Skip to content
Home » [NEW] “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Time in English) ” | ใกล้ถึงเวลา ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

[NEW] “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Time in English) ” | ใกล้ถึงเวลา ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

ใกล้ถึงเวลา ภาษาอังกฤษ: คุณกำลังดูกระทู้

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดูวิธีการ “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Telling Time in English) ” กันค่ะ
ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย

Table of Contents

 บทนำ

ในบทเรียนนี้ครูขอยกตัวอย่างการบอกเวลาที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปใน 2 รูปแบบ ตามที่มาของ Native English หรือ ภาษาอังกฤษของเจ้าของภาษา นะคะ  ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

  • British English แบบบริติช
  • American English แบบอเมริกัน

โครงสร้างประโยคคำถาม

ประโยคคำถาม เพื่อถามถึงเวลา เช่น

  • ถามเวลาแบบ Direct question:

What time is it right now?

= ตอนนี้เป็นเวลากี่โมงแล้ว

 

เรามักจะเจอคำถามในลักษณะนี้ในสถานการณ์แบบเป็นกันเอง ภาษาที่ใช้จะดูใกล้ชิดสนิทสนมมากกว่า ซึ่งอาจจะเป็นเพื่อนเราที่ถามทาง หรือ คนใกล้ตัว คุณพ่อ คุณแม่ เป็นต้น

 

  • ถามเวลาแบบ Indirect question: Can I know…= ขอทราบ/ถาม หน่อย…

Can you tell me what time it is?
= ขอถามหน่อยว่ากี่โมงแล้ว

Excuse me, can I know what time it is?
= ขอโทษนะ ขอทราบหน่อยว่าเป็นเวลากี่โมงแล้ว

***การถามเวลาในรูปแบบประโยคลักษณะ Indirect questions นี้ ประโยคของเราจะดูเป็น ทางการและสุภาพมากยิ่งข้น

 

บอกเวลาแบบ British English

 

 

ใน British English จะใช้ระบบเวลาแบบ 12 ชั่วโมง โดยจะใช้เลข 1 -12 ตามด้วยคำบอกเวลา a.m. และ p.m. ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปในภาษาอังกฤษนั่นเองค่า

 

  • การใช้ a.m. และ p.m.

a.m. = ante meridiem ใช้กับเวลา หลังเที่ยงคืน จนถึง ก่อนเที่ยงวัน
(00.01 a.m. – 11.59 a.m.)

p.m. = post meridiem ใช้กับเวลาหลังเที่ยงวัน จนถึง ก่อนเที่ยงคืน
(12.00 p.m. – 11.59 p.m.)

 

หากว่าต้องการบอกเวลาเต็มชั่วโมง ให้เติมคำว่า “o’clock” ท้ายเวลา หรือพูด a.m. และ p.m. ตามด้วยเวลาต่างๆ ก็ได้ เช่นกันค่ะ

 

11.00 a.m. = eleven o’clock in the morning

แปลว่า ตอนนี้เป็นเวลาสิบเอ็ดโมงเช้า

05.00 p.m. = five o’clock in the afternoon

แปลว่า ตอนนี้เป็นเวลาห้าโมงเย็น

 

 

การใช้ to กับเวลาที่กำลังจะมาถึง 

 

 

เวลาที่ผ่านชั่วโมง และเกิน 30 นาทีมาแล้ว ให้บอกนาทีที่เหลือก่อนจะถึงชั่วโมงถัดไป ตามด้วย “to”  และชั่วโมงถัดไป เช่น

 

08.40 p.m. = twenty to nine

แปลว่า อีกยี่สิบนาทีจะถึงเก้านาฬิกาแล้ว

 สำหรับ การบอกเวลาแบบ British English หากนาฬิกาเป็นเวลา 15 นาทีหรือ 45 นาที ให้ใช้คำว่า a quarter และหากเป็น 30 นาที ให้ใช้ half เช่น

 

06.15 a.m. = a quarter past six

07.30 a.m. = a half past thirty

 

การใช้ “past”

 

past เป็นคำคุณศัพท์ เมื่อใช้กับการบอกเวลา จะแปลว่า ผ่าน….มา……แล้ว โดยส่วนมากจะใช้กับเวลาที่ผ่านล่วงเลยมาไม่ถึง 30 นาที เช่น

 

10.20 a.m. = twenty past ten
แปลว่า  ผ่านสิบนาฬิกามามายี่สิบนาทีแล้ว

ถือว่าเป็นการบอกเวลาทางอ้อม เพราะว่าไม่บอกมาตรงๆ มักจะเจอรูปแบบประโยคนี้ในสถานการณ์ปกติ ที่ไม่เร่งรีบ ในชั้นเรียน แต่อาจจะไม่ใช่การถามเวลาก่อนเที่ยงที่น้องๆหิวข้าว เป็นต้น

 

บอกเวลาแบบ American English

 

 

การอ่านเวลาแบบชาวอเมริกันนั้นได้กำหนดวิธีการบอกเวลาในภาษาอังกฤษสไตล์ชิวๆ ไม่ซับซ้อนเท่ากับวิธีการของ
ชาวบริติช
ซึ่ง American English จะมีการใช้ระบบเวลาแบบ 24 ชั่วโมง โดยจะใช้ตั้งแต่ตัวเลข 0 ไปจนถึง ตัวเลข 24 และส่วนใหญ่จะไม่มี a.m. และ p.m.
ให้ยุ่งยาก ตามสไตล์
easy going ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยของคนอเมริกันเลยทีเดียว ง่ายๆ ไม่ทำให้ยุ่งยาก

วิธีการบอกเวลาของชาวอเมริกันคือ ให้บอกเลขชั่วโมงก่อนตามด้วยเลขนาที โดยทั่วมักจะในกรณีที่เป็นทางการมากๆ  เช่น

 

เวลา 21.15 น. = twenty-one fifteen

เวลา 08.09* น. = eight O nine 

ขออธิบายเพิ่มเติม:

*ใช้เสียง O อ่านว่า โอ จะใช้ แทนเลข 0 ใน American English

 

นอกจากนี้ยังมีคำวิเศษณ์เพื่อประมาณเวลา อีกด้วย เช่น about หรือ nearly  ซึ่งแปลว่า ประมาณ หรือ เกือบๆ เช่น

 

เวลา 09.05 น. =It’s about nine o’clock (แม้ว่าจะผ่านมาแล้วตั้ง 5 นาทีก็ตาม)

เวลา 10.28 น.  = It’s nearly half past ten (แม้ว่าจะยังไม่ถึงครึ่งชั่วโมงก็ตาม)

 

 

บอกเวลาตอนเที่ยง

 

 

ในเวลาเที่ยงคืนหรือเที่ยงวัน สามารถใช้คำว่า “midnight” หรือ “midday / noon” แทนเลข 12 ได้ เช่น  เวลา 00:00 น. แทนช่วงเวลานี้ ว่า midnight หรือ เวลา 12:00 น. แทนช่วงเวลานี้ว่า midday or noon

ส่วนในการพูดอย่างเป็นทางการ สามารถใช้ “a.m.” หรือ “p.m.” ประกอบได้อยู่เหมือนเดิม
เช่น  เวลา 05:15 น. บอกได้ว่า 

It is five fifteen a.m.

= เป็นเวลา ตีห้า  สิบห้านาที

แต่ถ้าไม่เป็นทางการมาก เช่นบอกเวลาเพื่อนที่อยู่ใกล้ๆกัน
ก็สามารถพูดได้ว่า It is ten fifteen.
(ไม่ต้องบอก a.m. ก็ได้ แต่หากช่วงเวลาที่คุยเป็นกลางวัน เพื่อนก็จะเข้าใจไปโดยปริยายว่า มันคือเวลา สิบโมง สิบนาที )

ในกรณีที่ลืมว่า ควรจะใช้ a.m. หรือ p.m. ดี ให้ใช้วลีบอกเวลา เพ่อให้ผู้ที่เราพูดด้วยรู้ว่าเรากำลังบอกเวลาช่วงไหน โดยใช้ in/at แล้วตามด้วยช่วงเวลา เช่น

in the morning = ช่วงเช้า
at midday = เที่ยงวัน
at midnight = เที่ยงคืน
in the afternoon = ตอนบ่าย
in the evening = ตอนเย็น
at night = ตอนกลางคืน

 

แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันอยู่ แต่คนที่เลือกใช้ก็คือตัวเราเอง ครูแนะนำให้ดูบริบทการใช้ให้มากนะคะ เช่นตัวอย่างประโยคด้านล่างนี้นะคะ

 

Situation I: At the train station (สถานการณ์เกิดที่ลานชาลาสถานีรถไฟ)

 

 

Romeo: Excuse me sir, what time is it now?
= ขอโทษนะครับ ตอนนี้เป็นเวลากี่โมงแล้ว

Tom: It’s a half past ten.
= ตอนนี้ผ่านสิบนาฬิกามาครึ่งชั่วโมงแล้วครับ

Rome: Thank you sir. When will the next train arrive?
= ขอบคุณครับ แล้วรถไฟเที่ยวถัดไปจะมากี่โมงครับ

Tom: It will arrive in a minute.
= เดี๋ยวก็มาแล้วครับ

 

Situation II: At NokAcademy School (สถานการณ์เกิดที่โรงเรียน นกอะคาเดมี)

 

Nestie: Jenny, what time is it now?
= เจนนี่ ตอนนี้กี่โมงแล้ว

Jenny: It’s 9 O’ clock. Why did you ask?
= ตอนนี้เก้าโมง ถามทำไม

Nestie: Oh my gosh, we need to go now.
= โอ้ มาย กอด เราต้องไปตอนนี้เลย

Jenny: Why?
= ทำไมล่ะ

Nestie: The class was already begun 10 minutes ago.
= ชั้นเรียนเริ่มเมื่อ 10 นาทีที่แล้ว (เราเข้าชั้นเรียนสาย 10 นาทีแล้ว)

น้องๆนักเรียนทุกคน อย่าลืมทบทวนบทเรียน  เรื่อง การบอกเวลาในภาษาอังกฤษ กับทีชเชอร์กรีซได้ที่วีดีโอด้านล่างนี้นะคะ แล้วเจอกันใหม่ค่า
See you again next time.

+1

[NEW] “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Time in English) ” | ใกล้ถึงเวลา ภาษาอังกฤษ – NATAVIGUIDES

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ป.5 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดูวิธีการ “บอกเวลาในภาษาอังกฤษ (Telling Time in English) ” กันค่ะ
ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลย

 บทนำ

ในบทเรียนนี้ครูขอยกตัวอย่างการบอกเวลาที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปใน 2 รูปแบบ ตามที่มาของ Native English หรือ ภาษาอังกฤษของเจ้าของภาษา นะคะ  ดังตัวอย่างดังต่อไปนี้

  • British English แบบบริติช
  • American English แบบอเมริกัน

โครงสร้างประโยคคำถาม

ประโยคคำถาม เพื่อถามถึงเวลา เช่น

  • ถามเวลาแบบ Direct question:

What time is it right now?

= ตอนนี้เป็นเวลากี่โมงแล้ว

 

เรามักจะเจอคำถามในลักษณะนี้ในสถานการณ์แบบเป็นกันเอง ภาษาที่ใช้จะดูใกล้ชิดสนิทสนมมากกว่า ซึ่งอาจจะเป็นเพื่อนเราที่ถามทาง หรือ คนใกล้ตัว คุณพ่อ คุณแม่ เป็นต้น

 

  • ถามเวลาแบบ Indirect question: Can I know…= ขอทราบ/ถาม หน่อย…

Can you tell me what time it is?
= ขอถามหน่อยว่ากี่โมงแล้ว

Excuse me, can I know what time it is?
= ขอโทษนะ ขอทราบหน่อยว่าเป็นเวลากี่โมงแล้ว

***การถามเวลาในรูปแบบประโยคลักษณะ Indirect questions นี้ ประโยคของเราจะดูเป็น ทางการและสุภาพมากยิ่งข้น

 

บอกเวลาแบบ British English

 

 

ใน British English จะใช้ระบบเวลาแบบ 12 ชั่วโมง โดยจะใช้เลข 1 -12 ตามด้วยคำบอกเวลา a.m. และ p.m. ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมใช้กันโดยทั่วไปในภาษาอังกฤษนั่นเองค่า

 

  • การใช้ a.m. และ p.m.

a.m. = ante meridiem ใช้กับเวลา หลังเที่ยงคืน จนถึง ก่อนเที่ยงวัน
(00.01 a.m. – 11.59 a.m.)

p.m. = post meridiem ใช้กับเวลาหลังเที่ยงวัน จนถึง ก่อนเที่ยงคืน
(12.00 p.m. – 11.59 p.m.)

 

หากว่าต้องการบอกเวลาเต็มชั่วโมง ให้เติมคำว่า “o’clock” ท้ายเวลา หรือพูด a.m. และ p.m. ตามด้วยเวลาต่างๆ ก็ได้ เช่นกันค่ะ

 

11.00 a.m. = eleven o’clock in the morning

แปลว่า ตอนนี้เป็นเวลาสิบเอ็ดโมงเช้า

05.00 p.m. = five o’clock in the afternoon

แปลว่า ตอนนี้เป็นเวลาห้าโมงเย็น

 

 

การใช้ to กับเวลาที่กำลังจะมาถึง 

 

 

เวลาที่ผ่านชั่วโมง และเกิน 30 นาทีมาแล้ว ให้บอกนาทีที่เหลือก่อนจะถึงชั่วโมงถัดไป ตามด้วย “to”  และชั่วโมงถัดไป เช่น

 

08.40 p.m. = twenty to nine

แปลว่า อีกยี่สิบนาทีจะถึงเก้านาฬิกาแล้ว

 สำหรับ การบอกเวลาแบบ British English หากนาฬิกาเป็นเวลา 15 นาทีหรือ 45 นาที ให้ใช้คำว่า a quarter และหากเป็น 30 นาที ให้ใช้ half เช่น

 

06.15 a.m. = a quarter past six

07.30 a.m. = a half past thirty

 

การใช้ “past”

 

past เป็นคำคุณศัพท์ เมื่อใช้กับการบอกเวลา จะแปลว่า ผ่าน….มา……แล้ว โดยส่วนมากจะใช้กับเวลาที่ผ่านล่วงเลยมาไม่ถึง 30 นาที เช่น

 

10.20 a.m. = twenty past ten
แปลว่า  ผ่านสิบนาฬิกามามายี่สิบนาทีแล้ว

ถือว่าเป็นการบอกเวลาทางอ้อม เพราะว่าไม่บอกมาตรงๆ มักจะเจอรูปแบบประโยคนี้ในสถานการณ์ปกติ ที่ไม่เร่งรีบ ในชั้นเรียน แต่อาจจะไม่ใช่การถามเวลาก่อนเที่ยงที่น้องๆหิวข้าว เป็นต้น

 

บอกเวลาแบบ American English

 

 

การอ่านเวลาแบบชาวอเมริกันนั้นได้กำหนดวิธีการบอกเวลาในภาษาอังกฤษสไตล์ชิวๆ ไม่ซับซ้อนเท่ากับวิธีการของ
ชาวบริติช
ซึ่ง American English จะมีการใช้ระบบเวลาแบบ 24 ชั่วโมง โดยจะใช้ตั้งแต่ตัวเลข 0 ไปจนถึง ตัวเลข 24 และส่วนใหญ่จะไม่มี a.m. และ p.m.
ให้ยุ่งยาก ตามสไตล์
easy going ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยของคนอเมริกันเลยทีเดียว ง่ายๆ ไม่ทำให้ยุ่งยาก

วิธีการบอกเวลาของชาวอเมริกันคือ ให้บอกเลขชั่วโมงก่อนตามด้วยเลขนาที โดยทั่วมักจะในกรณีที่เป็นทางการมากๆ  เช่น

 

เวลา 21.15 น. = twenty-one fifteen

เวลา 08.09* น. = eight O nine 

ขออธิบายเพิ่มเติม:

*ใช้เสียง O อ่านว่า โอ จะใช้ แทนเลข 0 ใน American English

 

นอกจากนี้ยังมีคำวิเศษณ์เพื่อประมาณเวลา อีกด้วย เช่น about หรือ nearly  ซึ่งแปลว่า ประมาณ หรือ เกือบๆ เช่น

 

เวลา 09.05 น. =It’s about nine o’clock (แม้ว่าจะผ่านมาแล้วตั้ง 5 นาทีก็ตาม)

เวลา 10.28 น.  = It’s nearly half past ten (แม้ว่าจะยังไม่ถึงครึ่งชั่วโมงก็ตาม)

 

 

บอกเวลาตอนเที่ยง

 

 

ในเวลาเที่ยงคืนหรือเที่ยงวัน สามารถใช้คำว่า “midnight” หรือ “midday / noon” แทนเลข 12 ได้ เช่น  เวลา 00:00 น. แทนช่วงเวลานี้ ว่า midnight หรือ เวลา 12:00 น. แทนช่วงเวลานี้ว่า midday or noon

ส่วนในการพูดอย่างเป็นทางการ สามารถใช้ “a.m.” หรือ “p.m.” ประกอบได้อยู่เหมือนเดิม
เช่น  เวลา 05:15 น. บอกได้ว่า 

It is five fifteen a.m.

= เป็นเวลา ตีห้า  สิบห้านาที

แต่ถ้าไม่เป็นทางการมาก เช่นบอกเวลาเพื่อนที่อยู่ใกล้ๆกัน
ก็สามารถพูดได้ว่า It is ten fifteen.
(ไม่ต้องบอก a.m. ก็ได้ แต่หากช่วงเวลาที่คุยเป็นกลางวัน เพื่อนก็จะเข้าใจไปโดยปริยายว่า มันคือเวลา สิบโมง สิบนาที )

ในกรณีที่ลืมว่า ควรจะใช้ a.m. หรือ p.m. ดี ให้ใช้วลีบอกเวลา เพ่อให้ผู้ที่เราพูดด้วยรู้ว่าเรากำลังบอกเวลาช่วงไหน โดยใช้ in/at แล้วตามด้วยช่วงเวลา เช่น

in the morning = ช่วงเช้า
at midday = เที่ยงวัน
at midnight = เที่ยงคืน
in the afternoon = ตอนบ่าย
in the evening = ตอนเย็น
at night = ตอนกลางคืน

 

แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันอยู่ แต่คนที่เลือกใช้ก็คือตัวเราเอง ครูแนะนำให้ดูบริบทการใช้ให้มากนะคะ เช่นตัวอย่างประโยคด้านล่างนี้นะคะ

 

Situation I: At the train station (สถานการณ์เกิดที่ลานชาลาสถานีรถไฟ)

 

 

Romeo: Excuse me sir, what time is it now?
= ขอโทษนะครับ ตอนนี้เป็นเวลากี่โมงแล้ว

Tom: It’s a half past ten.
= ตอนนี้ผ่านสิบนาฬิกามาครึ่งชั่วโมงแล้วครับ

Rome: Thank you sir. When will the next train arrive?
= ขอบคุณครับ แล้วรถไฟเที่ยวถัดไปจะมากี่โมงครับ

Tom: It will arrive in a minute.
= เดี๋ยวก็มาแล้วครับ

 

Situation II: At NokAcademy School (สถานการณ์เกิดที่โรงเรียน นกอะคาเดมี)

 

Nestie: Jenny, what time is it now?
= เจนนี่ ตอนนี้กี่โมงแล้ว

Jenny: It’s 9 O’ clock. Why did you ask?
= ตอนนี้เก้าโมง ถามทำไม

Nestie: Oh my gosh, we need to go now.
= โอ้ มาย กอด เราต้องไปตอนนี้เลย

Jenny: Why?
= ทำไมล่ะ

Nestie: The class was already begun 10 minutes ago.
= ชั้นเรียนเริ่มเมื่อ 10 นาทีที่แล้ว (เราเข้าชั้นเรียนสาย 10 นาทีแล้ว)

น้องๆนักเรียนทุกคน อย่าลืมทบทวนบทเรียน  เรื่อง การบอกเวลาในภาษาอังกฤษ กับทีชเชอร์กรีซได้ที่วีดีโอด้านล่างนี้นะคะ แล้วเจอกันใหม่ค่า
See you again next time.

+1


เปิดฤดูตกปลาม้า ปี64 แม่น้ำเจ้าพระยา ทำต้มปลากินบนเรือ!!! #LGFT272


สนใจสั่งซื้อเหยื่อ LINE @LGFT
โทร 0969819802
…………..ร่วมสนับสนุนรายการได้ที่……………………..
เลขบัญชี 6102104631 ธนภัทร เสาร์สูงยาง ธนาคาร กสิกรไทย
True Wallet : 0969819802
Paypal : https://paypal.me/LetGoFishingThailand
ติดต่อรายการได้ที่
email : [email protected]
ขอให้สนุกกับการตกปลา…
ขอบคุณที่รับชม กดติดตามด้วยนะคับจะทำคลิปให้ชมบ่อยๆ
สนใจลงเรือตกปลา กัปตันณัฐ 0838334540 หรือLine natthasorn81
https://www.facebook.com/search/top?q=%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9B%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%93%E0%B8%B1%E0%B8%90%20%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2
ตกปลาตกปลาหน้าดินแม่น้ำเจ้าพระยาตกปลาม้า
ปลาม้า เป็นปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Boesemania microlepis อยู่ในวงศ์ปลาจวด (Sciaenidae)
มีรูปร่างเพรียวเล็กไปทางด้านท้ายลำตัว หัวค่อนข้างเล็ก หน้าผากเว้าลึก ตาอยู่สูงไปทางด้านบนของหัว ปากกว้างอยู่ด้านล่างของจะงอยปาก ใต้คางมีรูเล็ก ๆ 5 รู ครีบหลังยาวตลอดส่วนหลัง ตอนหน้าเป็นก้านแข็ง ตอนท้ายเป็นก้านอ่อน โคนหางเรียวเล็ก ครีบก้นมีก้าสนแข็งอันใหญ่หนา ครีบอกยาว ครีบท้องมีปลายเป็นเส้นยาวเช่นเดียวกับครีบหาง เกล็ดมีความเล็กมาก ลำตัวสีเทาอ่อนอ่อนเหลือบเงิน ด้านหลังมีสีคล้ำ ด้านข้างลำตัวมีแถบสีคล้ำจาง ๆ เป็นแนวเฉียงหลายแถบ ด้านท้องสีจาง ครีบใส จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Boesemania[2]
มีความประมาณ 25–30 เซนติเมตร พบใหญ่สุดถึง 1 เมตร
อาศัยอยู่ในแม่น้ำขนาดใหญ่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และพบในแหล่งน้ำนิ่งบ้าง บ่อปลา หรือบ่อกุ้งที่อยู่ใกล้ทะเล พบมากในแม่น้ำตอนล่าง แต่ก็พบในแหล่งน้ำที่ไกลจากปากแม่น้ำมากเช่นกัน พบในภาคกลาง ภาคเหนือ และในแม่น้ำโขงในภาคอีสานของไทย โดยพบสูงสุดถึงที่จังหวัดเลย[1] ชื่อปลาม้ามาจากการที่มีครีบหลังยาวเหมือนแผงคอของม้า[3] ขณะที่ชื่อในภาษาอีสานเรียกว่า \”ปลากวง\”
พฤติกรรมมักกบดานอยู่นิ่งใต้พื้นน้ำ เมื่อว่ายน้ำจะเชื่องช้า แต่จะรวดเร็วมากเวลาไล่จับเหยื่อ ในธรรมชาติชอบอาศัยในเขตน้ำลึก กินอาหารจำพวกสัตว์น้ำขนาดเล็กกว่า
ปลาม้าเป็นปลาที่มีชื่อเสียงมากของจังหวัดสุพรรณบุรี จนถึงมีอำเภอชื่อ อำเภอบางปลาม้า เพราะความที่ในอดีตเคยชุกชุม เนื่องจากเป็นปลาที่มีรสชาติอร่อย เป็นที่นิยมมาก มีราคาขายที่สูง และเคยพบมากในบึงบอระเพ็ด แต่สถานภาพในปัจจุบันลดลงมาก อันเนื่องจากสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนไป และการจับในปริมาณที่มาก
ปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้ว ด้วยการฟักไข่ที่ได้จากพ่อแม่ปลาที่เลี้ยงรวมกันในบ่อเลี้ยง และนำลูกปลาที่ได้หลังจากเลี้ยงดูจนโตได้ที่แล้วไปปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ โดยเฉพาะที่เขื่อนกระเสียว ปลาม้ามีฤดูผสมพันธุ์ตลอดปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูหนาวในช่วงต้นปี สามารถส่งเสียงร้องได้ดังระงมเหมือนอึ่งอ่าง เพื่อดึงดูดปลาตัวเมียให้มาผสมพันธุ์ มักจะร้องในช่วงกลางคืนเริ่มตั้งแต่พลบค่ำ[3] กระเพาะของปลาม้า ขึ้นชื่อมากในการทำกระเพาะปลา เพราะมีกระเพาะขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถพองลมทำให้เกิดเสียงได้ นอกจากนี้แล้วกระเพาะปลาม้ายังใช้ทำเป็นยางในของรถจักรยานและทำกาวในอดีตอีกด้วย แต่ปลาม้าเป็นปลาที่ตายง่ายมากเมื่อจับพ้นจากน้ำ
นอกจากนี้ยังนิยมเลี้ยงเป็นปลาตู้สวยงามอีกด้วย
ปลาสายยู (อังกฤษ: Clubbarbel sheatfish; ชื่อวิทยาศาสตร์: Ceratoglanis pachynema) ปลาน้ำจืดชนิดหนึ่ง อยู่ในวงศ์ปลาเนื้ออ่อน (Siluridae) เป็นปลาไม่มีเกล็ด หัวเล็กมีสีแดงเรื่อ ๆ ปากเล็กอยู่ด้านล่าง มีหนวดสั้นเป็นติ่งขอใกล้จมูก คล้ายสายยูแม่กุญแจ อันเป็นที่มาของชื่อ ตาเล็กมาก ลำตัวแบนข้างมีสีชมพูหรือสีนวล ครีบมีขอบสีคล้ำ ครีบก้นยาวมาก มีลำตัวประมาณ 25 เซนติเมตร พบใหญ่สุด 40 เซนติเมตร
มีพฤติกรรมกระดิกหนวดอย่างรวดเร็วขณะว่ายน้ำ โดยภายในเวลา 1 นาที สามารถกระดิกหนวดได้ถึง 125 ครั้ง สันนิษฐานว่าเป็นการส่งสัญญาณหาอาหารตามท้องน้ำ โดยอาหารได้แก่ สัตว์หน้าดินต่าง ๆ กุ้ง, แมลงน้ำ เป็นต้น
พบเพียงที่เดียวในโลกเท่านั้น คือ บริเวณลุ่มแม่น้ำบางปะกง ปัจจุบันมีสถานะเป็นปลาใกล้สูญพันธุ์อย่างวิกฤตในธรรมชาติ แต่ก็เป็นที่เสาะแสวงหาของนักเลี้ยงปลาด้วย โดยเป็นปลาที่มีราคาสูงมาก
มีชื่อเรียกอื่นว่า \”เกด\” [2]
อนึ่ง ชื่อสายยู นี้เป็นชื่อที่เรียกซ้ำซ้อนกับปลาในหลายชนิด หลายสกุล เช่น ปลาในสกุล (Pangasius spp.) ในวงศ์ปลาสวาย (Pangasiidae) หรือปลาหวีเกศ (Platytropius siamensis) ในวงศ์ปลาหวีเกศ (Schilbedae) เป็นต้น

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

เปิดฤดูตกปลาม้า ปี64 แม่น้ำเจ้าพระยา ทำต้มปลากินบนเรือ!!! #LGFT272

น่าอาย คนสวนพูดภาษาอังกฤษได้ l Lw Film


หนังสั้น เรื่องราวสะท้อนสังคม เตือนภัยต่างๆ
หนังสั้น ละครสั้น

น่าอาย คนสวนพูดภาษาอังกฤษได้ l Lw Film

พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ – ตลอดเวลา (Long Version)【Official Audio】


ตลอดเวลา พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ เวอร์ชั่น 4 นาที โดยเพลง ตลอดเวลา เวอร์ชั่นนี้ มีเนื้อเพลงเพิ่มเติมจากเวอร์ชั่นแรกที่ถูกบรรจุในอัลบั้ม เสือตัวที่ 11 เมื่อปี 2533
Remastered by Woody Pornpitaksuk @Westside Mastering
เนื้อเพลง
พักสายตาเถอะนะคนดี
หลับลงตรงนี้ ที่ที่มีแต่เราสองคน
ผ่านเรื่องราวผ่านงานผ่านคน สับสนหลายความ
บางเวลาต้องการสักคน ไว้คอยปลอบใจ เข้าใจ พูดคุย
ความรักเอย งดงามอย่างนี้
จนชั่วชีวี โหยหาความรักไม่เคยพอ
จะอยู่ที่ใด หนใดก็ดี
ขอให้มีเธอ สุขอย่างนี้ไม่มีใดเทียม
พักกาย พักใจ หลับตาฝันดี
รักเอย รับที เข้าใจถึงกัน
ความรักเอย งดงามอย่างนี้
จนชั่วชีวี โหยหาความรักไม่เคยพอ
อยากให้เธอเคียงข้างอย่างนี้
บอกรักอีกที อยู่ใกล้กันตลอดเวลา
พักกาย พักใจ หลับตาฝันดี
รักเอย รับที เข้าใจถึงกัน
พักกาย พักใจ หลับตาฝันดี
รักเอย รับที เข้าใจถึงกัน
【 ช่องทางติดตามข่าวสาร ปู พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ 】
Facebook ► http://www.facebook.com/pupongsitofficial
Instagram ► http://instagram.com/pupongsitofficial
LINE ► @PuPongsitOfficial หรือ http://line.me/ti/p/%40pupongsitofficial
TikTok ► https://vt.tiktok.com/ZSJBeAeu5/

พงษ์สิทธิ์ คำภีร์ - ตลอดเวลา (Long Version)【Official Audio】

คัมภีร์กัลป์สุดท้าย พุทธพยากรณ์ภัยพิบัติโลก[กำเนิดนอสตราดามุส]


ปักหมุด ไม่ได้มีเจตนา ที่จะนำเสนอเพื่อที่จะให้ท่านผู้ฟังทุกท่าน เกิดความวิตก ตื่นกลัวหรือไม่สบายใจแต่อย่างใด เพียงแต่ เป็นการนำเสนอเพื่อเป็นเกล็ดความรู้เท่านั้น โปรดใช้วิจารณญานในการรับฟังด้วยนะครับ…ขอบคุณครับ…
ปักหมุด เปิดประวัติบุคคลสำคัญของโลก..
……..นอสตราเดมัส ไทยมักเรียก นอสตราดามุส (อังกฤษ: Nostradamus) ชื่อจริงว่า มีแชล เดอ นอสทร์ดาม (ฝรั่งเศส: Michel de Nostredame; เกิด 14 หรือ 21 ธันวาคม 1503 แล้วแต่แหล่งข้อมูล ตาย 2 กรกฎาคม 1566) เป็นชาวฝรั่งเศสซึ่งเป็นเภสัชกร (apothecary) และหมอดูที่มีชื่อเสียง เพราะเผยแพร่ชุดคำทำนายซึ่งเลื่องชื่อที่สุดในโลกหลายชุด โดยเฉพาะ เลพรอเฟซี (Les Propheties) ที่พิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี 1555 เมื่อเผยแพร่หนังสือชุดดังกล่าวแล้ว นอสตราเดมัสก็ได้รับความสนใจจากสำนักพิมพ์ใหญ่หลายแห่ง พร้อมกิตติศัพท์ว่า สามารถทำนายทายทักเหตุการณ์สำคัญหลายเรื่องในโลก
คำพยากรณ์ภัยพิบัติสงครามโลก3การทำนายโชคชะตาราศี

คัมภีร์กัลป์สุดท้าย พุทธพยากรณ์ภัยพิบัติโลก[กำเนิดนอสตราดามุส]

AM กับ PM ใช้ต่างกันยังไง และใช้ตอนไหน? – English Tips EP.1


หลายคนอาจจะงงว่า AM กับ PM คืออะไร? ใช้ยังไง? และต้องใช้ตอนไหน? หลายคนรู้แล้วแต่ก็ยังสับสนอยู่ว่าตอนไหนใช้ AM ตอนไหนใช้ PM English Tips ตอนแรกวันนี้จะมาไขข้อสงสัย และมีเทคนิคทำความเข้าใจวิธีใช้แบบง่ายๆ มาให้ทุกคนได้ใช้อย่างถูกต้องกัน รับรองว่าจำง่าย ใช้ได้ และไม่ลืมแน่นอน
EnglishTips
อยากฝึกพูดภาษาอังกฤษตัวต่อตัว หรือเรียนภาษาอังกฤษออนไลน์แบบบุฟเฟ่ต์
สมัครได้เลย ​https://www.unfoxenglish.com/
สอบถามแอดไลน์ ​https://lin.ee/5uEdKb7h
ติดตามช่อง YouTube ส่วนตัว
ช่องยูทูปของแล็คต้า https://www.youtube.com/lactawarakorn
ช่องยูทูปของเบล https://www.youtube.com/bellvittawut
ติดตามช่องทางอื่นๆ และพูดคุยกันได้ที่
ชุมชนคนรักภาษาอังกฤษ https://www.unfoxenglish.com
FB: https://www.facebook.com/unfoxenglish
Twitter: https://www.twitter.com/unfoxenglish
Lacta’s IG: https://www.instagram.com/lactawarakorn
Bell’s IG: https://www.instagram.com/toshiroz
ติดต่องาน
Email: [email protected]
Line: http://nav.cx/oOH1Q6T

AM กับ PM ใช้ต่างกันยังไง และใช้ตอนไหน? - English Tips EP.1

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ใกล้ถึงเวลา ภาษาอังกฤษ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *