Skip to content
Home » [NEW] ผักเชียงดา ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเด่นๆและข้อมูลงานวิจัย | เชียง ไฮ – NATAVIGUIDES

[NEW] ผักเชียงดา ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเด่นๆและข้อมูลงานวิจัย | เชียง ไฮ – NATAVIGUIDES

เชียง ไฮ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

    ชื่อสมุนไพร  ผักเชียงดา
    ชื่ออื่น ๆ/ชื่อท้องถิ่น  ผักเชียงดา ผักเซ่งดา  ผักเจียงดา (ภาคเหนือ) ผักจินดา (ภาคกลาง) ผักว้น  ผักม้วนไก่  ผักเซ็ง  เครือจันปา (ภาคอื่น ๆ)
    ชื่อวิทยาศาสตร์   Gymnema inodorum (Lour.) Decnr.
    ชื่อสามัญ  Gymnema
    วงศ์   Asclepiadaceae

    ผักเชียงดาเป็นพืชที่พบได้ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่น อินเดีย พม่า ศรีลักา และทางภาคเหนือของไทย สำหรับประเทศไทยผักเชียงดาจะพบได้ในบริเวณภาคเหนือ ที่มีอากาศหนาว ซึ่งมีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ แต่ที่พบมากก็คือ ผักเชียงดาในสายพันธุ์Gymnema inodorum ซึ่งในภาคเหนือนั้นผักเชียงดา เป็นผักพื้นบ้านที่ชาวเหนือในแถบจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน และพะเยา นิยมปลูกไว้หน้าบ้านเพื่อนำยอดไปประกอบอาหาร  ส่วนในต่างประเทศมีรายงานว่าพบผักเชียงดาในประเทศที่ประเทศอินเดีย ศรีลังกา เวียดนาม มาเลเซีย ญี่ปุ่น จีน และแอฟริกา

    รูปแบบและขนาดวิธีใช้

    ในการใช้ผักเชียงดาตามตำรายาพื้นบ้าน คือ ใช้รักษาเบาหวาน ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ให้รับประทานเป็นผักสดอย่างน้อยวันละประมาณ 50-100 กรัม หรือ 1 ขีด สามารถช่วยป้องกันและบำบัดโรคเบาหวานได้ นำใบมาตำให้ละเอียดใช้พอกบนกระหม่อมรักษาไข้หวัด แก้ไอ ขับเสมหะได้ ใช้ใบแก่ของผักเชียงดามาเคี้ยวกินสามารถรักษาอาการท้องผูกได้ ใบสดใช้ตำพอกฝีหรือพอกบริเวณที่เป็นเริม งูสวัดแก้ปวดแสบ ปวดร้อน ส่วนรูปแบบและขนากการใช้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันระบุว่า การศึกษาในคนพบว่าใช้สารออกฤทธิ์ประมาณ ๔๐๐-๖๐๐ มิลลิกรัมต่อวัน หรือประมาณ 8-12 กรัมของผงแห้งต่อวันโดยกินครั้ง 4 กรัม วันละ 2-3 ครั้งก่อนอาหารให้ผลในการควบคุมและรักษาโรคเบาหวานได้ดี ส่วนที่ประเทศสหรัฐอเมริกาแคปซูลผักเชียงดา ในรูปแบบผงแห้งที่มีการควบคุมมาตรฐานของกรดไกนีมิก (gynemic acid) ต้องมีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 หรือ 1 แคปซูลใหญ่จะต้องมีผงยาของเชียงดาอยู่ 500 มิลลิกรัม

    ผักเชียงดา จัดเป็นไม้เถาเลื้อย มีอายุข้ามปี ความยาวของเถาขึ้นอยู่กับอายุ ลำต้นเป็นสีเขียว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5-5 เซนติเมตร ทุกส่วนที่อยู่เหนือดินของต้นจะมีน้ำยางสีขาวคล้ายน้ำนม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกจากข้อเรียงเป็นคู่ตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรีหรือรูปกลมรี ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 9-11 เซนติเมตร และยาวประมาณ 14.5-18.5 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้ม ท้องใบมีสีอ่อนกว่า ผิวใบเรียบไม่มีขน ก้านใบยาวประมาณ 3.5-6 เซนติเมตร ส่วนดอกผักเชียงดาออกดอกเป็นช่อแน่นสีขาวอมเขียวอ่อน ดอกย่อยมีขนาดเล็กกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-6 มิลลิเมตร และผลของผักเชียงดาจะออกเป็นฝักคู่

    ผักเชียงดาขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ดและปักชำแต่นิยมขยายพันธุ์โดยการปักชำกิ่ง มากกว่าผักเชียงดาเจริญเติบโตได้ในดินร่วนที่มีการระบายน้ำได้ดี โดยในฤดูฝนจะให้ผลผลิตมากกว่าฤดูอื่นๆ ส่วนวิธีการขยายพันธุ์ผักเชียงดามีดังนี้

    การเตรียมต้นกล้าที่จะทำการขยายพันธุ์โดยการใช้กิ่งคู่ใบที่ 4 – 5 ขึ้นไป สีของกิ่งเป็นสีเขียวมีความยาวกิ่งประมาณ 2 – 4 นิ้ว ใช้ 1 – 2 ข้อต่อ 1 ต้น นำมาแช่ในน้ำยาเพิ่มรากและยากันราประมาณ 5 นาที และผึ่งทิ้งไว้ให้หมาด ๆ แล้วปักลงในกระถาง หรือถุงดำขนาด 8 x 12 นิ้ว หรือในแปลงพ่นหมอกที่มีวัสดุชำ คือ ถ่านแกลบ ผสมทราย หรือถ่านแกลบอย่างเดียว ปักชำทิ้งไว้ประมาณ 45 วัน เมื่อมีรากขึ้นย้ายลงถุงชำที่ใส่ดินขนาด 4 x 7 นิ้ว นำไปไว้ในเรือนเพาะชำอีกประมาณ 45 วัน จึงย้ายกล้าลงปลูกในแปลงใหญ่ต่อไป

    การเตรียมดิน การเตรียมดินเป็นการช่วยกำจัดวัชพืช และถือเป็นสิ่งสำคัญในการปลูกผักเชียงดาเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง การเตรียมดินที่ดีควรมีการไถดะ และทิ้งตากดินไว้ 5-7 วัน จากนั้นจึงไถแปร 1 – 2 ครั้ง เพื่อย่อยดินให้แตกละเอียดไม่เป็นก้อนใหญ่ ก่อนการทำร่องหรือแถวปลูกควรมีการหว่านปุ๋ยคอก อัตราประมาณ 1 ตันต่อไร่ก่อนการไถแปร เพื่อเป็นการปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีขึ้นสามารถอุ้มน้ำได้นานขึ้น และยังเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้กับดิน ถ้าดินมีค่าความเป็นกรดด่างต่ำกว่า 5.5 ให้หว่านปูนขาวอัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วพรวนกลบ

    การปลูก เตรียมแปลงปลูกขนาด 1 x 1.5 เมตร (ความยาวแล้วแต่พื้นที่) ใช้ระยะระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ระหว่างแถว 75 เซนติเมตร ปลูกหลุมละ 1 ต้น จ้านวนต้นต่อไร่ประมาณ 4,200 ต้น ปลูกเป็นแถวคู่ ให้น้ำ 3 – 5 วันต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและความชื้นในดิน ควรรองก้นหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักอัดเม็ดประมาณครึ่งกระป๋องนมข้น คลุกดินก่อนท้าการปลูกและหลังจากปลูกเสร็จ ให้ใช้วัสดุคลุมดิน ซึ่งวัสดุที่ใช้สำหรับคลุมดิน สามารถน้าเอาวัสดุที่เหลือใช้จากการเกษตรเช่น ฟางข้าว เปลือกถั่ว แกลบดิบ มาใช้ได้ นอกจากจะเป็นการป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดินแล้วดินยังช่วยรักษาความชื้นของดิน ป้องกันวัชพืช และยังสลายกลายเป็นปุ๋ยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินอีกด้วย

    จากการศึกษาวิจัย พบสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาคือ Gymnemic acid ซึ่งเป็นกรดอินทรีย์ที่สกัดได้จากใบและรากของผักเชียงดาโดย

    รูปภาพองค์ประกอบทางเคมีของผักเชียงดา 

    Gymnemic acid : Wikipedia            

    Gymnemic acid มีtri-terpenoid, glucuronic acid และกรดไขมันรวมอยู่ในโมเลกุลเดียวกัน  นอกจาก Gymnemic acid ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์สำคัญแล้ว ยังพบสารสกัด จากผักเชียงดาที่สำคัญอื่น ๆ อีก เช่น flavones d-quercitol, tartaric acid, formic acid, butyric acid, lupeol, hentriacontane, pentatriacontane, stigma sterol, acidic glycosides และ anthroquinones5 สำหรับสารที่อยู่ในกลุ่มที่เป็นกรดอินทรีย์และละลายน้ำได้จะมีคุณสมบัติในการรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ส่วนคุณค่าทางโภชนาการของผักเชียงดามีดังนี้

    ผักเชียงดา (100 กรัม) ให้พลังงาน  60 กิโลแคลลอรี่

    Antharquinones : wikipedia

    มีการศึกษาวิจัยพบว่าผักเชียงดามี Gymnemic acid (สกัดมาจากส่วนรากและใบของผักเชียงดา) โดยสารชนิดนี้มีลักษณะโครงสร้างเหมือนน้ำตาลกลูโคส จึงเข้าไปจับกับตัวรับที่ลำไส้แทนโมเลกุลของกลูโคส และช่วยสกัดกั้นสารน้ำตาลตัวจริงที่เข้ามาสู่ร่างกายได้ และยังสามารถช่วยควบคุมสมดุลของระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานทั้งชนิดที่พึ่งอินซูลินและชนิดไม่พึ่งอินซูลิน  ตั้งแต่ปี พ.ศ.2523 มีการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบประสิทธิภาพ กลไกออกฤทธิ์ ในการลดน้ำตาลในเลือด ยกตัวอย่างเช่น การศึกษาที่มหาวิทยาลัยมาดราส ประเทศอินเดียโดยศึกษาผลของผักเชียงดาในหนูด้วยการให้สารพิษที่ทำลายบีตาเซลล์ในตับอ่อนของหนู พบว่าหนูที่ได้รับผักเชียงดา (ทั้งในรูปของผงแห้งและสารสกัด) มีระดับน้ำตาลในเลือดกลับมาเป็นปกติภายใน 20-60 วัน ระดับอินซูลินกลับมาเป็นปกติ และจำนวนของบีตาเซลล์เพิ่มขึ้น

    มีการศึกษาผลของผักเชียงดาในผู้ป่วยโรคเบาหวานพบว่า ผักเชียงดาสามารถลดการใช้ยารักษาเบาหวานแผนปัจจุบัน และบางรายสามารถเลิกใช้ยาแผนปัจจุบันโดยใช้แต่ผักเชียงดาอย่างเดียวสำหรับการคุมระดับน้ำตาลในเลือด  จากการศึกษานี้ ยังพบว่าปริมาณของระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (hemoglobin A1c) ลดลง (ปริมาณสารตัวนี้แสดงให้เห็นว่าการกินผักเชียงดาทำให้ระดับของน้ำตาลในเลือดในช่วง 2-4 เดือนที่ผ่านมามีความสม่ำเสมอ ถ้าลดลงแสดงว่าคุมระดับน้ำตาลได้ดี ซึ่งเป็นการลดโอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด จากการป่วยเป็นโรคเบาหวาน) และปริมาณอินซูลินเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับการรักษาเบาหวาน นอกจากปริมาณอินซูลินจะไม่เพิ่มขึ้นแล้วปริมาณของระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมยังเพิ่มขึ้นอีกด้วย  ปี พ.ศ.2546 นักวิทยาศาสตร์รายงานถึงผลของสารสกัดผักเชียงดาในหนูซึ่งนอกจากจะพบฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดและเพิ่มปริมาณอินซูลินแล้ว ยังลดปริมาณของอนุมูลอิสระในกระแสเลือดของหนูที่เป็นเบาหวานได้อีกด้วย ทั้งยังเพิ่มปริมาณของสารกลูตาไทโอน วิตามินซี วิตามินอี ในกระแสเลือดของหนูได้อีกด้วย และยังพบอีกว่าสารสกัดผักเชียงดามีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดสูงกว่ายาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาเบาหวานที่มีชื่อว่า ไกลเบนคลาไมด์ (glibenclamide)

    มีการวิจัยในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานที่ใช้อินซูลิน 27 ราย โดยให้กินสารสกัดที่ทำให้บริสุทธิ์ขึ้น 400 มิลลิกรัมต่อวัน พบว่าปริมาณความต้องการอินซูลินในผู้ป่วยเบาหวานลดลง และในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่ได้ใช้อินซูลิน 22 ราย เมื่อให้สารสกัด 400 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นระยะเวลา 18-20 เดือน ร่วมกับยารักษาเบาหวาน พบว่าปริมาณการใช้ยารักษาเบาหวานลดลง โดยมีผู้ป่วยจำนวน 5 ราย ใน 22 ราย ที่สามารถหยุดให้ยาเบาหวานโดยใช้แต่สารสกัด Gymnema เพียงอย่างเดียว

    นักวิทยาศาสตร์ได้มีการศึกษาความเป็นพิษของผักเชียงดาไม่พบความเป็นพิษแต่อย่างใด โดยให้กลุ่มตัวอย่างรับประทานชาชงทุกวันเป็นระยะเวลา28วัน แล้วทำการวัดระดับกลูโคสในพลาสมา (Fasting plasma glucose) พบว่าไม่มีการลดลงของระดับกลูโคสในพลาสมาในร่างกายและไม่พบการเปลี่ยนแปลงของการทำงานของตับ  แสดงให้เห็นว่าการรับประทานชาชงจากผักเชียงดาไม่มีพิษต่อตับ

    เอกสารอ้างอิง

  1. ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ และคณะ.รายงานผลการดำเนินงานปี 2558 การผลิต

    ผักเชียงดา

    อินทรีย์ตามวิถี พอเพียง พออยู่พอกิน และยั่งยืน กลุ่มฮักน้ำจาง บ้านนากว้าว ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง . สถาบันวิจัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

  2. ดร.จักรพันธุ์ เนรังสี.ผักเชียงดา พืชสมุนไพรที่ไม่ธรรมดา .วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม.ปีที่ 22 ฉบับที่ 4 ประจำเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2558 . หน้า 12-14

  3. เต็ม สมิตินันท์ . 2544.ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2544.ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้.กรุงเทพฯ.810 หน้า

  4. Anjum T. and Hasan Z. Gymnema Sylvestre. Plant Used By Peoples of Vidisha District for the Treatment of Diabetes. International Journal of Engineering Science Invention. 2013; 2: 98—102.

  5. ภกญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร.3 สมุนไพร พิชิตโรคเบาหวาน.คอลัมน์เรื่องเด่นจากปก.นิตยารหมอชาวบ้านเล่มที่379 .พฤศจิกายน.2533

  6. Chiabchalard A., Tencomnao T. and Santiyanont R. Effect of Gymnema inodorum on postprandial peak plasma glucose levels in healthy human. African Journal of Biotechnology. 2010; 9: 1079—1085.

  7. Preuss, H.G., M. Bagchi, C.V. Rao, D.K. Dey ang S. Satyanarayana. 2004. Effect of a natural extract of (-)-hydroxycitric acid (HCA-SX) and a combination of HCA-SX plus niacin-bound chromium and Gymnema sylvestre extract on weight loss. Diabetes Obes Metab. 6(3):171-180.

  8. Saneja A., Sharma C., AnejaK.R. and PahwaR. Gymnema Sylvestre(Gurmar): A Review. Der Pharmacia Lettre.2010;2:275—284

  9. Shimizu, K., Ozeki, M., Iino, A., Nakajyo, S., Urakawa, N., Atsuchi, M., (2001). Structure-activity Relationships of  Triperpenoid Derivatives Extracted from Gymnema inodorum Leaves on Glucose Absorption. Jpn.J.Pharmacol. 86 (March). 223-229.

  10. เก้า มกรา.นิตยสารธรรมลีลา ฉบับที่ 150 มิถุนายน 2556.

  11. Rani A. S., Nagamari V., Patnaik S. and Saidulu S. Gymnema Sylvestre: an Important Antidiabetic Plant of India: A Review. Plants Sciences Feed. 2012; 2: 174—179.

  12. Grover, J. K. and Yadav, S. P. (2004). Pharmacological actions and potential uses of Momordica charantia: a review. Journal of Ethnopharmacology, 93(1), 123-132

  13. Ahmad, N., Hassan, M. R., Halder, H. and Bennoor, K. S. (1999). Effect of Momordica charantia (Karolla) extracts on fasting and postprandial serum glucose levels in NIDDM patients. Bangladesh Medical Research Council Bulletin, 25(1), 11-13.

  14. Chiabchalard, A., Tencomnao, T., Santiyanont, R., (2010). Effect of Gymnema inodorum on Postprandial Peak Plasma Glucose Level in Healthy Human. Afr.J.Biotechnol. 9(7),1079-1085

  15. Dham, S., Shah, V., Hirsch, S. and Bernaji, M. A. (2006). The role of complementary and alternative medicine in diabetes. Current Diabetes Reports, 6, 251-258.

[NEW] ผักเชียงดา ประโยชน์ดีๆ สรรพคุณเด่นๆและข้อมูลงานวิจัย | เชียง ไฮ – NATAVIGUIDES

    ชื่อสมุนไพร  ผักเชียงดา
    ชื่ออื่น ๆ/ชื่อท้องถิ่น  ผักเชียงดา ผักเซ่งดา  ผักเจียงดา (ภาคเหนือ) ผักจินดา (ภาคกลาง) ผักว้น  ผักม้วนไก่  ผักเซ็ง  เครือจันปา (ภาคอื่น ๆ)
    ชื่อวิทยาศาสตร์   Gymnema inodorum (Lour.) Decnr.
    ชื่อสามัญ  Gymnema
    วงศ์   Asclepiadaceae

    ผักเชียงดาเป็นพืชที่พบได้ในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่น อินเดีย พม่า ศรีลักา และทางภาคเหนือของไทย สำหรับประเทศไทยผักเชียงดาจะพบได้ในบริเวณภาคเหนือ ที่มีอากาศหนาว ซึ่งมีอยู่หลากหลายสายพันธุ์ แต่ที่พบมากก็คือ ผักเชียงดาในสายพันธุ์Gymnema inodorum ซึ่งในภาคเหนือนั้นผักเชียงดา เป็นผักพื้นบ้านที่ชาวเหนือในแถบจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน ลำปาง แพร่ น่าน และพะเยา นิยมปลูกไว้หน้าบ้านเพื่อนำยอดไปประกอบอาหาร  ส่วนในต่างประเทศมีรายงานว่าพบผักเชียงดาในประเทศที่ประเทศอินเดีย ศรีลังกา เวียดนาม มาเลเซีย ญี่ปุ่น จีน และแอฟริกา

    รูปแบบและขนาดวิธีใช้

    ในการใช้ผักเชียงดาตามตำรายาพื้นบ้าน คือ ใช้รักษาเบาหวาน ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ให้รับประทานเป็นผักสดอย่างน้อยวันละประมาณ 50-100 กรัม หรือ 1 ขีด สามารถช่วยป้องกันและบำบัดโรคเบาหวานได้ นำใบมาตำให้ละเอียดใช้พอกบนกระหม่อมรักษาไข้หวัด แก้ไอ ขับเสมหะได้ ใช้ใบแก่ของผักเชียงดามาเคี้ยวกินสามารถรักษาอาการท้องผูกได้ ใบสดใช้ตำพอกฝีหรือพอกบริเวณที่เป็นเริม งูสวัดแก้ปวดแสบ ปวดร้อน ส่วนรูปแบบและขนากการใช้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันระบุว่า การศึกษาในคนพบว่าใช้สารออกฤทธิ์ประมาณ ๔๐๐-๖๐๐ มิลลิกรัมต่อวัน หรือประมาณ 8-12 กรัมของผงแห้งต่อวันโดยกินครั้ง 4 กรัม วันละ 2-3 ครั้งก่อนอาหารให้ผลในการควบคุมและรักษาโรคเบาหวานได้ดี ส่วนที่ประเทศสหรัฐอเมริกาแคปซูลผักเชียงดา ในรูปแบบผงแห้งที่มีการควบคุมมาตรฐานของกรดไกนีมิก (gynemic acid) ต้องมีไม่ต่ำกว่าร้อยละ 25 หรือ 1 แคปซูลใหญ่จะต้องมีผงยาของเชียงดาอยู่ 500 มิลลิกรัม

    ผักเชียงดา จัดเป็นไม้เถาเลื้อย มีอายุข้ามปี ความยาวของเถาขึ้นอยู่กับอายุ ลำต้นเป็นสีเขียว มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5-5 เซนติเมตร ทุกส่วนที่อยู่เหนือดินของต้นจะมีน้ำยางสีขาวคล้ายน้ำนม ใบเป็นใบเดี่ยว ออกจากข้อเรียงเป็นคู่ตรงข้ามกัน ลักษณะของใบเป็นรูปรีหรือรูปกลมรี ปลายใบแหลม โคนใบแหลม ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 9-11 เซนติเมตร และยาวประมาณ 14.5-18.5 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียวเข้ม ท้องใบมีสีอ่อนกว่า ผิวใบเรียบไม่มีขน ก้านใบยาวประมาณ 3.5-6 เซนติเมตร ส่วนดอกผักเชียงดาออกดอกเป็นช่อแน่นสีขาวอมเขียวอ่อน ดอกย่อยมีขนาดเล็กกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5-6 มิลลิเมตร และผลของผักเชียงดาจะออกเป็นฝักคู่

    ผักเชียงดาขยายพันธุ์ได้โดยการเพาะเมล็ดและปักชำแต่นิยมขยายพันธุ์โดยการปักชำกิ่ง มากกว่าผักเชียงดาเจริญเติบโตได้ในดินร่วนที่มีการระบายน้ำได้ดี โดยในฤดูฝนจะให้ผลผลิตมากกว่าฤดูอื่นๆ ส่วนวิธีการขยายพันธุ์ผักเชียงดามีดังนี้

    การเตรียมต้นกล้าที่จะทำการขยายพันธุ์โดยการใช้กิ่งคู่ใบที่ 4 – 5 ขึ้นไป สีของกิ่งเป็นสีเขียวมีความยาวกิ่งประมาณ 2 – 4 นิ้ว ใช้ 1 – 2 ข้อต่อ 1 ต้น นำมาแช่ในน้ำยาเพิ่มรากและยากันราประมาณ 5 นาที และผึ่งทิ้งไว้ให้หมาด ๆ แล้วปักลงในกระถาง หรือถุงดำขนาด 8 x 12 นิ้ว หรือในแปลงพ่นหมอกที่มีวัสดุชำ คือ ถ่านแกลบ ผสมทราย หรือถ่านแกลบอย่างเดียว ปักชำทิ้งไว้ประมาณ 45 วัน เมื่อมีรากขึ้นย้ายลงถุงชำที่ใส่ดินขนาด 4 x 7 นิ้ว นำไปไว้ในเรือนเพาะชำอีกประมาณ 45 วัน จึงย้ายกล้าลงปลูกในแปลงใหญ่ต่อไป

    การเตรียมดิน การเตรียมดินเป็นการช่วยกำจัดวัชพืช และถือเป็นสิ่งสำคัญในการปลูกผักเชียงดาเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง การเตรียมดินที่ดีควรมีการไถดะ และทิ้งตากดินไว้ 5-7 วัน จากนั้นจึงไถแปร 1 – 2 ครั้ง เพื่อย่อยดินให้แตกละเอียดไม่เป็นก้อนใหญ่ ก่อนการทำร่องหรือแถวปลูกควรมีการหว่านปุ๋ยคอก อัตราประมาณ 1 ตันต่อไร่ก่อนการไถแปร เพื่อเป็นการปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีขึ้นสามารถอุ้มน้ำได้นานขึ้น และยังเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้กับดิน ถ้าดินมีค่าความเป็นกรดด่างต่ำกว่า 5.5 ให้หว่านปูนขาวอัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วพรวนกลบ

    การปลูก เตรียมแปลงปลูกขนาด 1 x 1.5 เมตร (ความยาวแล้วแต่พื้นที่) ใช้ระยะระหว่างต้น 50 เซนติเมตร ระหว่างแถว 75 เซนติเมตร ปลูกหลุมละ 1 ต้น จ้านวนต้นต่อไร่ประมาณ 4,200 ต้น ปลูกเป็นแถวคู่ ให้น้ำ 3 – 5 วันต่อครั้ง ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและความชื้นในดิน ควรรองก้นหลุมปลูกด้วยปุ๋ยหมักอัดเม็ดประมาณครึ่งกระป๋องนมข้น คลุกดินก่อนท้าการปลูกและหลังจากปลูกเสร็จ ให้ใช้วัสดุคลุมดิน ซึ่งวัสดุที่ใช้สำหรับคลุมดิน สามารถน้าเอาวัสดุที่เหลือใช้จากการเกษตรเช่น ฟางข้าว เปลือกถั่ว แกลบดิบ มาใช้ได้ นอกจากจะเป็นการป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดินแล้วดินยังช่วยรักษาความชื้นของดิน ป้องกันวัชพืช และยังสลายกลายเป็นปุ๋ยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินอีกด้วย

    จากการศึกษาวิจัย พบสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาคือ Gymnemic acid ซึ่งเป็นกรดอินทรีย์ที่สกัดได้จากใบและรากของผักเชียงดาโดย

    รูปภาพองค์ประกอบทางเคมีของผักเชียงดา 

    Gymnemic acid : Wikipedia            

    Gymnemic acid มีtri-terpenoid, glucuronic acid และกรดไขมันรวมอยู่ในโมเลกุลเดียวกัน  นอกจาก Gymnemic acid ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์สำคัญแล้ว ยังพบสารสกัด จากผักเชียงดาที่สำคัญอื่น ๆ อีก เช่น flavones d-quercitol, tartaric acid, formic acid, butyric acid, lupeol, hentriacontane, pentatriacontane, stigma sterol, acidic glycosides และ anthroquinones5 สำหรับสารที่อยู่ในกลุ่มที่เป็นกรดอินทรีย์และละลายน้ำได้จะมีคุณสมบัติในการรักษาระดับน้ำตาลในเลือด ส่วนคุณค่าทางโภชนาการของผักเชียงดามีดังนี้

    ผักเชียงดา (100 กรัม) ให้พลังงาน  60 กิโลแคลลอรี่

    Antharquinones : wikipedia

    มีการศึกษาวิจัยพบว่าผักเชียงดามี Gymnemic acid (สกัดมาจากส่วนรากและใบของผักเชียงดา) โดยสารชนิดนี้มีลักษณะโครงสร้างเหมือนน้ำตาลกลูโคส จึงเข้าไปจับกับตัวรับที่ลำไส้แทนโมเลกุลของกลูโคส และช่วยสกัดกั้นสารน้ำตาลตัวจริงที่เข้ามาสู่ร่างกายได้ และยังสามารถช่วยควบคุมสมดุลของระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานทั้งชนิดที่พึ่งอินซูลินและชนิดไม่พึ่งอินซูลิน  ตั้งแต่ปี พ.ศ.2523 มีการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบประสิทธิภาพ กลไกออกฤทธิ์ ในการลดน้ำตาลในเลือด ยกตัวอย่างเช่น การศึกษาที่มหาวิทยาลัยมาดราส ประเทศอินเดียโดยศึกษาผลของผักเชียงดาในหนูด้วยการให้สารพิษที่ทำลายบีตาเซลล์ในตับอ่อนของหนู พบว่าหนูที่ได้รับผักเชียงดา (ทั้งในรูปของผงแห้งและสารสกัด) มีระดับน้ำตาลในเลือดกลับมาเป็นปกติภายใน 20-60 วัน ระดับอินซูลินกลับมาเป็นปกติ และจำนวนของบีตาเซลล์เพิ่มขึ้น

    มีการศึกษาผลของผักเชียงดาในผู้ป่วยโรคเบาหวานพบว่า ผักเชียงดาสามารถลดการใช้ยารักษาเบาหวานแผนปัจจุบัน และบางรายสามารถเลิกใช้ยาแผนปัจจุบันโดยใช้แต่ผักเชียงดาอย่างเดียวสำหรับการคุมระดับน้ำตาลในเลือด  จากการศึกษานี้ ยังพบว่าปริมาณของระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสม (hemoglobin A1c) ลดลง (ปริมาณสารตัวนี้แสดงให้เห็นว่าการกินผักเชียงดาทำให้ระดับของน้ำตาลในเลือดในช่วง 2-4 เดือนที่ผ่านมามีความสม่ำเสมอ ถ้าลดลงแสดงว่าคุมระดับน้ำตาลได้ดี ซึ่งเป็นการลดโอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด จากการป่วยเป็นโรคเบาหวาน) และปริมาณอินซูลินเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับการรักษาเบาหวาน นอกจากปริมาณอินซูลินจะไม่เพิ่มขึ้นแล้วปริมาณของระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมยังเพิ่มขึ้นอีกด้วย  ปี พ.ศ.2546 นักวิทยาศาสตร์รายงานถึงผลของสารสกัดผักเชียงดาในหนูซึ่งนอกจากจะพบฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดและเพิ่มปริมาณอินซูลินแล้ว ยังลดปริมาณของอนุมูลอิสระในกระแสเลือดของหนูที่เป็นเบาหวานได้อีกด้วย ทั้งยังเพิ่มปริมาณของสารกลูตาไทโอน วิตามินซี วิตามินอี ในกระแสเลือดของหนูได้อีกด้วย และยังพบอีกว่าสารสกัดผักเชียงดามีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดสูงกว่ายาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษาเบาหวานที่มีชื่อว่า ไกลเบนคลาไมด์ (glibenclamide)

    มีการวิจัยในผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานที่ใช้อินซูลิน 27 ราย โดยให้กินสารสกัดที่ทำให้บริสุทธิ์ขึ้น 400 มิลลิกรัมต่อวัน พบว่าปริมาณความต้องการอินซูลินในผู้ป่วยเบาหวานลดลง และในผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่ได้ใช้อินซูลิน 22 ราย เมื่อให้สารสกัด 400 มิลลิกรัมต่อวัน เป็นระยะเวลา 18-20 เดือน ร่วมกับยารักษาเบาหวาน พบว่าปริมาณการใช้ยารักษาเบาหวานลดลง โดยมีผู้ป่วยจำนวน 5 ราย ใน 22 ราย ที่สามารถหยุดให้ยาเบาหวานโดยใช้แต่สารสกัด Gymnema เพียงอย่างเดียว

    นักวิทยาศาสตร์ได้มีการศึกษาความเป็นพิษของผักเชียงดาไม่พบความเป็นพิษแต่อย่างใด โดยให้กลุ่มตัวอย่างรับประทานชาชงทุกวันเป็นระยะเวลา28วัน แล้วทำการวัดระดับกลูโคสในพลาสมา (Fasting plasma glucose) พบว่าไม่มีการลดลงของระดับกลูโคสในพลาสมาในร่างกายและไม่พบการเปลี่ยนแปลงของการทำงานของตับ  แสดงให้เห็นว่าการรับประทานชาชงจากผักเชียงดาไม่มีพิษต่อตับ

    เอกสารอ้างอิง

  1. ผศ.ปริญญาวดี ศรีตนทิพย์ และคณะ.รายงานผลการดำเนินงานปี 2558 การผลิต

    ผักเชียงดา

    อินทรีย์ตามวิถี พอเพียง พออยู่พอกิน และยั่งยืน กลุ่มฮักน้ำจาง บ้านนากว้าว ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง . สถาบันวิจัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

  2. ดร.จักรพันธุ์ เนรังสี.ผักเชียงดา พืชสมุนไพรที่ไม่ธรรมดา .วารสารเพื่อการวิจัยและพัฒนา องค์การเภสัชกรรม.ปีที่ 22 ฉบับที่ 4 ประจำเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2558 . หน้า 12-14

  3. เต็ม สมิตินันท์ . 2544.ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2544.ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้.กรุงเทพฯ.810 หน้า

  4. Anjum T. and Hasan Z. Gymnema Sylvestre. Plant Used By Peoples of Vidisha District for the Treatment of Diabetes. International Journal of Engineering Science Invention. 2013; 2: 98—102.

  5. ภกญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร.3 สมุนไพร พิชิตโรคเบาหวาน.คอลัมน์เรื่องเด่นจากปก.นิตยารหมอชาวบ้านเล่มที่379 .พฤศจิกายน.2533

  6. Chiabchalard A., Tencomnao T. and Santiyanont R. Effect of Gymnema inodorum on postprandial peak plasma glucose levels in healthy human. African Journal of Biotechnology. 2010; 9: 1079—1085.

  7. Preuss, H.G., M. Bagchi, C.V. Rao, D.K. Dey ang S. Satyanarayana. 2004. Effect of a natural extract of (-)-hydroxycitric acid (HCA-SX) and a combination of HCA-SX plus niacin-bound chromium and Gymnema sylvestre extract on weight loss. Diabetes Obes Metab. 6(3):171-180.

  8. Saneja A., Sharma C., AnejaK.R. and PahwaR. Gymnema Sylvestre(Gurmar): A Review. Der Pharmacia Lettre.2010;2:275—284

  9. Shimizu, K., Ozeki, M., Iino, A., Nakajyo, S., Urakawa, N., Atsuchi, M., (2001). Structure-activity Relationships of  Triperpenoid Derivatives Extracted from Gymnema inodorum Leaves on Glucose Absorption. Jpn.J.Pharmacol. 86 (March). 223-229.

  10. เก้า มกรา.นิตยสารธรรมลีลา ฉบับที่ 150 มิถุนายน 2556.

  11. Rani A. S., Nagamari V., Patnaik S. and Saidulu S. Gymnema Sylvestre: an Important Antidiabetic Plant of India: A Review. Plants Sciences Feed. 2012; 2: 174—179.

  12. Grover, J. K. and Yadav, S. P. (2004). Pharmacological actions and potential uses of Momordica charantia: a review. Journal of Ethnopharmacology, 93(1), 123-132

  13. Ahmad, N., Hassan, M. R., Halder, H. and Bennoor, K. S. (1999). Effect of Momordica charantia (Karolla) extracts on fasting and postprandial serum glucose levels in NIDDM patients. Bangladesh Medical Research Council Bulletin, 25(1), 11-13.

  14. Chiabchalard, A., Tencomnao, T., Santiyanont, R., (2010). Effect of Gymnema inodorum on Postprandial Peak Plasma Glucose Level in Healthy Human. Afr.J.Biotechnol. 9(7),1079-1085

  15. Dham, S., Shah, V., Hirsch, S. and Bernaji, M. A. (2006). The role of complementary and alternative medicine in diabetes. Current Diabetes Reports, 6, 251-258.


9 สถานที่เที่ยวในเมืองเซี่ยงไฮ้ที่น่าสนใจ


คลิปนี้ผมจะพาทุกคนไปรู้จักกับ 9 สถานที่เที่ยวในเมืองเซี่ยงไฮ้ที่น่าสนใจ
ซึ่งจริงๆ แล้วเซี่ยงไฮ้ยังมีที่เที่ยวที่น่าสนใจอีกมากมายเลย เพียงแต่สถานที่ที่ผมหยิบมาเล่าให้ฟังในครั้งนี้เป็นที่ที่ผมกับต๋งคิดว่าน่าจะเหมาะกับคนที่ได้มีโอกาสได้ไปเซี่ยงไฮ้ครั้งแรกครับ

โดยจากการที่ผมได้มีโอกาสไปเที่ยวที่เมืองนี้ 6 วัน 5 คืนเต็มๆ ผมอยากจะบอกทุกคนเหลือเกินว่าเซี่ยงไฮ้เนี่ยเป็นเมืองที่น่าเที่ยวกว่าที่เราคิดไว้เยอะเลยครับ ใครที่ยังไม่เคยไปมาก่อน ลองดูคลิปนี้จนจบแล้วตัดสินใจดูนะครับว่าจะไปดีหรือเปล่า แต่เชื่อผมเถอะ \”เที่ยวเซี่ยงไฮ้ ไม่ไปไม่รู้ ดูดีกว่าที่คิด\” ครับ

สามารถติดตามอ่านรีวิวฉบับเต็มได้ที่ www.amazingcouple.net
หรือสามารถติดตามเรื่องราวการกินและเที่ยวของผมอย่างใกล้ชิดได้ที่ Facebook Fanpage \”ภรรยาหา สามีใช้\”

Special thanks for Music from https://www.bensound.com/royaltyfreemusic

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

9 สถานที่เที่ยวในเมืองเซี่ยงไฮ้ที่น่าสนใจ

ประสบการณ์ 4 วันในเซี่ยงไฮ้ แหล่งศิวิไลซ์ของคนจีน


สำหรับเสนอไอเดีย หรือแนะนำสถานที่
https://goo.gl/forms/1H9Sazow2Tkmt3kU2
ทุกคลิปมี subtitle ภาษาอังกฤษนะ กด CC ได้เลย (ซับจะมาหลังจากคลิปปล่อยแล้ว 3 วันจะ)
▲ กดติดตามเพื่อชมคลิปใหม่ๆ : https://goo.gl/igfco3
▲ FANPAGE : https://goo.gl/EsLz8e
▲ IG : Sunbeary
▲ IG : Kan_Atthakorn
▲ Line Sticker
▲ Sunbeary : https://line.me/S/sticker/1786390
▲ KNN kanninich : https://line.me/S/sticker/1787921

อีเมล์สำหรับติดต่องาน
[email protected]
แชแนล Bearhug คือแชแนล Vlog ที่ประกอบด้วยพิธีกรหลัก 2 คน คือ
\”ซารต์ Sunbeary\” สาวน้อยอดีตนักบัญชีผู้ชื่นชอบการกินเป็นชีวิตจิตใจ มีความรักในการท่องเที่ยวผจญภัย รักการออกอีเวนท์ และรักการ(โดน)ถ่ายรูปเป็นชีวิตจิตใจ เพราะความสามารถในการบริหารการเงินบริษัทที่เหนือมนุษย์ ทำให้ทุกคนขนานนามซารว่า \”ท่าน CEO\”
\”กานต์ Atthakorn\” ผู้ชายหน้านิ่งผู้ถูกให้ฉายาว่าปากสุนัขที่สุดในสามโลก ชื่นชอบการทำงานเบื้องหลังอยู่หลังกล้อง รักการศึกษานวัตกรรม และการอัพเดทความรู้รอบตัว เพื่อพัฒนาตัวเอง

ประสบการณ์ 4 วันในเซี่ยงไฮ้ แหล่งศิวิไลซ์ของคนจีน

สาวเซี่ยงไฮ้ – Cocktail [Official MV]


สาวเซี่ยงไฮ้\r
Cocktail\r
Ten Thousand Tears\r
genie records\r
\r
http://www.facebook.com/cheerscocktail\r
\r
คำร้อง/ทำนอง : ปัณฑพล ประสารราชกิจ\r
เรียบเรียง : ชวรัตน์ หรรษคุณาฒัย,อายุ จารุบูรณะ,ปัณฑพล ประสารราชกิจ\r
\r
เพลง \”สาวเซี่ยงไฮ้\” Download แบบถูกลิขสิทธิ์ กด 1232818

สาวเซี่ยงไฮ้ - Cocktail [Official MV]

เซี่ยงไฮ้ในความเปลี่ยนแปลง : พื้นที่ชีวิต (2 มิ.ย. 62)


เซี่ยงไฮ้ หนึ่งในเมืองที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจมากที่สุดของจีน มีอัตราการเจริญเติบโตสูงที่สุดของประเทศ และเป็นศูนย์กลางทางการเงินอันดับ 5 ของโลก รองจากนิวยอร์ก, ลอนดอน, ฮ่องกง และสิงคโปร์ ความทันสมัยที่มากขึ้น เศรษฐกิจที่พัฒนาอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบอย่างไรต่อวิถีชีวิตผู้คน
การพัฒนาเศรษฐกิจในแบบทุนนิยม ภายใต้อุดมการณ์แบบคอมมิวนิสต์ จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองด้านอื่นๆ หรือไม่
ติดตามชมรายการพื้นที่ชีวิต ตอน เซี่ยงไฮ้ในความเปลี่ยนแปลง วันอาทิตย์ที่ 2 มิถุนายน เวลา 21.10 – 22.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังทาง http://www.thaipbs.or.th/Life

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://goo.gl/hdy2ye
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

เซี่ยงไฮ้ในความเปลี่ยนแปลง : พื้นที่ชีวิต (2 มิ.ย. 62)

ปิดตำนาน“ตู่ติงลี่” เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ไทย : [ถอนหมุดข่าว]


Website : http://news1live.com/\r
YOUTUBE : https://www.youtube.com/NEWS1VDO\r
Facebook : https://www.facebook.com/MGRNEWS1\r
TWITTER : https://twitter.com/newsonechannel\r
instragram : https://www.instagram.com/news1channel

ปิดตำนาน“ตู่ติงลี่” เจ้าพ่อเซี่ยงไฮ้ไทย : [ถอนหมุดข่าว]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ เชียง ไฮ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *