Skip to content
Home » [NEW] สิทธิ์ประกันสังคมกับการทำฟัน และฟันเทียม (ฟันปลอม) | ทําประกันสังคมเอง – NATAVIGUIDES

[NEW] สิทธิ์ประกันสังคมกับการทำฟัน และฟันเทียม (ฟันปลอม) | ทําประกันสังคมเอง – NATAVIGUIDES

ทําประกันสังคมเอง: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Send to Email Address

ชื่อของคุณ

Your Email Address

loading

Post was not sent – check your email addresses!

Email check failed, please try again

Sorry, your blog cannot share posts by email.

[NEW] สิทธิ์ประกันสังคมกับการทำฟัน และฟันเทียม (ฟันปลอม) | ทําประกันสังคมเอง – NATAVIGUIDES

Send to Email Address

ชื่อของคุณ

Your Email Address

loading

Post was not sent – check your email addresses!

Email check failed, please try again

Sorry, your blog cannot share posts by email.


ลาออกจากงานแล้วก็ยังทำประกันสังคมได้ | ผู้ประกันตนมาตรา39 | สมัครประกันสังคมเองได้ไหม?


ลาออกจากงานแล้วก็ยังทำประกันสังคมได้ | ผู้ประกันตนมาตรา39 | สมัครประกันสังคมเองได้ไหม? คลิปนี้มีคำตอบ
ผู้ประกันตนมาตรา39 ลาออกจากงานทำประกันสังคมได้

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ลาออกจากงานแล้วก็ยังทำประกันสังคมได้ | ผู้ประกันตนมาตรา39 | สมัครประกันสังคมเองได้ไหม?

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel


ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กรณีเจ็บป่วย จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ เมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ใน 4 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ส่วนจำนวนเงินชดเชยการขาดรายได้นั้น ประกันสังคมได้กำหนดไว้ ดังนี้
_เมื่อผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หลังจากได้รับการตรวจรักษา ข้อที่ (1) แพทย์พิจารณาให้
นอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ท่านก็จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ วันละ 300 บาท
ข้อที่ (2) ไม่ได้นอนโรงพยาบาล แต่แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัว ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป จะได้รับเงิน
ชดเชยการขาดรายได้ วันละ 200 บาท และข้อที่ (3) ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก และ
แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัวไม่เกิน 2 วัน จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท
3. การรับสิทธิประโยชน์นั้นนะคะ ผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 70 บาทต่อเดือน และทาง
เลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 100 บาทต่อเดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับ
รวมกันแล้ว ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนข้อ (3) มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปีนะคะ
_ สำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 300 บาทต่อเดือน ก็มีสิทธิที่จะได้รับเฉพาะสิทธิ
ประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับรวมกันแล้ว ไม่เกิน 90 วันต่อปี ส่วนสิทธิประโยชน์ตามข้อ (3) ทาง
เลือกนี้จะไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้
4. ค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใครเป็นคนจ่าย
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ สำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นผู้ประกันตนใน
มาตรา 40 จึงสามารถใช้สิทธิในเรื่องค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิที่ตนเองมีได้ ตัวอย่าง เช่น
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิบัตรทองก็ใช้สิทธิบัตรทองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล หรือ
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางก็ใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางได้
ประกันสังคมมาตรา40เงินชดเชยการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel

ประกันสังคมมาตรา 40 คุ้มครองอะไรบ้าง? เสียสิทธิบัตรทองจริงไหม?


ประกันสังคมมาตรา 40 คุ้มครองอะไรบ้าง? เสียสิทธิบัตรทองจริงไหม?
ประกันสังคมมาตรา40เยียวยาโควิด
AnewsTime คุยข่าวชาวบ้าน คนละครึ่งเฟส3 ยิ่งใช้ยิ่งได้ แอปเป๋าตัง G_wallet เยียวยารอบใหม่ ทิศทางเยียวยาโควิดรอบใหม่ กำหนดวันโอนเงินผู้พิการเข้าบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ บัตรคนจน บัตรสวัสดิการแห่งรัฐโฉมใหม่ เป๋าตังสำคัญยังไงทำไมต้องมี วิธีเช็คยอดเงินในเป๋าตัง คนละครึ่งเฟส2มีแน่ เราไม่ทิ้งกัน เงินเยียวยาโควิด ข่าวร้ายกลุ่มร้องทุกข์เราไม่ทิ้งกันจ่อโดนเท ข่าวรัฐแจกเงิน เงินเยียวยาเกษตรกร เงินช่วยเหลือชาวนา ข่าวสังคม ข่าวต่างประเทศ พยากรณ์อากาศ มติคณะรัฐมนตรีล่าสุด มติครมล่าสุด มติครมวันนี้ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐล่าสุด บัตรคนจนล่าสุด ร้านธงฟ้าประชารัฐ คนละครึ่งล่าสุด ข่าวแจกเงินล่าสุด กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง ข่าวเศรษฐกิจ ข่าวการเมือง ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา FootballLifeTH เบี้ยยังชีพคนแก่ เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ เบี้ยยังชีพคนพิการ เบี้ยยังชีพผู้พิการ เงินค่าเลี้ยงดูบุตร กลุ่มเปราะบาง ผู้ประกันตนมาตรา33 ผู้ประกันตนมาตรา39 ผู้ประกันตนมาตรา40 เงินช่วยเหลือชาวนา เงินประกันรายได้เกษตรกร สลากกินแบ่งรัฐบาล สินเชื่อ สินเชื่อธนาคารออมสิน สินเชื่อธกส สินเชื่อธอส สินเชื่อธนาคารกรุงไทย วิธีโหลดเป๋าตัง วิธีโหลดถุงเงิน วิธีเติมเงินเป๋าตัง คดีน้องชมพู ข่าวการท่องเที่ยว ราชกิจจานุเบกษา ข่าวลุงพลป้าแต๋น ข่าวลุงพล แถลงข่าวคดีน้องชมพู หรือนี่เป็นสัญญานปิดคดีน้องชมพู่

สมัครเป็นสมาชิกของช่องนี้เพื่อเข้าถึงสิทธิพิเศษต่างๆ
https://www.youtube.com/channel/UCp6BFzjCoeXO_9lFB_S8IHg/join

พบกับการรายงานข่าวสาร ทุกแวดวงสังคม ทั้งในและต่างประเทศ
👉ติดตามข่าวด่วน ข่าวเด่น ข่าวดัง คลิปสั้นได้ที่ TikTok https://vt.tiktok.com/ZSJeSgvPT/
👉ติดตามข่าวได้อีกช่องทางที่แฟนเพจเฟซบุ๊ก เอนิวส์ไทม์ https://www.facebook.com/103454604757754/posts/124098052693409/

🌹ติดต่อแนะนำการเสนอข่าว ได้ที่
Tel. 0892458533
LINE ID : a.cph979
Email : [email protected]

ประกันสังคมมาตรา 40 คุ้มครองอะไรบ้าง? เสียสิทธิบัตรทองจริงไหม?

ความรู้พื้นฐานประกันสังคม EP2 ประเภทของผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40


มาตรา ๓๓ ให้ลูกจ้างซึ่งมีอายุไม่ต่ำกว่าสิบห้าปีบริบูรณ์และไม่เกินหกสิบปีบริบูรณ์เป็นผู้ประกันตน
ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ประกันตนอยู่แล้วตามวรรคหนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ และยังเป็นลูกจ้างของนายจ้างซึ่งอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ถือว่าลูกจ้างนั้นเป็นผู้ประกันตนต่อไป
มาตรา ๓๙ ผู้ใดเคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา ๓๓ โดยจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่าสิบสองเดือน และต่อมาความเป็นผู้ประกันตนได้สิ้นสุดลงตามมาตรา ๓๘ (๒) ถ้าผู้นั้นประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนต่อไป ให้แสดงความจำนงต่อสำนักงานตามระเบียบที่เลขาธิการกำหนดภายในหกเดือนนับแต่วันสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน
จำนวนเงินที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบที่ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งต้องนำส่งเข้ากองทุนตามมาตรา ๔๖ วรรคสาม ให้เป็นไปตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ทั้งนี้ ให้คำนึงถึงความเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจในขณะนั้นด้วย
ให้ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งนำส่งเงินสมทบเข้ากองทุนเดือนละครั้งภายในวันที่สิบห้าของเดือนถัดไป
ผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่งซึ่งไม่ส่งเงินสมทบหรือส่งไม่ครบจำนวนภายในเวลาที่กำหนดตามวรรคสาม ต้องจ่ายเงินเพิ่มในอัตราร้อยละสองต่อเดือนของจำนวนเงินสมทบที่ยังมิได้นำส่งหรือของจำนวนเงินสมทบที่ยังขาดอยู่นับแต่วันถัดจากวันที่ต้องนำส่งเงินสมทบ สำหรับเศษของเดือนถ้าถึงสิบห้าวันหรือกว่านั้นให้นับเป็นหนึ่งเดือน ถ้าน้อยกว่านั้นให้ปัดทิ้ง
มาตรา ๔๐ บุคคลใดซึ่งมิใช่ลูกจ้างตามมาตรา ๓๓ หรือไม่อยู่ในบังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้อาจสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัตินี้ได้ โดยแสดงความจำนงต่อสำนักงาน ทั้งนี้ คุณสมบัติของบุคคลดังกล่าวให้เป็นไปตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
หลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตน ประเภทของประโยชน์ทดแทนที่จะได้รับตามมาตรา ๕๔ ตลอดจนหลักเกณฑ์และเงื่อนไขแห่งสิทธิในการรับประโยชน์ทดแทน ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
ให้รัฐบาลจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง แต่ไม่เกินกึ่งหนึ่งของเงินสมทบที่ได้รับจากผู้ประกันตนตามวรรคหนึ่ง
======================================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง : PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/

ความรู้พื้นฐานประกันสังคม EP2 ประเภทของผู้ประกันตน ม.33 ม.39 ม.40

เช็คยอดเงินสมทบประกันสังคมแบบง่ายๆจากมือถือ


เช็คยอดเงินสมทบประกันสังคมแบบง่ายๆจากมือถือ จะได้รู้ว่าเราเสีย ให้แก่ประกันสังคมเป็นเงินจำนวนเท่าไหร่แล้ว บางคนก็ไม่รู้บางคนก็ไม่กล้าไปถามที่สำนักประกันสังคม ลองเข้า app นี้ดูนะครับ เผื่อท่านเงินมีเงินเป็นแสนสองแสนแล้ว ผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ.ที่นี้ด้วยครับ ขอบคุณครับ

เช็คยอดเงินสมทบประกันสังคมแบบง่ายๆจากมือถือ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ทําประกันสังคมเอง

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *