Skip to content
Home » [NEW] ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไร? ทำไมเราต้องจ่าย | สรรพากร คือ – NATAVIGUIDES

[NEW] ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไร? ทำไมเราต้องจ่าย | สรรพากร คือ – NATAVIGUIDES

สรรพากร คือ: คุณกำลังดูกระทู้

Table of Contents

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไร หักยังไง

คำถามนึงที่พบบ่อยมากๆ ตอนที่ผมทำงานเป็นที่ปรึกษาบัญชีภาษีให้กับผู้ประกอบการ โดยเฉพาะผู้ประกอบการที่เพิ่งเริ่มต้นทำธุรกิจ ก็คือ เรื่อง “ภาษีหัก ณ ที่จ่าย” หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า “ภาษีหัก ณ ที่จ่าย” แล้ว “ภาษีหัก ณ ที่จ่าย” คืออะไร? หักกันยังไงล่ะ?ทำไมต้องหัก? แล้วหักยังไง? เท่าไหร่? วันนี้จะได้รู้กันครับ

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คืออะไร?

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ก็คือ “เงิน” ที่ผู้จ่ายเงิน “หัก” ไว้ก่อนที่จะจ่ายให้กับผู้รับเงิน แล้วเอาเงินนั้นไปให้กับรัฐ นั่นทำให้ผู้รับเงินไม่ได้รับเงินเต็มจำนวนครับ แต่จะได้เงินบวกกระดาษแผ่นนึงที่เรียกว่า “หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย” ส่วนผู้จ่ายเงินยังต้องจ่ายเต็มนะครับ เพียงแต่จ่ายให้กับผู้รับเงินโดยตรงส่วนนึง แล้วให้สรรพากรอีกส่วนนึง

ภาษีหัก ณ ที่จ่าย มีไว้ทำไม?

ตามหลักเกณฑ์ของกรมสรรพากรบอกไว้ว่า “ภาษีหัก ณ ที่จ่าย” คือตัวช่วยในการลดภาระผู้เสียภาษี ไม่ต้องเสียภาษีเยอะๆ ทีเดียวตอนปลายปีครับ แต่ว่าถ้ามองในอีกแง่ คือ เค้ากลัวเราเบี้ยวเงินภาษีเงินได้ปลายปีมากกว่า กลัวไม่มีตังค์จ่าย ก็เลยทยอยๆ รับเงินไว้เลย ตอนที่เราได้รับเงินนั้นเอง

ใครต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย แล้วนำส่งสรรพากร?

หลายคนอาจจะคิดว่าเฉพาะบริษัท หรือนิติบุคคลเท่านั้นที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย แต่จริงๆไม่ใช่นะครับ การจะหักภาษี ณ ที่จ่ายนั้นขึ้นอยู่กับประเภทรายการที่คุณจ่ายครับ นั่นคือคุณจ่ายค่าอะไร เช่น ถ้าคุณจ่ายเงินเดือน ค่าจ้าง ดังนั้นแม้ว่าคุณจะเป็นบุคคลธรรมดา เช่น เปิดร้านแต่ไม่ได้เป็นนิติบุคคล มีพนักงาน จ้างคนมาเฝ้าร้าน คุณก็ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายค่าจ้างนั้น แล้วนำส่งสรรพากรด้วยนะครับ ถ้าเข้าเกณฑ์ที่ต้องหัก

สรุป ผู้ที่จะต้องจ่ายภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือผู้จ่ายเงินที่เป็นตาสีตาสา ผู้ประกอบการทั่วไป บริษัทห้างร้าน สมาคม จนถึงองค์กรของรัฐ ขึ้นอยู่กับจ่ายเป็นค่าอะไร และผู้ที่ถูกหัก นั้นต้องเสียภาษีหรือไม่

ใครต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย?

“ผู้ที่ต้องเสียภาษีทุกคนต้องถูกหัก” ครับ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ตาม อีกนัยนึงก็คือ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือ ภาษีที่ถ้าคุณไม่เข้าข่ายที่จะต้องเสียภาษี ก็ไม่จำเป็นต้องถูกหักครับ บอกคู่ค้า หรือผู้ที่จ่ายเงินให้คุณด้วยถ้าเค้าไม่รู้ หรือถ้าคุณถูกหักไว้แล้วก็ขอคืนได้ เช่น ประกอบธุรกิจที่ได้  BOI หรือมีรายได้ไม่ถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษี พวกนี้ไม่ต้องเสียภาษี ก็ไม่ต้องถูกหัก ณ ที่จ่ายครับ

สำหรับผู้ประกอบการคุณจะมีโอกาสเป็นทั้งคนที่ไปหักเค้าหรือคนที่ถูกเค้าหักทั้ง 2 กรณี มาดูกันว่าค่าอะไรต้องหักเท่าไหร่กันบ้าง ผมจะยกตัวอย่างมาเฉพาะที่เจอบ่อยๆ ในการทำธุรกิจปกตินะครับ รายการแปลกๆ ไปดูเพิ่มเติมได้ที่ กรณีผู้รับเป็นบุคคลธรรมดา กรณีผู้รับเป็นนิติบุคคล

ต้องหักเมื่อไร?

 เมื่อจ่ายเงินที่เกิน 1,000 บาทในคราวเดียว หรือหลายคราวรวมกันก็แล้วแต่ เช่นถ้าคุณแบ่งจ่ายบริการมูลค่า 1,200 บาท 2 ครั้ง ครั้งละ 600 บาท คุณต้องหักไว้ทั้ง 2 ครั้งด้วย แม้แต่ละครั้งจะไม่เกิน 1,000 บาท

รายการอะไรบ้างที่เราต้องหัก และนำส่ง เมื่อจ่ายให้บุคคลธรรมดา

1. เงินเดือน ค่าจ้าง (เงินได้ประเภทที่ 1)

อันนี้ชัดเจนครับ ถ้าคุณจ่ายเงินให้พนักงานหรือคนที่จ้างทำงานให้ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือสิ่งที่ต้องหักเอาไว้ด้วยนะครับ
ต้องหักเท่าไหร่ : ต้องคำนวณเงินได้ทั้งปี หักค่าลดหย่อนต่างๆ แล้วหักตามอัตราก้าวหน้า เหมือนกับคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครับ ซึ่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประเภทนี้คือประเภทที่เป็นไปได้ตั้งแต่ 0 คือไม่หักเลย หรือเป็นเท่าไหร่ก็แล้วแค่คำนวณครับ วิธีการคำนวณแนะนำให้ถามนักบัญชี หรือฝ่ายบุคคลดูนะครับ หรือถ้ามีเวลาจะเขียนการคำนวณในอีกบทความต่อไป
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.1
ต้องนำส่งสรรพากรภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : ผู้จ่ายทุกคน บุคคลธรรมดาก็ต้องหัก

2. จ้างทำงานให้ (เงินได้ประเภทที่ 2)

ถ้าคุณจ่ายเงินให้บุคคลธรรมดาที่เค้ารับทำอะไรบางอย่างให้ เช่น เป็นนายหน้าขายของ ได้ส่วนแบ่งค่าคอม หรือรับทำ หรือให้บริการอะไรบางอย่าง ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือสิ่งที่ไม่ควรลืมเลยล่ะครับ
ต้องหักเท่าไหร่ : เหมือนข้อ 1 เลยครับ
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง: ภ.ง.ด.1 
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : ผู้จ่ายทุกคน บุคคลธรรมดาก็ต้องหัก

เพิ่มเติม : หลายคนอาจจะคิดในใจว่า รับจ้างทำงานให้ ไม่ใช่รับทำของแล้วหัก 3% หรอ? ตรงนี้แหละครับที่เริ่มจะต้องใช้การตีความและข้อเท็จจริงบางอย่างเพื่อแบ่งระหว่างจ้างทำของกับรับจ้างทำงานให้

* ความแตกต่างระหว่าง “จ้างทำของ” กับ “รับทำงานให้” นั่นแยกได้ไม่ยากมากครับ นั่นคือ จ้างทำของผู้รับจ้างเป็นผู้จัดหาอุปกรณ์ หรือเครื่องมือที่สำคัญในการทำงานเอง ผู้จ่ายเงินไม่ได้หามาให้ อันนี้ถือเป็นการทำธุรกิจแบบนึง ในกรณีนี้หัก 3% ครับ แต่ว่าถ้าเป็นการขายของให้ หรือจ้างเป็นเซลล์ให้ส่วนแบ่งการขาย อันนี้ให้คำนวณเหมือนเค้าเป็นพนักงานเลยครับ เพราะว่าไม่ได้เป็นการใช้อุปกรณ์อะไรเป็นการเฉพาะ *

3. จ้างทำของ / จ้างรับเหมา (เงินได้ประเภทที่ 7/8)

ตามที่ได้อธิบายไว้ด้านบนครับ ถ้าคุณจ้างใครทำอะไรให้ แล้วเค้าต้องใช้อุปกรณ์อะไรของเค้าเอง เช่น จ้างเขียนโปรแกรม เค้าต้องไปหาคอมพิวเตอร์และโปรแกรมที่ใช้เขียนเอง อันนี้ก็ถือเป็นการจ้างทำของ หรือถ้าคุณจ้างออกแบบให้ เค้าต้องไปหาคอมพ์และโปรแกรมออกแบบเองอันนี้ก็ถือเป็นการจ้างทำของ แต่ถ้าคุณมีอุปกรณ์อะไรให้ครบครั้น แล้วให้เค้าออกแบบให้เฉยๆ อันนี้ถือว่าเป็นการจ้างทำงานให้ (เงินได้ประเภทที่ 2) ฟังดูไม่ยากใช้มั้ยครับ? แบ่งง่ายๆ ว่าใครให้ใช้อุปกรณ์ที่จำเป็นในการทำงานนั้นๆ ให้สำเร็จ แล้วอย่าลืมว่าภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือสิ่งที่ต้องหักเอาไว้ด้วยล่ะครับ

ต้องหักเท่าไหร่ : 3%
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.3
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

4. จ้างบริการวิชาชีพอิสระ (เงินได้ประเภทที่ 6)

คุณอาจจะต้องจ้างผู้สอบบัญชี หรือทนายความบ้างในการทำธุรกิจ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประเภทนี้คือประเภทที่คุณห้ามลืมเลยล่ะ
ต้องหักเท่าไหร่ : 3%
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.3
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

5. ค่าเช่า (เงินได้ประเภทที่ 5)

ถ้าคุณเช่าออฟฟิศจากบุคคลธรรมดา ภาษีหัก ณ ที่จ่าย คือสิ่งที่คุณห้ามลืมนะครับ
ต้องหักเท่าไหร่ : 5%
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.3
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

เพิ่มเติม: คุณอาจจะเคยเจอว่าผู้ให้เช่าเค้าจะรับเงินเต็มๆ ไม่ให้หัก ณ ที่จ่าย!! อันนี้เป็นเรื่องน่าลำบากใจมากครับ คุณมี 3 ตัวเลือกที่จะทำ
1) คุณเป็นผู้ออกภาษีแทนให้ แล้วนำส่งแบบตามปกติต่อไป แต่ก็เหมือนกับค่าเช่าคุณแพงขึ้นไปอีกประมาณ 5% แต่ธุรกิจคุณจะปลอดภัยจากค่าปรับภาษี และไร้จุดอ่อนไม่ให้สรรพากรโจมตีได้
2) หาที่เช่าใหม่ นี่มันไม่ถูกต้อง!! ชั้นไม่ออกภาษีให้หรอก!
3) นิ่งๆ ไม่หักก็ไม่หัก เงียบๆ ไว้จะเลือกทางไหนก็แล้วแต่คุณแล้วกันครับเมื่อจ่ายให้นิติบุคคล

6. จ้างทำของ/จ้างรับเหมา/บริการต่างๆ (เงินได้ประเภทที่ 7/8)

อันนี้เป็นกรณีเกิดขึ้นบ่อยสุดแล้วครับ ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประเภทนี้คือประเภทที่แตกต่างจากประเภทอื่นๆ ซึ่งสำหรับบริการธุรกิจต่างๆ หัก 3% ใช้กันจนจะลืมว่ามีอัตราอื่นๆ กันแล้ว
ต้องหักเท่าไหร่ : 3%
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.53
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

7. ค่าเช่า (เงินได้ประเภทที่ 5)

ถ้าคุณเช่าออฟฟิศจากนิติบุคคล อันนี้ก็เหมือนๆ กับเช่าจากบุคคลธรรมดาแหละครับ ต่างกันแค่แบบ แล้วภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประเภทนี้คือสิ่งที่คุณห้ามลืมเลยล่ะครับ
ต้องหักเท่าไหร่ : 5%
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.53
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

8. ค่าโฆษณา (เงินได้ประเภทที่ 8)

ถ้าคุณจ้างบริษัทโฆษณาต่างๆ ให้โฆษณาให้ คุณต้องหัก ณ ที่จ่ายดัวยนะครับ แต่อัตราอาจจะแปลกๆ กว่าอันอื่นๆ หน่อย ซึ่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประเภทนี้คือประเภทที่ถูกหักเพียง 2% เท่านั้น
ต้องหักเท่าไหร่ : 2%
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.53
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

9. ค่าขนส่ง (เงินได้ประเภทที่ 8)

ถ้าคุณจ้างบริษัทขนส่ง “ไม่สาธารณะ” ที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการขนส่ง ซึ่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย ประเภทนี้คือประเภทที่ต้องหักแค่ 1% นะครับ อย่าหัก 3% เดี๋ยวของคุณจะไปไม่ถึงปลายทาง
ต้องหักเท่าไหร่ : 1%
แบบภาษีที่ต้องใช้นำส่ง : ภ.ง.ด.53
ต้องนำส่งภายใน : วันที่ 7 ของเดือนถัดไป หรือวันที่ 15 หากยื่นออนไลน์ ถ้าติดวันหยุดก็เป็นวันทำการถัดไป
ผู้ที่ต้องหัก : บริษัท ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล

เรียบเรียง โดย ภีม เพชรเกตุ

ผู้ก่อตั้งและผู้บริหารของโปรแกรมบัญชีออนไลน์ PEAK จากโครงการ True Incube ในกลุ่มทรู คอร์ปอเรชั่น, ชนะเลิศโครงการ Angel in the City 2014 ขององค์การส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ, Microsoft BizSpark Plus Partner, และได้รับทุนสนับสนุนการพัฒนาจากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ

โปรแกรมบัญชีออนไลน์ PEAK ช่วยให้ธุรกิจคุณไปได้ไวและไกลกว่า
ท่านสามารถทดลองใช้งานได้ที่ ทดลองใช้ฟรี

[NEW] Impairment ด้อยค่าทรัพย์สิน อย่างไรให้ถูกหลักสรรพากร | สรรพากร คือ – NATAVIGUIDES

Impairment ด้อยค่าทรัพย์สิน
อย่างไรให้ถูกหลักสรรพากรค่ะ

 

การด้อยค่าของสินทรัพย์
(
Impairment
of assets) ในทางบัญชี

        การด้อยค่าของสินทรัพย์
เมื่อกิจการใช้งานสินทรัพย์มาระยะหนึ่ง ต่อมามีการเปลี่ยนแลงเกิดขึ้น
ทั้งจากภายในหรือภายนอกของกิจการ
จนเป็นสาเหตุให้มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน
แสดงว่าสินทรัพย์เกิดการด้อยค่า (Impairment) กรณีดังกล่าว
มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการด้อยค่าของสินทรัพย์ (กำหนดให้ใช้ปี 2554) ได้กำหนดไว้ว่า
สินทรัพย์จะเกิดการด้อยค่าเมื่อมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน
ดังนั้น  

        ถ้าสินทรัพย์มีการด้อยค่าเกิดขึ้น
มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนจะเป็นตัวกำหนดให้กิจการต้องลดมูลค่าตามบัญชี
ให้มีจำนวนเท่ากับมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน
สำหรับมูลค่าที่ลดลงให้รับรู้เป็นผลขาดทุนจากการด้อยค่า

        มูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืน
(Recoverable
amount : RA) หมายถึง มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขายสินทรัพย์
หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด หรือมูลค่าจากการใช้ของสินทรัพย์แล้วแต่จำนวนใดจะสูงกว่า

        มูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนในการขาย
(Fair
value less costs to sell or Net fair value : NFV) หมายถึง
จำนวนที่จะได้รับจากการขายสินทรัพย์หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดหักด้วยต้นทุนการขายินทรัพย์นั้น
โดยที่ผู้ซื้อกับผู้ขายสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็นอิสระในลักษณะของผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกัน
ในขณะที่ทั้งสองฝ่ายมีความรอบรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน

        มูลค่าจากการใช้
(Value
in use : VIU) หมายถึง
มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่าจะได้รับ
จากการใช้สินทรัพย์หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด

        มูลค่าตามบัญชี
(Carrying
amount : CA) หมายถึง มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดในอนาคตที่คาดว่าจะได้รับ
จากการใช้สินทรัพย์หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด

        ผลขาดทุนจากการด้อยค่า
(Loss
in impairment) หมายถึง
จำนวนมูลค่าตามบัญชีที่สูงกว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์
หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด

        ต้นทุนในการขาย
( Cost
to sell or costs of disposal) หมายถึง
ต้นทุนส่วนเพิ่มที่เกี่ยวข้องดดยตรงกับการจำหน่ายสินทรัพย์หรือหน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสดซึ่งไม่รวมต้นทุนทางการเงินและค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้

        หน่วยสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดเงินสด
(Cash
generating Unit : CGU) หมายถึง
สินทรัพย์กลุ่มที่เล็กที่สุดที่สามารถระบุได้ว่าการใช้กลุ่มสินทรัพย์ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง
จะก่อให้เกิดกระแสเงินสดรับ
ซึ่งโดยส่วนใหญ่เป็นอิสระจากกระแสเงินสดรับที่เกิดจากสินทรัพย์อื่นหรือกลุ่มสินทรัพย์อื่น

แหล่งอ้างอิง
: หนังสือการบัญชีชั้นกลาง 1 ( ผศ. ทิพสุดา
คมวงศ์วิวัฒน์ )

https://www.pangpond.co.th/p=4405

 

การด้อยค่าของทรัพย์สินในทางภาษีอากร

1. หลักการตีราคาทรัพย์สินในทางภาษีอากร

        1.1
ตามมาตรา 65 ทวิ (3) แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
ต้องรับรู้มูลค่าของทรัพย์สินตามมราคาที่พึงซื้อทรัพย์สินนั้นได้ตามปกติ
หรือมูลค่าต้นทุนเดิม (Historical Cost)

        1.2
ในกรณีที่มีการตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น
ห้ามมิให้นำราคาที่ตีราคาเพิ่มขึ้นมารวมคำนวณกำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ
ส่วนทรัพย์สินรายการใดมีสิทธิหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ก็ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในการคำนวณกำไรสุทธิ
หรือขาดทุนสุทธิตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข
และอัตราเดิมที่ใช้อยู่ก่อนตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น
โดยให้หักเพียงเท่าที่ระยะเวลา และมูลค่าต้นทุนที่เหลืออยู่สำหรับทรัพย์สินนั้นเท่านั้น

        1.3
ตามมาตรา 65 ตรี (17) แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดห้ามมิให้นำค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาต่ำลง
ทั้งนี้ ภายใต้บังคับมาตรา 65 ทวิ (6) แห่งประมวลรัษฎากร มาถือเป็นรายจ่าย ในการคำนวณกำไรสุทธิ
หรือขาดทุนสุทธิ


2.
หลักเกณฑ์ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ
(มาตรา 65 ทวิ (6) แห่งประมวลรัษฎากร)

        2.1
การตีราคาสินค้าคงเหลือให้นวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
ให้คำนวณตามราคาทุนหรือราคาตลาด แล้วแต่อย่างใดจะน้อยกว่า
และให้ถือราคานี้เป็นราคาสินค้าคงเหลือยกมาสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ด้วย

        2.2
การคำนวณราคาทุนดังกล่าว เมื่อได้คำนวณตามหลักเกณฑ์ใด ตามวิชาการบัญชี
ให้ใช้หลักเกณฑ์นั้นตลอดไป
เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิบดีจึงจะเปลี่ยนหลักเกณฑ์ได้

3.
การตั้งสำรองหรือค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สิน

        การตั้งสำรองหรือค่าเผื่อการด้อยค่าของทรัพย์สินทุกประเภท
เข้าลักษณะเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (1) แห่งประมวลรัษฎากร เว้นแต่ในบางกิจการ
ได้แก่ บริษัทประกันชีวิต บริษัทประก้นวินาศภัย และสถาบันการเงิน เท่านั้น

 

        ดังนั้น สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป
ไม่มีหลัก Impairment ด้อยค่าทรัพย์สิน ให้ใข้ได้โดยถูกหลักสรรพากร
แต่อย่างใด ต้องถือปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามที่กฎหมายกำหนดไว้ล้วดังกล่าวเท่านั้น 


เสียภาษี!!! ดีหรือไม่อย่างไร ไขข้อข้องใจกับกรมสรรพากร


เพราะสิ่งที่หนีไม่ได้ คือความตาย และภาษี!!แต่ถ้าเข้าใจอย่างถูกต้องก็ไม่ใช่เรื่องน่ากลัวอย่างที่คิด
อายุน้อยร้อยล้านบุกกรมสรรพากร ไปไขข้อข้องใจเกี่ยวกับภาษี ว่าการเข้าระบบมีผลดีต่อธุรกิจอย่างไร และสามารถช่วยขยายโอกาสทางธุรกิจให้เติบโตไปได้ไกลยิ่งขึ้นได้อย่างไรบ้าง เพื่อเป็นแนวทางให้กับนักธุรกิจ ได้เตรียมพร้อมก้าวไปสู่ปี 2020 ที่กำลังจะมาถึง!!
ติดตามเวอร์ชั่นเต็ม อายุน้อยร้อยล้าน EP.130 (Special Episode) | กรมสรรพากร https://youtu.be/nboh6eQ0Dg

ติดตามเพิ่มเติมที่ได้
Website : ryounoi100lan.com http://bit.ly/2LdmyuV
Facbook : อายุน้อยร้อยล้าน http://bit.ly/2zvF8c1
Youtube : อายุน้อยร้อยล้าน http://bit.ly/2YnwtmG
IG IGTV : ryounoi100lan http://bit.ly/2UFdwKK
Line : @ryounoi100lan http://bit.ly/2Tq0oMH
Soundcloud : http://bit.ly/2zrtuyP
สนใจติดต่อโฆษณา
คุณรัตน์ : 0840777008
Email : [email protected]
อายุน้อยร้อยล้าน TheSpecial กรมสรรพากร

Copyright© MUSHROOM GROUP CO.,LTD

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

เสียภาษี!!! ดีหรือไม่อย่างไร ไขข้อข้องใจกับกรมสรรพากร

หนีภาษี จะรอดไหม กรมสรรพากรรู้ได้อย่างไรว่าเราไม่ได้เสียภาษี หรือหนีภาษี


หนีภาษี จะรอดไหม กรมสรรพากรรู้ได้อย่างไรว่าเราไม่ได้เสียภาษี หรือหนีภาษี
การให้ความร่วมมือกับการตรวจสอบกับกรมสรรพากร เป็นสิ่งที่ดีที่สุด
และการเสียภาษีให้ถูกต้องคือ สิ่งที่ดีที่สุด
สาระน่ารู้ เกี่ยวกับธุรกิจ การตลาด การเงิน บัญชี ภาษี ฯลฯ ติดตามได้ทางช่องนี้เลยครับ
หนีภาษี อายุความ
หนีภาษี ความผิด
ติดตาม
อาจารย์คิตตี้ พาไปกิน
https://www.youtube.com/playlist?list=PLw8w9sG9PsQ58sK2RuUkirgOGTDv1TG1
การใช้งานลูกคิดจีน
https://www.youtube.com/playlist?list=PLw8w9sG9PsT9nWuo3UBr_Ok83mfDGd6A
การใช้งานเครื่องคิดเลข Hewlett Packard
https://www.youtube.com/playlist?list=PLw8w9sG9PsS43NoE4MQNDN3dI69Dq7yV
การใช้งานเครื่องคิดเลข Texas Instruments BA II Plus
https://www.youtube.com/playlist?list=PLw8w9sG9PsRw5sueK8YBf4OVQFog7kdn
รีวิว ปากกา ทุกชนิด และอุปกรณ์เครื่องเขียน
https://www.youtube.com/playlist?list=PLw8w9sG9PsRqun3_SUyJy7nEiX56UZC_
Microsoft Excel เพื่องานการเงิน
https://www.youtube.com/playlist?list=PLw8w9sG9PsQUv8gR8C9bC_fBHZ8FnKai
Kinemaster ตัดต่อคลิปวีดีโอ
https://www.youtube.com/playlist?list=PLLABxNlO7E1mkzZEn5LgvbFMdGE_On_27
การใช้งาน Lightroom CC และ Lightroom Classic
https://www.youtube.com/playlist?list=PLLABxNlO7E1l3PBCorGzPidSEjVR6NjDO
การใช้งาน Photoshop CC
https://www.youtube.com/playlist?list=PLLABxNlO7E1nlJMdr09wqtRoHp6rsWmOy
ภาษี เรื่องใกล้ตัว
https://www.youtube.com/playlist?list=PLB26QpyGRMywoeq3TDhqkaXiVRo9cwtG
เรื่องน่ารู้ทางธุรกิจ
https://www.youtube.com/playlist?list=PLB26QpyGRMywsjXeSMLjrtm16NElIFos5
ท่านผู้ชมสามารถติดตามได้ทาง Youtube หลากหลายช่อง ดังนี้:
รีวิวทุกอย่าง กิน เที่ยว วิชาการ ฯลฯ
https://www.youtube.com/channel/UCjYmL7RFky8uWxDP0enVhw
ตัดต่อวีดีโอ แต่งภาพ ทําคลิป ด้วย Adobe CC ฯลฯ:
https://www.youtube.com/channel/UCqrKZNJRw0s8ddPKzP5g8rA
สาระน่ารู้สําหรับธุรกิจ การตลาด การเงิน ภาษี ฯลฯ
https://www.youtube.com/channel/UCzE6t4V4OFMGWCufSp6hP3g
Stamp collector / Philatelist สะสมแสตมป์มือใหม่
https://www.youtube.com/channel/UCsQERL1A4ch5d5Kw_QGIRvg
พระคํา นําชีวิต พระคําหนุนใจคริสเตียน
https://www.youtube.com/channel/UCxn6lRe_n9iD2CNr1QQgbsg
เรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง
https://www.youtube.com/channel/UC_F3lskMbLxaqGTgECVGRqg
เรียนคณิตศาสตร์ด้วยตัวเอง
https://www.youtube.com/channel/UCIbzSlWGiY3ma2qneJEvWmQ
หรือติดตามทาง Facebooks:
Facebook: https://www.facebook.com/kittykittiphun
Page: https://www.facebook.com/kittiphun/
Group: https://www.facebook.com/groups/kittiphun/
อาจารย์คิตตี้ พาไปกิน: https://www.facebook.com/kittyeating
แนะนำร้านอาหารอร่อย:
https://www.facebook.com/groups/kittyeating/
รีวิววันละร้าน: https://www.facebook.com/reviewonelalan
อาจารย์คิตตี้ สอนธุรกิจ: https://www.facebook.com/ajkittybus/
หรือติดตามทาง Instgram 3 บัญชี:
kittiphunkhongsawatkiat / kittyeating / kittysmm
Twitter: kittykittiphun
Line id: @kittiphun
Linkedin: https://www.linkedin.com/in/kittiphunkhongsawatkiata6251b52
Web Sites:
https://kittiphunkhong.wix.com/seosmm
https://kittiphunkhong.myportfolio.com/
https://kittiphun.wordpress.com

หนีภาษี จะรอดไหม กรมสรรพากรรู้ได้อย่างไรว่าเราไม่ได้เสียภาษี หรือหนีภาษี

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร


สร้างขึ้นมาเพื่อแบ่งปันความรู้ด้านบัญชี ภาษี ประกันสังคม การจดทะเบียนการค้า การจดทะเบียนพาณิชย์ สอนการทำบัญชี ครอบคลุมทั้งระบบ

บุคคลธรรมดาที่มีรายได้แบบไหนที่ต้องยื่นภาษีให้สรรพากร

เก็บภาษี e-Service – ภาษีตัวใหม่! ที่สรรพากรจะเก็บจากผู้ให้บริการต่างประเทศในโลกแพลตฟอร์มและออนไลน์


อัพเดทคลิปแก้ไขครับ (คลิปเก่าอัพผิด อายจัง)…
เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2563 ครม. ได้เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลรัษฎากรฯ จัดเก็บภาษี eService หรือเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากแพลตฟอร์มดิจิทัลจากต่างประเทศ
โดย ภาษี eservice คือ วิธีการจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) จากธุรกิจต่างประเทศที่ไม่ได้จดทะเบียนประกอบกิจการในประเทศไทย แต่มีการให้บริการในประเทศไทย (เรียกสั้นๆ ว่า “มีรายได้”) โดยการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์หรือเทคโนโลยี จึงมีหน้าที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจากรายได้ในส่วนนี้ให้กับประเทศไทยนั่นเองครับ
ถ้าให้ผมสรุปเป็นภาษาชาวบ้าน ภาษีตัวนี้คือ การเก็บ VAT จากธุรกิจต่างประเทศที่มีให้บริการผ่านเทคโนโลยีมาที่ประเทศไทยนั่นเองครับ โดยส่วนที่เหลือสามารถอ่านได้ที่บทความ https://taxbugnoms.co/eserviceisvatforeign/ ครับผม
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีeservice ภาษีออนไลน์ ภาษีต่างประเทศ แพลตฟอร์มต่างประเทศ สรรพากร อิเล็กทรอนิกส์
กด Subscribed เป็นกำลังใจให้กันด้วยนะจ๊ะ
ติดตามช่องทางอืนๆของพรี่หนอมได้ที่
FB : http://www.FB.com/TAXBugnoms
Twitter : https://twitter.com/TAXBugnoms
Podcast : http://taxbugnoms.podbean.com/
Website : https://taxbugnoms.co/

เก็บภาษี e-Service - ภาษีตัวใหม่! ที่สรรพากรจะเก็บจากผู้ให้บริการต่างประเทศในโลกแพลตฟอร์มและออนไลน์

สรรพากรพิจารณา 2 แนวทางลดภาษีบุคคลธรรมดา 10%


นายเอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพากร เปิดเผยถึงการดำเนินนโยบายหาเสียงลดภาษีบุคคลธรรมดา 10% ของพรรคพลังประชารัฐว่า แนวทางการปรับลดภาษีมี 2 แนวทางคือ

หัก 10% จากอัตราการจัดเก็บภาษีบุคคลธรรมดาจากปกติที่เก็บในอัตราก้าวหน้าตั้งแต่ 535% โดยตรง เช่น ผู้ที่ต้องจ่ายภาษีในอัตรา 35% ลด 10% ก็จะเหลือ 25%

หรืออีกแนวทางหนึ่งคือ ลด 10% ของอัตราเดิม เช่น ผู้ที่ต้องจ่าย 35% ได้ลด 10% ของ 35% คือได้ลด 3.5% แต่ขณะนี้ยังไม่ได้ข้อสรุป

อย่างไรก็ตาม หากลดภาษีจริงจะกระทบรายได้ของกรมและอาจกระทบต่อเสถียรภาพทางการคลัง เนื่องจากปัจจุบันภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้ถึง 400,000 ล้านบาทต่อปี ขณะที่นโยบายหาเสียงลดภาษีแม่ค้าออนไลน์ 2 ปีนั้น กำลังศึกษาเพราะการยกเว้นภาษีต้องสร้างความเป็นธรรมให้แม่ค้าทั้งออนไลน์และออฟไลน์

รายละเอียดเพิ่มเติม https://morningnews.bectero.com/economy/26Jul2019/148306

เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News)26 กรกฎาคม 2562
ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารได้ก่อนใครได้ที่นี่
เรื่องเล่าเช้านี้.com : https://morningnews.bectero.com
facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3
Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3
Official LINE : @ruenglao

สรรพากรพิจารณา 2 แนวทางลดภาษีบุคคลธรรมดา 10%

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ สรรพากร คือ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *