Skip to content
Home » [NEW] ประกันสังคม’ ทางเลือกของประชาชน | การใช้สิทธิประกันสังคม – NATAVIGUIDES

[NEW] ประกันสังคม’ ทางเลือกของประชาชน | การใช้สิทธิประกันสังคม – NATAVIGUIDES

การใช้สิทธิประกันสังคม: คุณกำลังดูกระทู้

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel


ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กรณีเจ็บป่วย จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ เมื่อจ่ายเงินสมทบมาแล้ว 3 เดือน ใน 4 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย ส่วนจำนวนเงินชดเชยการขาดรายได้นั้น ประกันสังคมได้กำหนดไว้ ดังนี้
_เมื่อผู้ประกันตนประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย หลังจากได้รับการตรวจรักษา ข้อที่ (1) แพทย์พิจารณาให้
นอนโรงพยาบาลตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ท่านก็จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ วันละ 300 บาท
ข้อที่ (2) ไม่ได้นอนโรงพยาบาล แต่แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัว ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป จะได้รับเงิน
ชดเชยการขาดรายได้ วันละ 200 บาท และข้อที่ (3) ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก และ
แพทย์มีความเห็นให้หยุดพักรักษาตัวไม่เกิน 2 วัน จะได้รับเงินชดเชยการขาดรายได้ ครั้งละ 50 บาท
3. การรับสิทธิประโยชน์นั้นนะคะ ผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 1 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 70 บาทต่อเดือน และทาง
เลือกที่ 2 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 100 บาทต่อเดือน มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับ
รวมกันแล้ว ไม่เกิน 30 วันต่อปี ส่วนข้อ (3) มีสิทธิที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ ไม่เกิน 3 ครั้งต่อปีนะคะ
_ สำหรับผู้ประกันตนตามทางเลือกที่ 3 ซึ่งจ่ายเงินสมทบ 300 บาทต่อเดือน ก็มีสิทธิที่จะได้รับเฉพาะสิทธิ
ประโยชน์ตามข้อ (1) และ (2) ที่นับรวมกันแล้ว ไม่เกิน 90 วันต่อปี ส่วนสิทธิประโยชน์ตามข้อ (3) ทาง
เลือกนี้จะไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้
4. ค่ารักษาพยาบาลที่เกิดขึ้น จะทำอย่างไร ใครเป็นคนจ่าย
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ สำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองไว้ ดังนั้นผู้ประกันตนใน
มาตรา 40 จึงสามารถใช้สิทธิในเรื่องค่ารักษาพยาบาลตามสิทธิที่ตนเองมีได้ ตัวอย่าง เช่น
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิบัตรทองก็ใช้สิทธิบัตรทองในส่วนของค่ารักษาพยาบาล หรือ
ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 มีสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางก็ใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลางได้
ประกันสังคมมาตรา40เงินชดเชยการขาดรายได้กรณีเจ็บป่วย

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ประกันสังคมมาตรา 40 ให้อะไรเราบ้าง กรณีเจ็บป่วย?/Nathamon channel

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!


มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!
ถ้าพูดถึง \”ประกันสังคม\” หลายคนที่ทำงานออฟฟิตคงรู้จักกันเป็นอย่างดีและหลายคนคงกำลังคิดว่า การมีเพียงประกันสังคมก็เกินพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องมีประกันอื่นๆ อย่าง ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต หรือประกันอุบัติเหตุแล้วก็ได้ แต่รู้หรือไม่ว่า สิทธิประกันสังคมนั้นไม่ได้ครอบคลุมอย่างไปทุกอย่างและยังมีโรคบางชนิดที่ไม่อยู่ในความคุ้มครองของประกันสังคม วันนี้เราได้รวบรวม 14 โรคที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง มาฝากทุกคน จะมีโรคอะไรบ้าง หรืออาการอะไรบ้าง ตามมาเช็คกันได้เลย!
1. โรคหรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
2. การรักษาโรคที่ต้องใช้ระยะเวลาการรักษาตัวในโรงพยาบาล ประเภทคนไข้ เกิน 180 วัน ใน 1 ปี
3. การบำบัดทดแทนไต ในกรณี ไตวายเรื้อรัง ยกเว้น

– กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลารักษาไม่เกิน 60 วัน ให้มีสิทธิได้รับบริการทางการแพทย์

– กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้สิทธิได้รับบริการทางการแพทย์ โดยการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม วิธีการล้างช่องท้องด้วยน้ำยาอย่างถาวร และด้วยวิธีการปลูกถ่ายไต ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการปลูกถ่ายไต และอัตราที่กำหนดในประกาศจากสำนักประกันสังคม
4. การกระทำใดๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ (ศัลยกรรม)
5. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง
6. การรักษาภาวะมีบุตรยาก
7. การตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้นการตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการปลูกถ่ายไขกระดูกของผู้ประกันตน ให้จ่ายค่าตรวจเนื้อเยื่อเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 7,000 บาทต่อราย ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการแพทย์กำหนด
8. การตรวจใดๆ ที่เกินกว่าความจำเป็นในการรักษาโรค
9. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น
– การปลูกถ่ายไขกระดูก ให้จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายในอัตรา 750,000 บาทต่อราย แก่สถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์ แก่ผู้ประกันตนจนสิ้นสุดกระบวนการปลูกถ่ายไขกระดูก โดยจะต้องเป็นสถานพยาบาลที่คณะกรรมการแพทย์รับรอง และได้ทำข้อตกลงไว้กับสำนักงานในการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน กรณีการปลูกถ่ายไขกระดูกตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
– การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา โดยให้เหมาจ่ายค่าบริการทางการแพทย์แก่สถานพยาบาล 20,000 บาท และให้ศูนย์ดวงตาสภากาชาตไทย 5,000 บาท ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
10. การเปลี่ยนเพศ
11. การผสมเทียม
12. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบพักฟื้น
13. ทันตกรรม ยกเว้น การถอนฟัน การอุดฟัน การขูดหินปูนและผ่าฟันคุด ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 900 บาทต่อครั้งและต่อปี กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน มีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี แต่หากเป็นกรณีใส่ฟันเทียมที่ถอดได้ทั้งปาก จะมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี
14. การทำแว่นตา

ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าสิทธิประกันสังคมจะครอบคลุมการรักษาหลากหลายมากมาย แต่ก็ยังมีส่วนที่ยังไม่ได้คุ้มครองบางส่วน เพื่อความไม่ประมาทควรทำประกันรูปแบบอื่นๆ เพื่อความอุ่นใจในการใช้ชีวิตกันด้วยนะครับ เพราะของบางอย่าง \”มีแล้วอาจไม่ค่อยได้ใช้ ดีกว่าถึงเวลาที่ต้องใช้แต่กลับไม่มี\”

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \

Ep.7 | เช็คสิทธิประกันสังคมได้ง่าย ๆ ผ่านแอป SSO Connect | by HR_พี่โล่


Ep.7 | เช็คสิทธิประกันสังคมได้ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง ผ่านแอป SSO Connect by HR_พี่โล่
ปัจจุบันเราสามารถเช็คสิทธิต่าง ๆ ของประกันสังคม ผ่านทางช่องทางออนไลน์ได้แล้ว
ไปลองใช้กันดูนะคะ สะดวกและใช้งานง่าย แนะทำให้ใช้กันค่ะ
เช็คสิทธิประกันสังคม SSOConnect
Ep.1 แนะนำตัวค่ะ จุดเริ่มต้น และวัตถุประสงค์การทำช่องคู่มือมนุษย์เงินเดือน | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/b72UR2lf5dw
Ep.2 มนุษย์แม่ มีสิทธิได้รับอะไรบ้าง จากการเป็นมนุษย์เงินเดือน 2562 | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/QxlHtfLSuno
Ep.3 การลากิจ ตาม พรบ.แรงงานใหม่ 2562 | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/vlROrYY_ms
Ep.4 วันหยุดที่ลูกจ้างต้องได้รับ ตามกฏหมายแรงงาน | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/joQufrDASmE
Ep.5 พนักงานหญิงลาไปงานวันแม่ ใช้สิทธิลากิจโดยได้รับค่าจ้างได้หรือไม่ ? | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/CuQe6z7pFIQ
Ep.6 ส่งเงินประกันสังคมครบ 3 เดือนแล้ว ทำไมยังใช้สิทธิรักษาพยาบาลไม่ได้ | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/5NHCdGoTkLc
Ep.7 เช็คสิทธิประกันสังคมได้ง่าย ๆ ด้วยตัวเอง ผ่านแอป SSO Connect | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/_vO2pxakzNQ
Ep.8 สิทธิที่จะได้รับเมื่อถูกเลิกจ้าง | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/r3QIlmjojxE
Ep.9 ขึ้นทะเบียนว่างงาน แต่ไม่ได้รับเงิน ความจริงที่ต้องรู้ | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/nzrT7Fqa5TM
Ep.10 ทำงานไม่ถึงเดือน อยากลาออก ทำได้หรือไม่ คลิปนี้มีคำตอบ | มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/C_lPQK7N2A4
Ep.11 การลาป่วย สิทธิที่ลูกจ้างควรรู้ ตามกฎหมายแรงงาน | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/Anzd9Yp28c
Ep.12 ผู้ประกันตนมีกี่ประเภท ได้รับสิทธิประโยชน์แตกต่างกันอย่างไร | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/v4dFozcs9Zw
Ep.13 ออกจากงานแล้วยังใช้สิทธิประกันสังคมได้อีก 6 เดือนนะรู้ยัง? | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/la5siLf3BWg
Ep.14 การทดลองงาน กฎหมายกำหนดไว้กี่วัน | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/qWg8u2F60Uo
Ep.15 นายจ้างจะขยายการทดลองงานปอีกได้หรือไม่ ? | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/zHY6_RBnXOA
Ep.16 ประสบการณ์เบิกค่าคลอดไม่ได้ และวิธีแก้ปัญหากรณีนี้ | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/kFqGC2TjD80
Ep.17 นักศึกษาฝึกงานต้องขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนหรือไม่? | | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/CeGmSSjvJvg
Ep.18 เงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีเจ็บป่วยบ้าง ใครมีสิทธิได้รับบ้าง ? | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/4F9oJShT3io
Ep.19 ตรวจสอบการส่งเงินสมทบด้วยตัวเอง ผ่าน SSO Connect | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/9UE2DRvEn5Q
Ep.20 กองทุนประกันสังคม VS กองทุนเงินทดแทน สิทธิที่ลูกจ้างควรต้องรู้ | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/KFx_QPCqL0
Ep.21 Q\u0026A เรื่องการลากิจ | คู่มือมนุษย์เงินเดือน
https://youtu.be/LSt98eY7KhY

Ep.7 | เช็คสิทธิประกันสังคมได้ง่าย ๆ ผ่านแอป SSO Connect | by HR_พี่โล่

คลิปดีมีประโยชน์ ประกันสังคม ชี้แจง การใช้สิทธิประกันสังคม กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน


คลิปดีมีประโยชน์ ประกันสังคม ชี้แจง การใช้สิทธิประกันสังคม กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน
ประกันสังคม อาชีพอิสระ เงินเยียวยา
✅✅แลกเปลี่ยนพูดคุย ▶️ กดติดตาม facebook ข่าวใส่ขวด : https://www.facebook.com/ข่าวใส่ขวด101780192215941/
สวัสดีค่ะทุกท่าน ทางแอดมินได้เปิด เพจทางเฟสบุ๊ก มาสักระยะหนึ่งแล้ว และจะมีการพูดคุยในเพจเป็นอีกทางในการติดต่อแลกเปลี่ยนความคิดกันนะคะ ฝากถูกใจติดตาม ที่เพจของเราด้วยนะคะ ขอบคุณมากค่ะ ❤️
ช่อง ข่าวใส่ขวด เสนอข่าวสารที่แท้จริง ให้ความรู้ แจ้งข่าวสาร ทางภาครัฐบาล โครงการรัฐ โครงการช่วยเหลือ ข่าวบัตรคนจน ข่าวประกันสังคม ข่าวเงินเยียวยา ข่าวคนพิการ โครงการคนละครึ่ง และนานาสาระ และเปิดให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นกันอย่างสุภาพค่ะ
✅🔔 กดติดตามช่อง 🚨ข่าวใส่ขวด ด้วยนะคะ 🙏🏻
✅วิธีดูว่าสมัครประกันสังคมผ่านหรือยัง👉🏻 https://youtu.be/QJgQUpXt7FQ
✅ เงื่อนไขสำคัญในการรับเงินเยียวยา กลุ่ม ม33 ม38 ม40 อาจไม่ได้ทุกคน ฟังรายละเอียดที่นี่👉🏻
https://youtu.be/k9ljONXLuzc
✅วิธีดูอาชีพต่างๆที่เข้าเกณฑ์รับสิทธิ์ ม40 ใน 9 สาขาอาชีพหลักที่นี่ 👉🏻 https://youtu.be/jP4XyE7wRpY
✅เลือกจ่ายแบบไหนดี 70100300⏩👉🏻 https://youtu.be/QOkve0lbAvQ
✅วิธีลงทะเบียนรับเงินเยียวยา 5,000 ⏩👉🏻 https://youtu.be/GAbX7Nra85I
✅วิธีการเช็คสิทธิ์ว่าได้เงินเยียวยาหรือยัง⏩👉🏻 https://youtu.be/hN_jzQXnWRs
✅วิธีตรวจสอบว่า มีบัญชี พร้อมเพย์หรือยัง เพื่อรับเงินโอน5,000 ⏩👉🏻 https://youtu.be/fRKX9zL1oY
✅วิธีดูว่า มีบัญชีพร้อมเพย์ ที่ผูกกับบัตรประชาชนหรือยัง โดยการเช็คผ่าน แอบ เป๋าตัง ง่ายๆ👉🏻 https://youtu.be/QnjCWOfqSQk
✅ วิธีผูกบัญชี พร้อมเพย์ กับ บัตรประชาชน เป็นแนวทางทุกธนาคาร👉🏻https://youtu.be/abUgmIo8qTk
✅ วีธีผูกบัญชี พร้อมเพย์ กับ บัตรประชาชน ผ่านแอปกรุงไทย👉🏻 https://youtu.be/6pO9NPjl2A
✅วิธีสมัคร พร้อมเพย์ ผูกกับ บัตรประชาชน ทำผ่านตู้ATM👉🏻https://youtu.be/t0FN3cBimRc
✅สมัครพร้อมเพย์ไม่ได้ ดูวิธีแก้ 👉🏻 https://youtu.be/YYOeZw5t8Us

คลิปดีมีประโยชน์ ประกันสังคม ชี้แจง การใช้สิทธิประกันสังคม กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน

วิธีการตรวจสอบสิทธิประกันสังคม และ บัตรทอง


วิธีการตรวจสอบสิทธิประกันสังคม และ บัตรทอง
http://eservices.nhso.go.th/ ลิ้งนี้ตรวจสอบสิทธิบัตรทอง
https://www.sso.go.th/ ลิ้งนี้ตรวจสอบสิทธิประกันสังคม
แอพสำหรับมือถือ ชื่อ SSO Connect

วิธีการตรวจสอบสิทธิประกันสังคม และ บัตรทอง

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ การใช้สิทธิประกันสังคม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *