Skip to content
Home » [NEW] | ประกัน สังคม นอนโรง พยาบาล – NATAVIGUIDES

[NEW] | ประกัน สังคม นอนโรง พยาบาล – NATAVIGUIDES

ประกัน สังคม นอนโรง พยาบาล: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

ประเทศปลายทาง

จำนวนผู้เดินทาง

ออกจากไทย

กลับถึงไทย

 

[NEW] | ประกัน สังคม นอนโรง พยาบาล – NATAVIGUIDES

ประเทศปลายทาง

จำนวนผู้เดินทาง

ออกจากไทย

กลับถึงไทย

 


ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด – สถานีเดลินิวส์


สำนักงานประกันสังคม ชี้ชัดผู้ประกันตน ม. 33 และ ม. 39 หากเจ็บป่วยฉุกเฉินเข้ารักษาได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด ระยะเวลา 72 ชม. จนพ้นภาวะวิกฤต

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ประกันสังคมชี้เจ็บป่วยฉุกเฉินเข้าได้ทุกโรงพยาบาลที่ใกล้สุด  -  สถานีเดลินิวส์

เปรียบเทียบกรณีเจ็บป่วยประกันสังคม 3 มาตรา


ผู้ประกันตนแต่ละประเภทมีสถานะที่ต่างกัน และการจ่ายเงินสมทบที่ต่างกัน
จึงทำให้การได้รับสิทธิประโยชน์อาจมีความแตกต่าง หรือบางกรณีก็อาจจะเหมือนกันภายใต้หลักการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข
============
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี

เปรียบเทียบกรณีเจ็บป่วยประกันสังคม 3 มาตรา

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel


ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กรณีเจ็บป่วย จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ เมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ใน 4 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ส่วนจำนวนเงินชดเชยการขาดรายได้นั้น ประกันสังคมได้กำหนดไว้ ดังนี้
_เมื่อผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หลังจากได้รับการตรวจรักษา ข้อที่ (1) แพทย์พิจารณาให้
นอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ท่านก็จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ วันละ 300 บาท
ข้อที่ (2) ไม่ได้นอนโรงพยาบาล แต่แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัว ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป จะได้รับเงิน
ชดเชยการขาดรายได้ วันละ 200 บาท และข้อที่ (3) ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก และ
แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัวไม่เกิน 2 วัน จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท
3. การรับสิทธิประโยชน์นั้นนะคะ ผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 70 บาทต่อเดือน และทาง
เลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 100 บาทต่อเดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับ
รวมกันแล้ว ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนข้อ (3) มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปีนะคะ
_ สำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 300 บาทต่อเดือน ก็มีสิทธิที่จะได้รับเฉพาะสิทธิ
ประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับรวมกันแล้ว ไม่เกิน 90 วันต่อปี ส่วนสิทธิประโยชน์ตามข้อ (3) ทาง
เลือกนี้จะไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้
4. ค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใครเป็นคนจ่าย
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ สำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นผู้ประกันตนใน
มาตรา 40 จึงสามารถใช้สิทธิในเรื่องค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิที่ตนเองมีได้ ตัวอย่าง เช่น
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิบัตรทองก็ใช้สิทธิบัตรทองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล หรือ
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางก็ใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางได้
ประกันสังคมมาตรา40เงินชดเชยการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!


มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!
ถ้าพูดถึง \”ประกันสังคม\” หลายคนที่ทำงานออฟฟิตคงรู้จักกันเป็นอย่างดีและหลายคนคงกำลังคิดว่า การมีเพียงประกันสังคมก็เกินพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องมีประกันอื่นๆ อย่าง ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต หรือประกันอุบัติเหตุแล้วก็ได้ แต่รู้หรือไม่ว่า สิทธิประกันสังคมนั้นไม่ได้ครอบคลุมอย่างไปทุกอย่างและยังมีโรคบางชนิดที่ไม่อยู่ในความคุ้มครองของประกันสังคม วันนี้เราได้รวบรวม 14 โรคที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง มาฝากทุกคน จะมีโรคอะไรบ้าง หรืออาการอะไรบ้าง ตามมาเช็คกันได้เลย!
1. โรคหรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
2. การรักษาโรคที่ต้องใช้ระยะเวลาการรักษาตัวในโรงพยาบาล ประเภทคนไข้ เกิน 180 วัน ใน 1 ปี
3. การบำบัดทดแทนไต ในกรณี ไตวายเรื้อรัง ยกเว้น

– กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลารักษาไม่เกิน 60 วัน ให้มีสิทธิได้รับบริการทางการแพทย์

– กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้สิทธิได้รับบริการทางการแพทย์ โดยการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม วิธีการล้างช่องท้องด้วยน้ำยาอย่างถาวร และด้วยวิธีการปลูกถ่ายไต ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการปลูกถ่ายไต และอัตราที่กำหนดในประกาศจากสำนักประกันสังคม
4. การกระทำใดๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ (ศัลยกรรม)
5. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง
6. การรักษาภาวะมีบุตรยาก
7. การตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้นการตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการปลูกถ่ายไขกระดูกของผู้ประกันตน ให้จ่ายค่าตรวจเนื้อเยื่อเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 7,000 บาทต่อราย ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการแพทย์กำหนด
8. การตรวจใดๆ ที่เกินกว่าความจำเป็นในการรักษาโรค
9. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น
– การปลูกถ่ายไขกระดูก ให้จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายในอัตรา 750,000 บาทต่อราย แก่สถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์ แก่ผู้ประกันตนจนสิ้นสุดกระบวนการปลูกถ่ายไขกระดูก โดยจะต้องเป็นสถานพยาบาลที่คณะกรรมการแพทย์รับรอง และได้ทำข้อตกลงไว้กับสำนักงานในการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน กรณีการปลูกถ่ายไขกระดูกตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
– การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา โดยให้เหมาจ่ายค่าบริการทางการแพทย์แก่สถานพยาบาล 20,000 บาท และให้ศูนย์ดวงตาสภากาชาตไทย 5,000 บาท ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
10. การเปลี่ยนเพศ
11. การผสมเทียม
12. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบพักฟื้น
13. ทันตกรรม ยกเว้น การถอนฟัน การอุดฟัน การขูดหินปูนและผ่าฟันคุด ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 900 บาทต่อครั้งและต่อปี กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน มีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี แต่หากเป็นกรณีใส่ฟันเทียมที่ถอดได้ทั้งปาก จะมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี
14. การทำแว่นตา

ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าสิทธิประกันสังคมจะครอบคลุมการรักษาหลากหลายมากมาย แต่ก็ยังมีส่วนที่ยังไม่ได้คุ้มครองบางส่วน เพื่อความไม่ประมาทควรทำประกันรูปแบบอื่นๆ เพื่อความอุ่นใจในการใช้ชีวิตกันด้วยนะครับ เพราะของบางอย่าง \”มีแล้วอาจไม่ค่อยได้ใช้ ดีกว่าถึงเวลาที่ต้องใช้แต่กลับไม่มี\”

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \

เงินชดเชยการขาดรายได้ม.40จากประกันสังคมคิดยังไง เงินชดเชยการขาดรายได้มาตรา40จ่ายเท่าไหร่ มาตรา40ป่วย


เงินชดเชยการขาดรายได้ม.40 มาตรา40 สมัคร มาตรา 40
สำหรับในคลิปนี้ผมจะมาบอกวิธีคำนวนเงินชดเชยรายได้ของผู้ประกันตนตามมาตรา40
ที่ในกรณีเราเจ็บป่วยนอกจากการได้รับการณักษาพยาบาลฟรีแล้ว เรายังมีเงินชเเชยรายได้อีกด้วย หากอยากรู้ว่าเงินชดเชยรายได้จ่ายเท่าไหร่ รับชมผ่านคลิปนี้ได้เลยครับ

เงินชดเชยการขาดรายได้ม.40จากประกันสังคมคิดยังไง เงินชดเชยการขาดรายได้มาตรา40จ่ายเท่าไหร่ มาตรา40ป่วย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ประกัน สังคม นอนโรง พยาบาล

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *