติม -ing ท้ายคำกริยาในภาษาอังกฤษ เข้าใจง่ายมาก | ing คือ – NATAVIGUIDES

[NEW] หลักการเติม -ing ท้ายคำกริยาในภาษาอังกฤษ เข้าใจง่ายมาก | ing คือ – NATAVIGUIDES

ing คือ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

หลักการเติม -ing ท้ายคำกริยาในภาษาอังกฤษ เป็นส่วนไวยากรณ์พื้นฐานที่ไม่ยากเลย แต่มีบางคนยังสับสนอยู่ว่าต้องทำการเติม -ing ยังไงให้ถูกต้อง และ กริยาเติม ing นั้นใช้กันยังไง วันนี้ Eng Breaking จะรวบรวมมาให้คุณทั้งหมดข้อสงสัยนี้ในบทความเดียวเลย

Table of Contents

กริยาเติม ing (V-ing) คืออะไร

ก่อนอื่นเราจะต้องมาเรียนรู้กันว่ากริยาเติม ing คืออะไร เวลาอ่านภาษาอังกฤษ เราเจอกริยาเติม ing (V-ing) อยู่เต็มไปหมด แต่คุณรู้หรือไม่ว่า กริยาที่มีใช้หลักการเติม ing เหล่านั้น จะทำหน้าที่แตกต่างกันมาก บางทีจะแสดงความหมายว่า “กำลังทำ” บางทีสามารถทำหน้าที่เหมือนคำนาม และบางทีสามารถใช้ในการขยายนามตัวอื่นอีกด้วย แล้วเราจะแยกแยะอย่างไรว่า V-ing ตัวนี้คืออะไรและควรจะแปลอย่างไร วิธีการคือ เราต้องรู้ว่า V-ing ตัวนั้นทำหน้าที่อะไร หรืออยู่ตำแหน่งไหนในประโยค ที่เราจะแนะนำดังต่อไปนี้

สงสัยกันไหม V-ing คืออะไร มีการใช้งานยังไงบ้าง

1. กริยาเติม ing มีความหมายว่า “กำลังทำ” ใน Continuous Tense ต่าง ๆ

วิธีการสังเกตก็คือ V-ing ในกลุ่มนี้จะตามหลัง V. to be ค่ะ โดยที่ Verb to be นั้นจะไม่มีความหมายใดๆ เพราะเป็นแค่กริยาช่วยที่บอก tense เท่านั้น ไม่ว่า Verb to be นั้นจะอยู่ในรูปของอดีตหรือปัจจุบันก็ตาม เพราะ Continuous Tense เป็นได้ทั้งใน Continuous  Present และ Continuous Past เช่น

  • Listen to me! I’m talking to you. แปลว่า ฟังฉันสิ! ฉันกำลังพูดกับเธออยู่นะ
  • He called me when I was watching TV. แปลว่า เขาโทรหาฉันตอนที่ฉันกำลังดูทีวีอยู่

2. กริยาเติม ing (V-ing) ที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม

กริยาที่เติมท้าย ing หรือเรียกกันว่า V-ing ที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม มีชื่อเรียกตัวมันเองอีกชื่อหนึ่งสุดเท่ คือ “Gerund”  ในเมื่อมันทำหน้าที่เหมือนคำนาม ดังนั้นไม่ว่าคำนามทำหน้าที่อะไร Gerund ก็ทำได้หมด มาดูหน้าที่คำนามกัน

2.1 – Gerund (V-ing) ทำหน้าที่เป็น   “ประธานของประโยค”

เวลาทำหน้าที่เป็นประธาน ส่วนใหญ่ Gerund ก็จะขึ้นต้นประโยค เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • Telling a lie ruins every relationship. 

หมายความว่า การโกหกจะทำลายทุกความสัมพันธ์

  • Washing dishes after dinner is my duty.

 หมายความว่า การล้างจานหลังมื้อเย็นเป็นหน้าที่ของฉัน

โดยปกติ “Tell a lie” หรือ “Wash dishes” เป็นคำกริยา แต่เมื่อเราใช้หลักการเติม ing มันสามารถกลายเป็นคำนามและทำหน้าที่เป็นประธานของประโยคได้ ทีนี้มันจะมีความว่าเหมือนคำนามว่า การโกหก การล้างจาน

2.2 – Gerund (V-ing) ทำหน้าที่เป็น “ส่วนเติมเต็ม (complement)” ของประโยค และตามหลัง Verb to be

หลายคนอาจสงสัยว่าถ้าตามหลัง Verb to be  ก็เหมือน Continuous Tense น่ะสิ แล้วจะสังเกตยังไงล่ะ? วิธีการสังเกตคือ Verb to be ในลักษณะนี้จะเป็นกริยาแท้ และมีความหมายว่า “เป็น, อยู่, คือ”  เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • One of my hobbies is collecting favorite comics. (หนึ่งในงานอดิเรกของฉันคือการสะสมการ์ตูนเรื่องโปรด)

โดยคำว่า “is” หรือ Verb to be ในที่นี้แปลว่า คือ

  • His duty is cleaning the house. (หน้าที่ของเขาก็คือทำความสะอาดบ้าน) โดยมันไม่ได้แปลว่ากำลังทำความสะอาดนะ

2.3 – Gerund (V-ing) ทำหน้าที่เป็น “กรรม” 

ซึ่งอาจจะเป็นกรรมของกริยา หรือกรรมของบุพบทก็ได้ ดังนั้นตำแหน่งของมันก็จะต้องตามหลัง verb หรือ preposition (บุพบท) เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • She enjoys shopping with friends. (เธอสนุกกับการไปช้อปปิ้งกับเพื่อนๆ)
  • We can’t keep on sitting here anymore. (เรานั่งอยู่ที่นี่ต่อไปไม่ได้แล้ว)
  • He took my bag without telling me. (เขาเอากระเป๋าไปโดยไม่บอกฉัน)
  • I avoid talking about this. (ฉันเลี่ยงที่จะพูดเรื่องนี้)

3. V-ing ทำหน้าที่ขยายคำนาม (เปรียบเสมือน adjective)

เมื่อกริยาเติม ing ( V-ing) ที่ขยายคำนาม ซึ่งตำแหน่งของ V-ingก็อาจจะอยู่หน้าคำนาม หรือหลังคำนามที่มันขยายก็ได้  เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • The girl is afraid of the barking dog. 

หมายความว่า เด็กผู้หญิงคนนั้นกลัวหมาที่กำลังเห่า

  • The lady standing behind me in the queue suddenly fainted. 

หมายความว่า ผู้หญิงที่ยืนอยู่ในแถวข้างหลังฉันอยู่ๆก็เป็นลม

ในประโยคเต็มนี้ เรามีประโยคย่อย standing behind me in the queue เป็น relative clause ที่ทำหน้าที่เพื่อขยายนาม lady ที่อยู่ข้างหน้า โดยมีการลดรูปหรือตัด relative pronoun ของคำนามออกไปแล้ว

หลักการเติม ing หลังกริยาที่ผู้เรียนภาษาอังกฤษต้องรู้

เพื่อมาทบทวนกันเกี่ยวกับหลักการเติม -ing ท้ายคำกริยา เพื่อให้ผู้เรียนภาษาอังกฤษสามารถนำไปใช้ในการสอบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ทาง Eng Breaking จึงรวบรวมหลักการเติม ing ท้ายคำกริยา และการเปลี่ยนรูป มีดังต่อไปนี้

หลักการเติม-ing ที่ 1: เติม -ing ท้ายคำกริยาทั่วไป

สำหรับคำกริยาทั่วไป เราสามารถทำการเติม ing ที่ท้ายคำกริยานั้นได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Go → going (ไป)
  • Speak → speaking (พูด)

หลักการเติม-ing ที่ 2:  เติม -ing ท้ายคำกริยาที่ลงท้ายด้วยตัว e

คำกริยาที่ลงท้ายด้วยตัว e ให้ตัด e ออกก่อน แล้วทำการเติม ing เช่น

ตัวอย่างเช่น

  • Use => Using (ใช้)
  • come → coming (มา)
  • Improve => Improving (บำรุง)
  • Change => changing (เปลี่ยนแปลง)
  • Take => Taking (รับ)
  • Drive => Driving (ขับรถ)

อย่างไรก็ตามสำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วย ee, ye และ oe ให้เติม –ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • See => Seeing (มองเห็น)
  • Agree => Agreeing (ตกลง)
  • Dye => Dyeing  (ย้อมสี)
  • Tiptoe => tiptoeing  (เดินย่อง, เดินด้วยปลายเท้า)

6 หลักการเติม -ing ท้ายคำกริยาในถาษาอังกฤษที่ต้องรู้

หลักการเติม-ing ที่ 3: 

เพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีกตัวเวลาเติม ING: คำกริยาพยางค์เดียวที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ และก่อนหน้าพยัญชนะตัวสุดท้ายเป็นสระ 1 ตัว ในรูปแบบ  “สระ + พยัญชนะ” (ยกเว้น พยัญชนะ h, w, x, y) ต้องทำการเพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีก 1 ตัว ก่อน แล้วทำการเติม ing 

ตัวอย่างเช่น

  • Stop → stopping
  • Shop → shopping

อย่างไรก็ตาม สำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ h, w, x, y ให้เติม –ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Fix → fixing (เพราะลงท้ายด้วยพยัญชนะ x )
  • Play → playing (เพราะลงท้ายด้วยพยัญชนะ y)

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย “สระ 2 ตัว + พยัญชนะ”หรือ“พยัญชนะ + พยัญชนะ” ให้เติม –ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Greet → greeting (มีสระ 2 ตัว)
  • Work → working (ลงท้ายด้วยพยัญชนะ 2 ตัว)

หลักการเติม-ing ที่ 4: 

สำหรับคำกริยาที่มี 2 พยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ ก่อนหน้าพยัญชนะตัวสุดท้ายเป็นสระ 1 ตัว และมีการเน้นเสียงหนักที่พยางค์ท้าย เราจะต้องทำการเพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีก 1 ตัวก่อน แล้วค่อยทำตามหลักการเติม ing  

ตัวอย่างเช่น

  • Begin => beginning (เริ่มต้น)
  • Permit => Permitting (อนุญาต)
  • Prefer => Preferring (ชอบ)

โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วยตัวอักษร L และก่อนหน้าตัว L เป็นสระ 1 ตัว ระหว่างภาษาอังกฤษแบบบริติชและภาษาอังกฤษแบบอเมริกันจะมีความแตกต่างกันนิดหนึ่ง คนอเมริกันไม่เพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายอีกตัว ในขณะที่คนบริติชต้องทำการเพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีก 1 ตัวก่อน แล้วทำการเติม ing 

ตัวอย่างเช่น

  • Travel → Travelling (ภาษาอังกฤษแบบบริติช)
  • Travel → Traveling (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน)

*** หมายเหตุ:

สำหรับคำกริยาที่มี 2 พยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ ก่อนหน้าพยัญชนะตัวสุดท้ายเป็นสระ 1 ตัว และมีการเน้นเสียงหนักที่พยางค์ที่หนึ่ง ให้เติม -ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Listen => Listening (ฟัง)
  • Enter => Entering (เข้าสู่)
  • Happen => Happening (เกิดขึ้น)
  • Open => Opening (เปิด)

หลักการเติม -ing ที่ 5: เปลี่ยน “IE” เป็น “Y” แล้วเติม ING 

หลักการนี้จะใช้สำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยน ie เป็น y ก่อน แล้วทำการเติม ing หลังคำกริยาได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Lie → lying
  • Tie → tying

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย “Y” เราสามารถเติม ING เหมือนคำกริยาทั่วไปได้เลย 

ตัวอย่างเช่น: Hurry → Hurrying

หลักการเติม -ing ที่ 6:

สำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ “c” แต่ พยัญชนะ “c” นี้ได้ออกเสียงเป็นเสียง /k/ อย่างเช่นคำกริยา  “Traffic”, “Mimic” và “Panic” เราจะต้องเติมพยัญชนะ “K” ท้ายคำกริยาแล้วค่อยทำการเติม -ing

  • Traffic → trafficking (ค้าขายสิ่งที่ผิดกฎหมาย)
  • Mimic → mimicking (ล้อเลียน)
  • Panic → panicking (ตื่นตระหนก)
  • Picnic => Picnicking (ไปปิกนิก)

ในภาษาอังกฤษหลักการเติม -ing คือง่ายที่สุดแล้วละ เราแค่ต้องเติม -ing ท้ายคำกริยาทั่วไป สำหรับคำกริยาที่มีหลักการเติม -ing พิเศษเราก็ได้รวบรวมมาครบถ้วนให้ผู้เรียนภาษาอังกฤษของ Eng Breaking ในเนื้อหาข้างบนแล้วนะคะ ต้องบอกเลยว่าไม่มีอะไรที่ง่ายกว่านี้อีกแล้ว และเพื่อเป็นการทบทวนและช่วยให้เราจำหลักการเติม -ing ได้เลย เราจัดมาพร้อมแบบฝึกหัดให้เพื่อน ๆ ได้ทำกันนะคะ

แบบฝึกหัดเกี่ยวกับหลักการเติม -ing พร้อมข้อเฉลย

แบบฝึกหัดที่ 1: ใช้หลักการเติม -ing เพื่อเติมคำในช่องว่าง

  1. She avoided (tell) ………………. him about her plans for tonight.
  2. He enjoys (have) ………………. a bath in the evening after a long working day.
  3. She kept (talk) ……………….during the film at the theatre
  4. Do you mind (give) ……………….me a hand please?
  5. She helped me with (carry)………………. my suitcases.
  6. He decided to take up (study)………………. biology at Khon Kaen university
  7. I dislike (wait)……………….. for a long time
  8. She suggested (visit)………….. to the museum in the center of the city.
  9. (Go) …………… to Phuket this weekend is a great idea
  10. I’m keen on (write) …………… new contents for my blog

แบบฝึกหัดที่ 2: เติมคำในช่องว่างเพื่อให้ประโยคสมบูรณ์ 

  1. The children prefer (watch) ……………… TV to (read) ……………… books.
  2. The boys like (play) ……………… games but hate (do) ……………… lessons.
  3. Would you like (go) ……………… now or shall we wait till the end?
  4. I can’t find my favorite book. You (see) ……………… it?
  5. We used (dream) ………………. of a television set when we (be)  ……………… small.
  6. Would you mind (show) ………………  me how (send) ………………  an email?
  7. He always thinks about (go)……………… swimming.
  8. She dislikes (do) ………………  a lot of housework.
  9. My children enjoy (read)  ……………… books.
  10. She looked forward to (see)  ……………… you.

ข้อเฉลย:

แบบฝึกหัดที่ 1:

tellinghavingtalkinggivingcarryingstudying waitingvisitingGoingwriting

แบบฝึกหัดที่ 2:

watching – reading playing – doing to go have …seento dream – were showing – to send going doing reading seeing

ว่าอย่างไรบ้างกับบทความเกี่ยวกับหลักการเติม -ing ลงท้ายคำกริยาที่ Eng Breaking ได้แนะนำมาให้คุณในวันนี้ ง่ายมากเลยใช่ไหมล่ะ แถมยังมีแบบฝึกหัดเกี่ยวกับหลักการเติม -ing เพื่อทบทวนความรู้ท้ายบทเรียนด้วย ง่ายแล้วยิ่งง่ายอีก หากคุณเห็นบทความนี้มีประโยชน์สามารถเก็บไว้เพื่อเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตัวเองได้เลย เราขอให้ทุกคนจะพิชิตภาษาอังกฤษได้นะคะ สำหรับวันนี้ขอไปก่อนแล้วค่ะ

ไม่พลาดกับบทความนี้ :

ความคิดเห็น 635 รายการ

 

[NEW] หลักการเติม -ing ท้ายคำกริยาในภาษาอังกฤษ เข้าใจง่ายมาก | ing คือ – NATAVIGUIDES

หลักการเติม -ing ท้ายคำกริยาในภาษาอังกฤษ เป็นส่วนไวยากรณ์พื้นฐานที่ไม่ยากเลย แต่มีบางคนยังสับสนอยู่ว่าต้องทำการเติม -ing ยังไงให้ถูกต้อง และ กริยาเติม ing นั้นใช้กันยังไง วันนี้ Eng Breaking จะรวบรวมมาให้คุณทั้งหมดข้อสงสัยนี้ในบทความเดียวเลย

กริยาเติม ing (V-ing) คืออะไร

ก่อนอื่นเราจะต้องมาเรียนรู้กันว่ากริยาเติม ing คืออะไร เวลาอ่านภาษาอังกฤษ เราเจอกริยาเติม ing (V-ing) อยู่เต็มไปหมด แต่คุณรู้หรือไม่ว่า กริยาที่มีใช้หลักการเติม ing เหล่านั้น จะทำหน้าที่แตกต่างกันมาก บางทีจะแสดงความหมายว่า “กำลังทำ” บางทีสามารถทำหน้าที่เหมือนคำนาม และบางทีสามารถใช้ในการขยายนามตัวอื่นอีกด้วย แล้วเราจะแยกแยะอย่างไรว่า V-ing ตัวนี้คืออะไรและควรจะแปลอย่างไร วิธีการคือ เราต้องรู้ว่า V-ing ตัวนั้นทำหน้าที่อะไร หรืออยู่ตำแหน่งไหนในประโยค ที่เราจะแนะนำดังต่อไปนี้

สงสัยกันไหม V-ing คืออะไร มีการใช้งานยังไงบ้าง

1. กริยาเติม ing มีความหมายว่า “กำลังทำ” ใน Continuous Tense ต่าง ๆ

วิธีการสังเกตก็คือ V-ing ในกลุ่มนี้จะตามหลัง V. to be ค่ะ โดยที่ Verb to be นั้นจะไม่มีความหมายใดๆ เพราะเป็นแค่กริยาช่วยที่บอก tense เท่านั้น ไม่ว่า Verb to be นั้นจะอยู่ในรูปของอดีตหรือปัจจุบันก็ตาม เพราะ Continuous Tense เป็นได้ทั้งใน Continuous  Present และ Continuous Past เช่น

  • Listen to me! I’m talking to you. แปลว่า ฟังฉันสิ! ฉันกำลังพูดกับเธออยู่นะ
  • He called me when I was watching TV. แปลว่า เขาโทรหาฉันตอนที่ฉันกำลังดูทีวีอยู่

2. กริยาเติม ing (V-ing) ที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม

กริยาที่เติมท้าย ing หรือเรียกกันว่า V-ing ที่ทำหน้าที่เหมือนคำนาม มีชื่อเรียกตัวมันเองอีกชื่อหนึ่งสุดเท่ คือ “Gerund”  ในเมื่อมันทำหน้าที่เหมือนคำนาม ดังนั้นไม่ว่าคำนามทำหน้าที่อะไร Gerund ก็ทำได้หมด มาดูหน้าที่คำนามกัน

2.1 – Gerund (V-ing) ทำหน้าที่เป็น   “ประธานของประโยค”

เวลาทำหน้าที่เป็นประธาน ส่วนใหญ่ Gerund ก็จะขึ้นต้นประโยค เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • Telling a lie ruins every relationship. 

หมายความว่า การโกหกจะทำลายทุกความสัมพันธ์

  • Washing dishes after dinner is my duty.

 หมายความว่า การล้างจานหลังมื้อเย็นเป็นหน้าที่ของฉัน

โดยปกติ “Tell a lie” หรือ “Wash dishes” เป็นคำกริยา แต่เมื่อเราใช้หลักการเติม ing มันสามารถกลายเป็นคำนามและทำหน้าที่เป็นประธานของประโยคได้ ทีนี้มันจะมีความว่าเหมือนคำนามว่า การโกหก การล้างจาน

2.2 – Gerund (V-ing) ทำหน้าที่เป็น “ส่วนเติมเต็ม (complement)” ของประโยค และตามหลัง Verb to be

หลายคนอาจสงสัยว่าถ้าตามหลัง Verb to be  ก็เหมือน Continuous Tense น่ะสิ แล้วจะสังเกตยังไงล่ะ? วิธีการสังเกตคือ Verb to be ในลักษณะนี้จะเป็นกริยาแท้ และมีความหมายว่า “เป็น, อยู่, คือ”  เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • One of my hobbies is collecting favorite comics. (หนึ่งในงานอดิเรกของฉันคือการสะสมการ์ตูนเรื่องโปรด)

โดยคำว่า “is” หรือ Verb to be ในที่นี้แปลว่า คือ

  • His duty is cleaning the house. (หน้าที่ของเขาก็คือทำความสะอาดบ้าน) โดยมันไม่ได้แปลว่ากำลังทำความสะอาดนะ

2.3 – Gerund (V-ing) ทำหน้าที่เป็น “กรรม” 

ซึ่งอาจจะเป็นกรรมของกริยา หรือกรรมของบุพบทก็ได้ ดังนั้นตำแหน่งของมันก็จะต้องตามหลัง verb หรือ preposition (บุพบท) เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • She enjoys shopping with friends. (เธอสนุกกับการไปช้อปปิ้งกับเพื่อนๆ)
  • We can’t keep on sitting here anymore. (เรานั่งอยู่ที่นี่ต่อไปไม่ได้แล้ว)
  • He took my bag without telling me. (เขาเอากระเป๋าไปโดยไม่บอกฉัน)
  • I avoid talking about this. (ฉันเลี่ยงที่จะพูดเรื่องนี้)

3. V-ing ทำหน้าที่ขยายคำนาม (เปรียบเสมือน adjective)

เมื่อกริยาเติม ing ( V-ing) ที่ขยายคำนาม ซึ่งตำแหน่งของ V-ingก็อาจจะอยู่หน้าคำนาม หรือหลังคำนามที่มันขยายก็ได้  เรามีตัวอย่างประโยคเช่น

  • The girl is afraid of the barking dog. 

หมายความว่า เด็กผู้หญิงคนนั้นกลัวหมาที่กำลังเห่า

  • The lady standing behind me in the queue suddenly fainted. 

หมายความว่า ผู้หญิงที่ยืนอยู่ในแถวข้างหลังฉันอยู่ๆก็เป็นลม

ในประโยคเต็มนี้ เรามีประโยคย่อย standing behind me in the queue เป็น relative clause ที่ทำหน้าที่เพื่อขยายนาม lady ที่อยู่ข้างหน้า โดยมีการลดรูปหรือตัด relative pronoun ของคำนามออกไปแล้ว

หลักการเติม ing หลังกริยาที่ผู้เรียนภาษาอังกฤษต้องรู้

เพื่อมาทบทวนกันเกี่ยวกับหลักการเติม -ing ท้ายคำกริยา เพื่อให้ผู้เรียนภาษาอังกฤษสามารถนำไปใช้ในการสอบต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ทาง Eng Breaking จึงรวบรวมหลักการเติม ing ท้ายคำกริยา และการเปลี่ยนรูป มีดังต่อไปนี้

หลักการเติม-ing ที่ 1: เติม -ing ท้ายคำกริยาทั่วไป

สำหรับคำกริยาทั่วไป เราสามารถทำการเติม ing ที่ท้ายคำกริยานั้นได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Go → going (ไป)
  • Speak → speaking (พูด)

หลักการเติม-ing ที่ 2:  เติม -ing ท้ายคำกริยาที่ลงท้ายด้วยตัว e

คำกริยาที่ลงท้ายด้วยตัว e ให้ตัด e ออกก่อน แล้วทำการเติม ing เช่น

ตัวอย่างเช่น

  • Use => Using (ใช้)
  • come → coming (มา)
  • Improve => Improving (บำรุง)
  • Change => changing (เปลี่ยนแปลง)
  • Take => Taking (รับ)
  • Drive => Driving (ขับรถ)

อย่างไรก็ตามสำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วย ee, ye และ oe ให้เติม –ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • See => Seeing (มองเห็น)
  • Agree => Agreeing (ตกลง)
  • Dye => Dyeing  (ย้อมสี)
  • Tiptoe => tiptoeing  (เดินย่อง, เดินด้วยปลายเท้า)

6 หลักการเติม -ing ท้ายคำกริยาในถาษาอังกฤษที่ต้องรู้

หลักการเติม-ing ที่ 3: 

เพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีกตัวเวลาเติม ING: คำกริยาพยางค์เดียวที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ และก่อนหน้าพยัญชนะตัวสุดท้ายเป็นสระ 1 ตัว ในรูปแบบ  “สระ + พยัญชนะ” (ยกเว้น พยัญชนะ h, w, x, y) ต้องทำการเพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีก 1 ตัว ก่อน แล้วทำการเติม ing 

ตัวอย่างเช่น

  • Stop → stopping
  • Shop → shopping

อย่างไรก็ตาม สำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ h, w, x, y ให้เติม –ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Fix → fixing (เพราะลงท้ายด้วยพยัญชนะ x )
  • Play → playing (เพราะลงท้ายด้วยพยัญชนะ y)

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย “สระ 2 ตัว + พยัญชนะ”หรือ“พยัญชนะ + พยัญชนะ” ให้เติม –ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Greet → greeting (มีสระ 2 ตัว)
  • Work → working (ลงท้ายด้วยพยัญชนะ 2 ตัว)

หลักการเติม-ing ที่ 4: 

สำหรับคำกริยาที่มี 2 พยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ ก่อนหน้าพยัญชนะตัวสุดท้ายเป็นสระ 1 ตัว และมีการเน้นเสียงหนักที่พยางค์ท้าย เราจะต้องทำการเพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีก 1 ตัวก่อน แล้วค่อยทำตามหลักการเติม ing  

ตัวอย่างเช่น

  • Begin => beginning (เริ่มต้น)
  • Permit => Permitting (อนุญาต)
  • Prefer => Preferring (ชอบ)

โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วยตัวอักษร L และก่อนหน้าตัว L เป็นสระ 1 ตัว ระหว่างภาษาอังกฤษแบบบริติชและภาษาอังกฤษแบบอเมริกันจะมีความแตกต่างกันนิดหนึ่ง คนอเมริกันไม่เพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายอีกตัว ในขณะที่คนบริติชต้องทำการเพิ่มพยัญชนะตัวสุดท้ายไปอีก 1 ตัวก่อน แล้วทำการเติม ing 

ตัวอย่างเช่น

  • Travel → Travelling (ภาษาอังกฤษแบบบริติช)
  • Travel → Traveling (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน)

*** หมายเหตุ:

สำหรับคำกริยาที่มี 2 พยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ ก่อนหน้าพยัญชนะตัวสุดท้ายเป็นสระ 1 ตัว และมีการเน้นเสียงหนักที่พยางค์ที่หนึ่ง ให้เติม -ing ได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Listen => Listening (ฟัง)
  • Enter => Entering (เข้าสู่)
  • Happen => Happening (เกิดขึ้น)
  • Open => Opening (เปิด)

หลักการเติม -ing ที่ 5: เปลี่ยน “IE” เป็น “Y” แล้วเติม ING 

หลักการนี้จะใช้สำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยน ie เป็น y ก่อน แล้วทำการเติม ing หลังคำกริยาได้เลย

ตัวอย่างเช่น

  • Lie → lying
  • Tie → tying

คำกริยาที่ลงท้ายด้วย “Y” เราสามารถเติม ING เหมือนคำกริยาทั่วไปได้เลย 

ตัวอย่างเช่น: Hurry → Hurrying

หลักการเติม -ing ที่ 6:

สำหรับคำกริยาที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ “c” แต่ พยัญชนะ “c” นี้ได้ออกเสียงเป็นเสียง /k/ อย่างเช่นคำกริยา  “Traffic”, “Mimic” và “Panic” เราจะต้องเติมพยัญชนะ “K” ท้ายคำกริยาแล้วค่อยทำการเติม -ing

  • Traffic → trafficking (ค้าขายสิ่งที่ผิดกฎหมาย)
  • Mimic → mimicking (ล้อเลียน)
  • Panic → panicking (ตื่นตระหนก)
  • Picnic => Picnicking (ไปปิกนิก)

ในภาษาอังกฤษหลักการเติม -ing คือง่ายที่สุดแล้วละ เราแค่ต้องเติม -ing ท้ายคำกริยาทั่วไป สำหรับคำกริยาที่มีหลักการเติม -ing พิเศษเราก็ได้รวบรวมมาครบถ้วนให้ผู้เรียนภาษาอังกฤษของ Eng Breaking ในเนื้อหาข้างบนแล้วนะคะ ต้องบอกเลยว่าไม่มีอะไรที่ง่ายกว่านี้อีกแล้ว และเพื่อเป็นการทบทวนและช่วยให้เราจำหลักการเติม -ing ได้เลย เราจัดมาพร้อมแบบฝึกหัดให้เพื่อน ๆ ได้ทำกันนะคะ

แบบฝึกหัดเกี่ยวกับหลักการเติม -ing พร้อมข้อเฉลย

แบบฝึกหัดที่ 1: ใช้หลักการเติม -ing เพื่อเติมคำในช่องว่าง

  1. She avoided (tell) ………………. him about her plans for tonight.
  2. He enjoys (have) ………………. a bath in the evening after a long working day.
  3. She kept (talk) ……………….during the film at the theatre
  4. Do you mind (give) ……………….me a hand please?
  5. She helped me with (carry)………………. my suitcases.
  6. He decided to take up (study)………………. biology at Khon Kaen university
  7. I dislike (wait)……………….. for a long time
  8. She suggested (visit)………….. to the museum in the center of the city.
  9. (Go) …………… to Phuket this weekend is a great idea
  10. I’m keen on (write) …………… new contents for my blog

แบบฝึกหัดที่ 2: เติมคำในช่องว่างเพื่อให้ประโยคสมบูรณ์ 

  1. The children prefer (watch) ……………… TV to (read) ……………… books.
  2. The boys like (play) ……………… games but hate (do) ……………… lessons.
  3. Would you like (go) ……………… now or shall we wait till the end?
  4. I can’t find my favorite book. You (see) ……………… it?
  5. We used (dream) ………………. of a television set when we (be)  ……………… small.
  6. Would you mind (show) ………………  me how (send) ………………  an email?
  7. He always thinks about (go)……………… swimming.
  8. She dislikes (do) ………………  a lot of housework.
  9. My children enjoy (read)  ……………… books.
  10. She looked forward to (see)  ……………… you.

ข้อเฉลย:

แบบฝึกหัดที่ 1:

tellinghavingtalkinggivingcarryingstudying waitingvisitingGoingwriting

แบบฝึกหัดที่ 2:

watching – reading playing – doing to go have …seento dream – were showing – to send going doing reading seeing

ว่าอย่างไรบ้างกับบทความเกี่ยวกับหลักการเติม -ing ลงท้ายคำกริยาที่ Eng Breaking ได้แนะนำมาให้คุณในวันนี้ ง่ายมากเลยใช่ไหมล่ะ แถมยังมีแบบฝึกหัดเกี่ยวกับหลักการเติม -ing เพื่อทบทวนความรู้ท้ายบทเรียนด้วย ง่ายแล้วยิ่งง่ายอีก หากคุณเห็นบทความนี้มีประโยชน์สามารถเก็บไว้เพื่อเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยตัวเองได้เลย เราขอให้ทุกคนจะพิชิตภาษาอังกฤษได้นะคะ สำหรับวันนี้ขอไปก่อนแล้วค่ะ

ไม่พลาดกับบทความนี้ :

ความคิดเห็น 635 รายการ

 


สรุปคลิปเดียวจบ *V-ing* ใช้ยังไง?


สรุปสั้น การใช้ V ing 4 งานหลักๆ
1) กำลังเกิดขึ้น
2) จวนจะเกิดขึ้น
3) Present Perfect Con.
4) Gerund

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สรุปคลิปเดียวจบ  *V-ing*  ใช้ยังไง?

Adjectives ที่ลงท้ายด้วย \”-ing\” และ \”-ed\” มีความหมายแตกต่างกันอย่างไร ?


มีกริยาอยู่กลุ่มหนึ่งที่จะเติม ing หรือเติม ed ก็ได้ โดยปกติแล้ว กริยากลุ่มนี้จะมีความหมายในตัวว่า ทำให้… ซึ่งเมื่อเติม –ing และ – ed เข้าไปแล้วจะทำให้คำกริยาคำนั้นกลายเป็นคำคุณศัพท์ และทำให้ความหมายของคำนั้นแตกต่างไปอย่างสิ้นเชิง ซึ่งยังมีผู้สับสนและใช้ผิดบ่อยครั้ง เรามาดูกันว่า ทั้งสองแบบนี้มีความหมายและการใช้แตกต่างกันอย่างไร
Adjectives ที่ลงท้ายด้วย \”ing\” และ \”ed\”

Adjectives ที่ลงท้ายด้วย \

[Official MV] ที่ระทึก (Reminder) – Third KAMIKAZE


จากหนุ่มน้อยที่เปิดตัวพร้อมเหล่าเพื่อนอีก 8 คนในนาม KAMIKAZE Newcomer ตอนนี้ได้มีSingle แรกในชีวิตของหนุ่มหน้าใส เขย่าใจสาวจิ้น เพลง Pop สนุกๆ ที่จะทำให้ทุกคน “ชื๊อดือดึ๊ด ชื๊อดือดึ๊ด” ไปพร้อมกัน
Third โตมากับกามิ โตมากับอาร์เอส ที่ระทึก
โทร. 339091 (ค่าบริการนาทีละ 5 บาทไม่รวมค่าดาวน์โหลด)

Written : โปสการ์ด ( Postcard )
Composed/Arranged : มัชฌา งามสุทธิ (Matcha Ngamsutti)
Music :DOGFATHER
Executive Producer :ณรงค์ศักดิ์ ศรีบรรฎาศักดิ์วัชรากรณ์ ( NarongsakSribandasakwatcharakorn AFU), ธานี วงศ์นิวัติขจร( Thanee Wongniwatkajorn )
Producer : ณรงค์ศักดิ์ ศรีบรรฎาศักดิ์วัชรากรณ์ ( NarongsakSribandasakwatcharakorn AFU)
Lyric Producer ธรรศ จันทกูล (ThutzChandakul)

v1
ถ้ารู้อย่างเงี้ยอ่ะเหรอเป็นแฟนกับเธอตั้งนานแล้ว เหมือนว่ารักแล้วได้ผจญภัย
v2
ถ้ารู้อย่างงี้อ่ะนะใจเธอน่ะเปลี่ยนได้หลากหลาย รักแล้วได้ตื่นเต้นแน่นอน
pre
เห็นงุงิ เอ๊ะยังไงอ่ะเดี๋ยวก็มา ดูเธอทำเซ่ะ (ดูเธอทำเซ่ะ)
หายเหงาๆ เอ๊ะยังไงอ่ะเดี๋ยวก็ไป ดูเธอทำอัลไล…… บอกรักกันอีกสักคำ
Hook
จะเก็บเป็นที่ระทึก ไว้นึกถึงเธอ
จะเก็บไว้แบบเพ้อๆ ว่าเคยถูกเธอรัก และหักอกเอา
ก็เลยเหงา ชื๊อดือดึ๊ด ชื๊อดือดึ๊ด แบบมันเหงา ชื๊อดือดึ๊ด ชื๊อดือดึ๊ด…ใจดีเหมือนกัน
จะเก็บเป็นที่ระทึก ไว้นึกถึงเธอ
จะเก็บไว้แบบเพ้อๆ ว่าเคยถูกเธอรัก แลัวก็ทิ้งไป
ก็เลยเหงา ชื๊อดือดึ๊ด ชื๊อดือดึ๊ด แบบมันเหงา ชื๊อดือดึ๊ด ชื๊อดือดึ๊ด….หัวใจทั้งวัน
v3
ก็ขอแค่นี้อ่ะนะถ้าว่างมาหลอกอีกได้ไหม ก็ฉันคนนี้น่ะชอบอันตราย
v4
ไม่รู้ว่ารักเธอแล้วจะมีความสุขรึใจหาย รักแล้วต้องเสี่ยงภัยใช่เลย

[Official MV] ที่ระทึก (Reminder) – Third KAMIKAZE

เมื่อไหร่ที่เติม ed หรือ ing | Tina Academy Ep.14


เมื่อไหร่ที่เติม ed หรือ ing สำหรับคลิปนี้ ตีน่าจะมาไขข้อข้องใจทั้งหมดกับการเติม ing หรือ ed ถ้าใครชอบคลิปนี้กดไลค์ ถ้าใช่กด Subscribe ได้เลยนะค๊าาา
รายละเอียดคอร์สสอนภาษา https://goo.gl/e9Cttr
Subscribe จะได้ไม่พลาดคลิปทุกๆสัปดาห์
https://www.youtube.com/tinathanchannel/
คลิปอันก่อน
https://youtu.be/MiGnRDyFOZ0
Instagram: https://www.instagram.com/tinathanchanel
Facebook: https://www.facebook.com/tinathanchannel
กล้องที่ใช้: https://goo.gl/xxAi9H
ไฟที่ใช้: https://goo.gl/SFguUQ

เมื่อไหร่ที่เติม ed หรือ ing | Tina Academy Ep.14

• 𝚅𝙸𝙴𝚃𝚂𝚄𝙱 • Night Flower // 야화 – Ahn Ye Eun // 안예은 ( Painter of the Night OST )


Mong mọi người đăng ký ủng hộ kênh của mình nhé ♥️
Nếu có sai sót gì mong mọi người cmt góp ý để mình chú ý hơn, cẩn thận hơn trong những video sau. Cảm ơn mọi người vì đã xem video này 🥰
NightFlower AhnYeEun Painter_of_the_Night

• 𝚅𝙸𝙴𝚃𝚂𝚄𝙱 • Night Flower // 야화 - Ahn Ye Eun // 안예은 ( Painter of the Night OST )

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ing คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *