Skip to content
Home » [NEW] บทเรียน รายวิชา การแปลเบื้องต้น 1 | เขียน คํา ศัพท์ ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

[NEW] บทเรียน รายวิชา การแปลเบื้องต้น 1 | เขียน คํา ศัพท์ ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

เขียน คํา ศัพท์ ภาษา อังกฤษ: คุณกำลังดูกระทู้

การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
การเขียนคำทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน
1. การทับศัพท์ให้ถอดอักษรในภาษาเดิม พอควรแก่การแสดงที่มาของรูปศัพท์ และให้เขียนในรูปที่อ่านได้สะดวกในภาษาไทย
2. การวางหลักเกณฑ์ ได้แยกกำหนดหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ แต่ละภาษาไป
3. คำทับศัพท์ที่ใช้กันมานานจนถือเป็นภาษาไทย และปรากฏใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แล้ว ให้ใช้ต่อไปตามเดิม เช่น ช็อกโกเลต ช็อกโกแลต เชิ้ต ก๊าซ แก๊ส
4. คำวิสามานยนามที่ใช้กันมานานแล้ว อาจใช้ต่อไปตามเดิม เช่น Victoria = วิกตอเรีย, Louis = หลุยส์ หรือ Cologne = โคโลญ เป็นต้น
5. ศัพท์วิชาการซึ่งใช้เฉพาะกลุ่ม ไม่ใช่ศัพท์ทั่วไป อาจเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ขึ้นตามความจำเป็น
1. สระ ให้ถอดตามการออกเสียงในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ โดยเทียบเสียงสระภาษาไทยตามตารางเทียบเสียงสระภาษาอังกฤษ
2. พยัญชนะ ให้ถอดเป็นพยัญชนะภาษาไทยตามหลักเกณฑ์ในตารางเทียบพยัญชนะภาษาอังกฤษ
3. การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต
3.1 พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่น horn = ฮอร์น
3.2 คำหรือพยางค์ที่ตัวสะกดมีพยัญชนะตามมาหลายตัว ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาต ไว้บนพยัญชนะที่ไม่ออกเสียงตัวสุดท้าย แต่เพียงแห่งเดียว เช่น Barents = แบเร็นตส์
3.3 คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงอยู่หน้าตัวสะกด ที่ยังมีพยัญชนะตามหลังมาอีก ให้ตัดพยัญชนะที่อยู่หน้าตัวสะกดออก และใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้าย เช่น world = เวิลด์ (ไม่ใช่ เวิร์ล)
4. การใช้ไม้ไต่คู้ ควรใช้ในกรณีต่อไปนี้
4.1 เพื่อให้เห็นแตกต่างจากคำไทย เช่น ล็อก = log (ให้ต่างจากคำว่า ลอก ในภาษาไทย)
4.2 เพื่อช่วยให้ผู้อ่านแยกพยางค์ได้ถูกต้อง เช่น โอค็อตสก์ = Okhotsk
5. การใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ การเขียนคำทับศัพท์ ไม่ต้องใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์
ยกเว้นในกรณีที่คำนั้นมีเสียงซ้ำกับคำไทย จนทำให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ เช่น coma = โคม่า (ไม่ใช่ โคมา (วัวมา))
6. พยัญชนะซ้อน (double letter) คำที่มีพยัญชนะซ้อนเป็นตัวสะกด ถ้าเป็นศัพท์ทั่วไป ให้ตัดออกตัวหนึ่ง เช่น football = ฟุตบอล
แต่ถ้าเป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้เก็บไว้ทั้ง 2 ตัว โดยใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้ที่ตัวท้าย เช่น cell = เซลล์ (ไม่ใช่ เซล)
ถ้าพยัญชนะซ้อนอยู่กลางศัพท์ให้ถือว่า พยัญชนะซ้อนตัวแรกเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า และพยัญชนะซ้อนตัวหลัง เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น broccoli = บรอกโคลี
7. คำที่ตัวสะกดของพยางค์หน้าออกเสียงเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ตัวต่อไปด้วย ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
7.1 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นเสียงสระอะ ซึ่งเมื่อทับศัพท์ต้องใช้รูปไม้หันอากาศ ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์หน้า เข้าอีกตัวหนึ่งเพื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น double = ดับเบิล
7.2 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นสระอื่นที่ไม่ใช่สระอะ ให้ทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษโดยไม่ต้องซ้อนพยัญชนะ เช่น California = แคลิฟอร์เนีย
7.3 ถ้าเป็นคำที่เกิดจากการเติมปัจจัย เช่น -er, -ing, -ic, -y และการทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษดังข้อ 7.2 อาจทำให้ออกเสียงผิดไปจากภาษาเดิมมาก ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์ต้นอีกหนึ่งเพื่อให้เห็นเค้าคำเดิม เช่น booking = บุกกิง
8. คำประสมที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ (hyphen) ให้ทับศัพท์โดยเขียนติดต่อกันไป เช่น Cross-stitch = ครอสสติตช์ (ไม่ใช่ ครอส-สติตช์)
ยกเว้นในกรณีที่เป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้คงไว้ เช่น Cobalt-60 = โคบอลต์-60
9. คำประสมซึ่งในภาษาอังกฤษเขียนแยกกัน เมื่อทับศัพท์ให้เขียนติดกันไป ไม่ต้องแยกคำตามภาษาเดิม เช่น night club = ไนต์คลับ
10. คำคุณศัพท์ที่มาจากคำนาม ซึ่งมีปัญหาว่าจะทับศัพท์ในรูปคำนามหรือคำคุณศัพท์นั้น ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
10.1 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายเหมือนคำนาม หรือหมายความว่า “เป็นของ” หรือ “เป็นเรื่องของ” คำนามนั้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำนาม เช่น hyperbolic curve = ส่วนโค้งไฮเพอร์โบลา (ไม่ใช่ ส่วนโค้งไฮเพอร์โบลิก)
10.2 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายว่า “เกี่ยวข้องกับ” หรือ “เกี่ยวเนื่องจาก” คำนามนั้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามโดยใช้ คำประกอบ เชิง แบบ อย่าง ทาง ชนิด ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย เช่น electronic power conversion = การแปลงผันกำลังเชิงอิเล็กทรอนิกส์
10.3 ในกรณีที่การทับศัพท์ในรูปคำนามตามข้อ 10.1 และข้อ 10.2 ทำให้เกิดความหมายกำกวมหรือคลาดเคลื่อน ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์ เช่น metric system = ระบบเมตริก (ไม่ใช่ ระบบเมตร)
11. คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล ให้ทับศัพท์ตามชื่อของบุคคลนั้น ๆ โดยใช้คำประกอบ ของ แบบ ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย เช่น Euclidean geometry = เรขาคณิตระบบยุคลิด
ยกเว้นในกรณีที่คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล เป็นชื่อเฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในแต่ละวงการ ซึ่งอาจสังเกตได้จากการที่ในภาษาอังกฤษไม่ได้ใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์
12. คำคุณศัพท์เกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามที่เป็นชื่อประเทศ เช่น Swedish people = คนสวีเดน (ไม่ใช่ คนสวีดิช) Hungarian dance = ระบำฮังการี (ไม่ใช่ ระบำฮังกาเรียน)
ยกเว้นชื่อที่เคยใช้มานานแล้ว ได้แก่ …เยอรมัน …กรีก …ไอริช …ดัตช์ …สวิส …อังกฤษ และ …อเมริกัน เช่น เรือกรีก (ไม่ใช่ เรือกรีซ) รถอเมริกัน (ไม่ใช่ รถอเมริกา)
13. การวางตำแหน่งคำคุณศัพท์ในคำทับศัพท์ ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
13.1 คำคุณศัพท์ที่ประกอบคำนามที่เป็นภาษาไทย หรือเป็นคำทับศัพท์ แต่ได้ใช้ในภาษาไทยมาจนถือเป็นคำไทยแล้ว ให้วางคำคุณศัพท์ไว้หลังคำนาม เช่น cosmic ray = รังสีคอสมิก
13.2 ถ้าทั้งคำคุณศัพท์และคำนามเป็นคำทับศัพท์ที่ยังไม่ถือเป็นคำไทย ให้ทับศัพท์ตรงตามศัพท์เดิม เช่น Arctic Circle = อาร์กติกเซอร์เคิล (ไม่ใช่ วงกลมอาร์กติก)
13.3 ถ้าต้องการเน้นว่าคำนามนั้นเป็นสิ่งที่มีหลายชนิดและคำคุณศัพท์ที่ประกอบเป็นชนิดหนึ่งของคำนามนั้น อาจทับศัพท์โดยใช้คำประกอบ แบบ ชนิด ระบบ ฯลฯ มาแทรกไว้ระหว่างคำนามกับคำคุณศัพท์ เช่น normal matrix = เมทริกซ์แบบนอร์แมล
14. คำย่อ ให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้น ๆ ลงเป็นภาษาไทย คำย่อให้เขียนติดกัน โดยไม่ใส่จุดและไม่เว้นวรรค ได้แก่ DDT เขียน ดีดีที และ F.B.I. เขียน เอฟบีไอ
15. คำทับศัพท์ที่ผูกขึ้นจากตัวย่อ ซึ่งอ่านออกเสียงได้เสมือนคำคำหนึ่ง มิได้ออกเสียงเรียงตัวอักษร ให้เขียนตามเสียงที่ออกและไม่ต้องใส่จุด เช่น UNESCO = ยูเนสโก
16. ตัวย่อชื่อบุคคล ให้เขียนโดยใส่จุด และเว้นช่องไฟระหว่างชื่อกับนามสกุล เช่น D.N. Smith = ดี.เอ็น. สมิท
ตามประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง ฉบับวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2542 ได้กำหนดไว้ ดังนี้
หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันนี้ เป็นการถอดโดยวิธีถ่ายทอดเสียง (Transcription) เพื่อให้อ่านคำภาษาไทยที่เขียนด้วยอักษรโรมันให้ได้เสียงใกล้เคียง โดยไม่คำนึงถึงการสะกดการันต์ และวรรณยุกต์ เช่น จันทร์ = chan, พระ = phra, แก้ว = kaeo
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะ
พยัญชนะไทย อักษรโรมัน ตัวอย่าง
ตัวต้น ตัวสะกด
ก k k กา = ka , นก = nok
ข ฃ ค ฅ ฆ kh๑
k ขอ = kho , สุข = suk , โค = kho , ยุค = yuk , ฆ้อง = khong , เมฆ = mek
ง ng ng งาม = ngam , สงฆ์ = song
จ ฉ ช ฌ ch๒
t จีน = chin , อำนาจ = amnat , ฉิ่ง = ching , ชิน = chin , คช = khot , เฌอ = choe
ซ ทร(เสียง ซ) ศ ษ ส s t ซา = sa , ก๊าซ = kat , ทราย = sai , ศาล = san , ทศ = thot , รักษา = raksa , กฤษณ์ = krit , สี = si , รส = rot
ญ y n ญาติ = yat , ชาญ = chan
ฎ ฑ (เสียง ด) ด d t ฎีกา = dika , กฎ = kot , บัณฑิต = bandit , ษัฑ = sat , ด้าย = dai , เป็ด = pet
ฏ ต t t ปฏิมา = patima , ปรากฏ = prakot , ตา = ta , จิต = chit
ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ th๑
t ฐาน = than , รัฐ = rat , มณฑล = monthon , เฒ่า = thao , วัฒน์ = wat , ถ่าน = than , นาถ = nat , ทอง = thong , บท = bot , ธง = thong , อาวุธ = awut
ณ น n n ประณีต = pranit , ปราณ = pran , น้อย = noi , จน = chon
บ b p ใบ = bai , กาบ = kap
ป p p ไป = pai , บาป = bap
ผ พ ภ ph๑
p ผา = pha , พงศ์ = phong , ลัพธ์ = lap , สำเภา = samphao , ลาภ = lap
ฝ ฟ f p ฝั่ง = fang , ฟ้า = fa , เสิร์ฟ = soep
ม m m ม้าม = mam
ย y – ยาย = yai
ร r n ร้อน = ron , พร = phon
ล ฬ l n ลาน = lan , ศาล = san , กีฬา = kila , กาฬ = kan
ว w – วาย = wai
ห ฮ h – หา = ha , ฮา = ha
ตารางเทียบเสียงสระ
สระ อักษรโรมัน ตัวอย่าง
อะ , -ั (อะ ลดลรูป) , รร (มีตัวสะกด) , อา a ปะ = pa , วัน = wan , สรรพ = sap , มา = ma
รร (ไม่มีตัวสะกด) an สรรหา = sanha , สวรรค์ = sawan
อำ am รำ = ram
อิ , อี i มิ = mi , มีด = mit
อึ , อื ue๑
นึก = nuek , หรือ = rue
อุ , อู u ลุ = lu , หรู = ru
เอะ , เ-็ (เอะ ลดรูป) , เอ e เละ = le , เล็ง = leng , เลน = len
แอะ , แอ ae และ = lae , แสง = saeng
โอะ , – (โอะ ลดรูป) , โอ , เอาะ , ออ o โละ = lo , ลม = lom , โล้ = lo , เลาะ = lo , ลอม = lom
เออะ , เ- ิ (เออะ ลดรูป) , เออ oe เลอะ = loe , เหลิง = loeng , เธอ = thoe
เอียะ , เอีย ia เผียะ = phia , เลียน = lian
เอือะ , เอือ uea๒
– * , เลือก = lueak

อัวะ , อัว , – ว- (อัว ลดรูป) ua ผัวะ = phua , มัว = mua , รวม = ruam
ใอ , ไอ , อัย , ไอย , อาย ai ใย = yai , ไล่ = lai , วัย = wai , ไทย = thai , สาย = sai
เอา , อาว ao เมา = mao , น้าว = nao
อุย ui ลุย = lui
โอย , ออย oi โรย = roi , ลอย = loi
เอย oei เลย = loei
เอือย ueai เลื้อย = lueai
อวย uai มวย = muai
อิว io๓
ลิ่ว = lio
เอ็ว , เอว eo เร็ว = reo , เลว = leo
แอ็ว , แอว aeo แผล็ว = phlaeo , แมว = maeo
เอียว iao เลี้ยว = liao
ฤ (เสียง รึ) , ฤา rue ฤษี , ฤาษี = ruesi
ฤ (เสียง ริ) ri ฤทธิ์ = rit
ฤ (เสียง เรอ) roe ฤกษ์ = roek
ฦ , ฦา lue – * , ฦาสาย = luesai

หมายเหตุ ::
๑. ในทางสัทศาสตร์ ใช้ h เป็นตัวสัญลักษณ์เพื่อแสดงลักษณะเสียงธนิต (เสียงที่กลุ่มลมพุ่งตามออกมาในขณะออกเสียง) h ที่ประกอบหลัง k p t จึงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทางสัทศาสตร์ดังนี้

k แทนเสียง ก เพราะเป็นเสียงสิถิล (เสียงที่ไม่มีกลุ่มลมพุ่งออกมาในขณะออกเสียง) kh จึงแทนเสียง ข ฃ ค ฅ ฆ เพราะเป็นเสียงธนิต
p แทนเสียง ป ซึ่งเป็นเสียงสิถิล ph จึงแทนเสียง ผ พ ภ เพราะเป็นเสียงธนิต ไม่ใช่แทนเสียง ฟ
t แทนเสียง ฏ ต ซึ่งเป็นเสียงสิถิล th จึงแทนเสียง ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ เพราะเป็นเสียงธนิต
๒. ตามหลักสัทศาสตร์ ควรใช้ c แทนเสียง จ ซึ่งเป็นเสียงสิถิล และ ch แทนเสียง ฉ ช ฌ ซึ่งเป็นเสียงธนิต ดังที่ใช้กันในภาษาบาลี-สันสกฤต เขมร ฮินดี อินโดนีเซีย และภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษแต่ที่มิได้แก้ไขให้เป็นไปตามหลักสัทศาสตร์ เนื่องจากเกรงว่าจะทำให้ไข้วเขวกับการสะกดและออกเสียงตัว c ในภาษาอังกฤษซึ่งคนไทยมักใช้แทนเสียง ค หรือ ซ ตัวอย่างเช่น จน/จิต หากเขียนตามหลักสัทศาสตร์เป็น con/cit ก็อาจจะออกเสียงตัว c เป็นเสียง ค ในคำว่า con และออกเสียง ช ในคำว่า cit ดังนั้นจึงยังคงใช้ ch แทนเสียง จ ตามที่คุ้นเคย เช่น จุฬา = chula , จิตรา = chittra

หมายเหตุ ::
๑. ตามหลักเดิม อึ อื อุ อู ใช้ u แทนทั้ง ๔ เสียง แต่เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างเสียง อึ อื กับ อุ อู จึงใช้ u แทน อุ อู และใช้ ue แทน อึ อื
๒. ตามหลักเดิม เอือะ เอือ อัวะ อัว ใช้ ua แทนทั้ง ๔ เสียง แต่เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างเสียง เอือะ เอือ กับ อัวะ อัว จึงใช้ ua แทน อัวะ อัว และ uea แทน เอือะ เอือ เพราะ เอือะ เอือ เป็นสระประสมซึ่งประกอบด้วยเสียง อึ หรือ อื (ue) กับเสียง อะ หรือ อา (a)
๓. ตามหลักเดิม อิว ใช้ iu และเอียว ใช้ ieu แต่เนื่องจากหลักเกณฑ์นี้เสียงที่มี ว ลงท้ายและแทนเสียงด้วย o ซึ่งได้แก่ เอา อาว (ao) , เอ็ว เอว (eo) , แอ็ว แอว (aeo) ดังนั้นเพื่อให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน อิว ซึ่งเป็นเสียง อิ กับ ว จึงแทนด้วย i + o คือ io ส่วนเสียง เอียว ซึ่งมาจากเสียง เอีย กับ ว จึงแทนด้วย ia + o เป็น iao
* ไม่มีคำประสมด้วยสระเสียงนี้ในภาษาไทย

หลักการถอดเสียงอังกฤษ-ไทย
1. เขียนตามเสียงเดิม โดยเขียนเป็นภาษาไทยให้สามารถอ่านได้
2. ตัวอักษรที่ใช้สามารถให้คนอ่านและเข้าใจต้นเสียงได้ รวมทั้ง “ร์” หมายถึงเสียง R, “ส์” หมายถึงเสียง S และเสียงอื่นๆที่ไม่มีในภาษาไทย แต่ถ้าขัดกับกฏข้างบน ให้ตัดเสียงที่ทำให้การอ่านภาษาไทยยากออก เช่น Forbes เขียน ฟอรบส์ ฟอบส์ หรือ ฟอร์บ ???
3. เสียงสะกดให้ใช้คำที่ง่ายต่อการออกเสียงสะกด เช่น P ใช้ เสียง พ แต่สะกดด้วย ป (แม่กบ) และ T ใช้ เสียง ท แต่สะกด ต.เต่า (แม่กด)
4. คำบางคำที่ทับศัพท์มาจากภาษาอื่น และใช้ตัวอักษรเพื่ออ้างถึงที่มา คำอ่านอาจจะเปลี่ยนไป เช่น เสียง L ใช้ลงท้ายด้วย ล.ลิง อ่านคล้ายการสะกดในแม่เกอว ไม่ใช่ แม่กน เช่น อีเมล อ่านคล้าย อี-เมว ไม่ใช่ อี-เมน
5. เสียง อู ในภาษาอังกฤษดั้งเดิม กับอังกฤษอเมริกัน ออกเสียง บางคำออกเสียงต่างกัน U ที่ออกเสียง อู ถ้าอยู่คำแรกเป็น ยู ถ้าอยู่ในประโยคออกเสียง อิว ออกเสียง อูเฉพาะ ชื่อเฉพาะ และคำที่นำหน้าด้วย B, D, L N, R, S, T, X สำหรับคำภาษาอังกฤษอังกฤษ และไม่ออกเสียงสำหรับขึ้นต้นด้วย J (ตามหลักเสียงวายล่องหน) เช่น institute ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น อินสทิทูต และ อินสทิทิวต์
6. คำที่มาจากภาษาอื่น การอ่านออกเสียงจะไม่ตรงซึ่งไม่สามารถใช้หลักการทับศัพท์ได้ เช่น entree (รากศัพท์ฝรั่งเศส) อองเทร, karaoke (ญี่ปุ่น) คาราโอเกะ
7. คำบางคำมาจากรากศัพท์เดิม ซึ่งเกิดจากการแปลรูปสระ การอ่านออกเสียงอ่านตามเสียงเดิม ทำให้หลักการกำหนดได้ไม่ครบ เช่น คำว่า dove (นกชนิดหนึ่ง) มาจาก duv ซึ่งอ่านว่า “ดัฟ”
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
a แอ
อะ
อา
เอ
ออ badminton แบดมินตัน aea เอีย Judaea จูเดีย
aluminium อะลูมิเนียม aer เออ kaersutite เคอร์ซูไทต์
Chicago ชิคาโก ai เอ
ไอ Spain สเปน
Asia เอเชีย Cairo ไคโร
football ฟุตบอล air แอ Bel Air เบลแอร์
aa อา
แอ bazaar บาซาร์ ao เอา Mindanao มินดาเนา
Aaron แอรอน ar แอ
อา
ออ
เออ arrow แอร์โรว์
ae อี*
แอ
เอ Aegean อีเจียน bar บาร์
aerosphere แอโรสเฟียร์ ward วอร์ด
sundae ซันเด Edward เอดเวิร์ด
a_e เอ date เดต au อา
ออ
เอา
โอ***
แอ laugh ลาฟ
are แอ** mare แมร์ Augusta ออกัสตา
aw ออ lawerence ลอว์เรนซ์ Bissau บิสเซา
ay เอ Malay มาเลย์ Auger โอเจอร์
ayr แอ Ayrcher แอร์เชอร์ Laughlin แลฟลิน
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
e อี
เอ
อิ*
เอะ Sweden สวีเดน eer เอีย beer เบียร์
Lebanon เลบานอน ei อี
ไอ
เอ Neit นีต
electronics อิเล็กทรอนิกส์ Einsteinium ไอน์สไตเนียม
Mexico เม็กซิโก Beirut เบรุต
ea อี
เอ
เอีย Guinea กินี eir แอ
เอีย
เออ heir แอร์
Dead Sea เดดซี Peirse เพียร์ส
Caribbean แคริบเบียน Peirce เพิร์ส
ear แอ
เอีย
อา
เออ Bear แบร์ eo อี
เอ
เอีย
เอียว people พีเพิล
gear เกียร์ Leominster เลมินสเตอร์
heart ฮาร์ต Napoleon นะโปเลียน
Pearl Harbour เพิร์ลฮาร์เบอร์ Borneo บอร์เนียว
ere เอีย Cashmere แคชเมียร์ ew^ อิว
โอ***
อู New York นิวยอร์ก^^
eau โอ**
อิว Beaufort โบฟอร์ต sew โซว์
beauty บิวตี Andrew แอนดรูว์
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
eu^ อิว
ยุ
ยู
เอีย
อู leukemia ลิวคีเมีย i อิ
อี
ไอ king คิง
Europe ยุโรป ski สกี
Euphrates ยูเฟรทีส Liberia ไลบีเรีย
oleum โอเลียม ia เอีย India อินเดีย
Reuben รูเบ็น ie อี
เอีย
อาย
ไอ riebeckite รีเบกไกต์
ee อี Greenwich กรีนิช Soviet โซเวียต
eur เออ fleur-de-lis เฟลอร์เดอลีส์ pie พาย
eou โอ Seoul โซล necktie เนกไท
er เออ
อา Canberra แคนเบอร์รา ion เอียน
อัน* Union ยูเนียน
Clerk คลาร์ก lotion โลชัน
ey เอ
อี Yardley ยาร์ดเลย์ ir เออ
อี zircon เซอร์คอน
key คีย์ Pamir ปามีร์
ier เอีย glacier เกลเชียร์ ire ไอ
เออ Ireland ไอร์แลนด์
iew อิว view วิว Hampshire แฮมป์เชอร์
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
ire เอีย Hampshire แฮมป์เชียร์ oor ออ
โอ door ดอร์
iu เอีย aluminium อะลูมิเนียม Doorn โดร์น
o โอ
ออ
อะ
อู Cairo ไคโร oa ออ
โอ
อัว Broadway บรอดเวย์
Tom ทอม Oakland โอกแลนด์
Washington วอชิงตัน Samoa ซามัว
Today ทูเดย์ oar ออ board บอร์ด
oo อุ
อู
อะ foot ฟุต oe โอ
อู
เออ
อี* Joe โจ
wood วูด Shoemaker ชูเมกเกอร์
Bloodsworth บลัดส์เวิร์ท goethite เกอไทต์
oor อัว Moore มัวร์ phoenix ฟีนิกซ์
our ออ
เออ
อัว
โอ bournonite บอร์โนไนต์ or ออ
เออ corruption คอร์รัปชัน
Melbourne เมลเบิร์น Windsor วินด์เซอร์
tour ทัวร์ ore ออ
โอ Thomas More ทอมัส มอร์
Mourne โมร์น Ben More เบน โมร์
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
ou เอา
อาว
โอ
อะ
อุ
อู counter เคาน์เตอร์ ow โอ
เอา
อาว
อู bowling โบว์ลิง
ground กราวนด์ Cowpens เคาว์เพนส์
Boulder โบลเดอร์ townhouse ทาวน์เฮาส์
thermocouple เทอร์โมคัปเปิล Cowper คูว์เปอร์
soup ซุป oy ออย Lloyd ลอยด์
Vancouver แวนคูเวอร์ u^ อะ
อิว
อุ
อู
ยู
อิ Hungary ฮังการี
oer เออ oerlikon เออร์ลิคอน Cuba คิวบา
oi ออย
อัว** thyroid ไทรอยด์ Lilliput ลิลลิพุต
chamois ชามัวส์ Kuwait คูเวต
ua อัว Guadalupe กัวดาลูป Uranium ยูเรเนียม
ue^ อิว
อู Tuesday ทิวส์เดย์ busy บิซี
wuestite วูสไทต์ y อิ
อี
ไอ Odyssey โอดิสซีย์
uy ไอ
อาย Schuyler สไกเลอร์ Syria ซีเรีย
Guy กาย cyclone ไซโคลน
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
ui อุ
อู
อิ
ไอ fruit ฟรุต ye ไอ rye ไรย์
juice จูซ yr เออ Myrna เมอร์นา
circuit เซอร์คิต ure อัว
เออ
เอียว Sure ชัวร์
Ruislip ไรสลิป lecture เลกเชอร์
uir อิว Muir มิวร์ Pure เพียวร์
ur เออ hurricane เฮอร์ริเคน
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษ
คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะต้นหลายตัว และตัวหน้าไม่ออกเสียง เมื่อเขียนทับศัพท์เป็นภาษาไทย ไม่ต้องใส่พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียง เช่น
• gnat = แนต
• knight = ไนต์
• psycho = ไซโค
• pneumonia = นิวมอเนีย
วิสามานยนาม ที่ในภาษาอังกฤษออกเสียงเฉพาะพิเศษนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในตาราง ให้ถอดตามการออกเสียง เช่น
• Worcester = วูสเตอร์
• Marble Arch = มาร์บะลาช

ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
b บ base = เบส บ Gibb = กิบบ์
c ก cubic = คิวบิก
ca, co, cu, cl, cr ค cat = แคต
cone = โคน
Cuba = คิวบา
Cleo = คลีโอ
crown = คราวน์
ce ซ cell = เซลล์ ซ Greece = กรีซ
ci, cy ซ cigar = ซิการ์
cyclone = ไซโคลน
c (ออกเสียง ช) ช glacier = เกลเชียร์ — — รากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส
หมายเหตุ คำที่พยางค์สุดท้ายเป็น ca, co และ cer (ที่ออกเสียงเกอร์) ซึ่งไทยเรานิยมใช้เสียง ก ให้ใช้ ก ตัวอย่าง America = อเมริกา, disco = ดิสโก, soccer = ซอกเกอร์
ch (ออกเสียง ช) ช Chicago = ชิคาโก ช Beach = บีช
ch (ออกเสียง ค) ค Chios = คิออส ก Angioch = แอนติออก รากศัพท์มาจากภาษากรีก

ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
ck — — ก Brunswick = บรันสวิก
หมายเหตุ ck เมื่อเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไปให้ใช้ กก ตัวอย่าง Rocky = รอกกี, locket = ล็อกเกต
d ด dextrin = เดกซ์ทริน ด Dead Sea = เดดซี
f ฟ Fox = ฟอกซ์ ฟ Clifion = คลิฟตัน
g ก magnesium = แมกนีเซียม
ga, ge*, gi*, go, gu, gl, gr ก galaxy = กาแล็กซี
forget-me-not = ฟอร์เกตมีนอต
gift = กิฟต์
golf = กอล์ฟ
gulf = กัลฟ์
Gladstone = แกลดสโตน
grand = แกรนด์ ก rogue = โรก * ge และ gi บางคำออกเสียง ก บางคำออกเสียง จ
ge*, gi*, gy จ gestagen = เจสตาเจน
engineer = เอนจิเนียร์
gyro = ไจโร จ rouge = รูจ
gh ก ghetto = เกตโต ฟ, ก Gough = กอฟ
Pittsburgh = พิตส์เบิร์ก
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
gh (ไม่ออกเสียง) — — — Hugh = ฮิว
gn (g ไม่ออกเสียง) น gneiss = ไนส์ น design = ดีไซน์
หมายเหตุ gn ถ้าเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป แล้วออกเสียง /ñ/ ใช้ นญ ตัวอย่าง Bologna = โบโลนญา, Cognac = คอนญัก
h ฮ Haematite = ฮีมาไทต์
h (ไม่ออกเสียง) — honour = ออเนอร์ ห John = จอห์น
j จ Jim = จิม คำอังกฤษแท้ไม่มีการลงท้ายด้วย j
k ค Kansas = แคนซัส ก York = ยอร์ก
k (เมื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์สุดท้าย) ก bunker = บังเกอร์
market = มาร์เกต
Yankee = แยงกี — —
kh ค khartoum = คาร์ทูม ก Sikh = ซิก
l ล locket = ล็อกเกต ล Shell = เชลล์
m ม micro = ไมโคร ม Tom = ทอม
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
n น nucleus = นิวเคลียส น cyclone = ไซโคลน
หมายเหตุ n เมื่อเป็นตัวสะกดและมีพยัญชนะ c, ch, g, k, qu ฯลฯ ตามแล้วทำให้เสียง n ที่เป็นตัวสะกดออกเสียงเป็น ง ให้ถอด n เป็น ง ตัวอย่าง Anglo-Saxon = แองโกลแซกซัน, function = ฟังก์ชัน, parenchyma = พาเรงคิมา, Frank = แฟรงก์
p พ parabola = พาราโบลา ป capsule = แคปซูล
หมายเหตุ p เมื่อเป็นพยัญชนะต้นให้ใช้ พ โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทย นิยมใช้เสียง ป ให้ใช้ ป ดังนี้ super-; -pa, -pean, -per, -pia, -pic, -ping, -pion, -po, -pus และ -py ตัวอย่าง superman = ซูเปอร์แมน, Europa = ยูโรปา, bumper = บัมเปอร์, topic = ทอปปิก, shopping = ชอปปิง, hippy = ฮิปปี, hippo = ฮิปโป, olympus = โอลิมปัส
ph ฟ phosphorous = ฟอสฟอรัส ฟ graph = กราฟ
q ก Qatar = กาตาร์ ก Iraq = อิรัก
qu (ออกเสียง คว) คว Quebec = ควิเบก — —
qu (ออกเสียง ค) ค Liquor = ลิเคอร์ ก Mozambique = โมซัมบิก
r ร radium = เรเดียม ร barley = บาร์เลย์ เสียง r ไม่ใช่เสียงสะกด แต่เมื่อลงท้ายให้ใช้ทัณฑฆาตเพื่อให้เสียง /ɹ/ ยังอยู่
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
rh ร rhodonite = โรโดไนต์
murrha = เมอร์รา ห myrrh = เมอรห์ รากศัพท์มาจากภาษากรีก
s ↓ ↓ ส Lagos = ลากอส
s+สระ ซ silicon = ซิลิคอน
s+พยัญชนะ ส Sweden = สวีเดน
s (ออกเสียง ช) ช Asia = เอเชีย
son (อยู่ท้ายชื่อ) สัน Johnson = จอห์นสัน
‘s — — ส์ King’s Cup = คิงส์คัป
sc (ออกเสียง ซ) ซ scene = ซีน
sc (ออกเสียง สก) สก screw = สกรูว สก disc = ดิสก์
sch (ออกเสียง ซ) ซ scheelite = ซีไลต์
sch (ออกเสียง ช) ช schism = ชิซึม
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
sch (ออกเสียง สก) สก school = สกูล
sh ช shamal = ชามาล ช harsh = ฮาร์ช
sm — — ซึม protoplasm = โพรโทพลาซึม
sk สก skyros = สกิรอส สก task = ทาสก์
sp สป spray = สเปรย์
spore = สปอร์
st สต Stanford = สแตนฟอร์ด
strip = สตริป
หมายเหตุ sc sk sp และ st ที่ถอดเป็น สก, สก, สป, และ สต ตามลำดับ ถ้า s อยู่กลางศัพท์ และเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า ให้ถอด c k p และ t นั้น เป็น ค ค พ และ ท ตัวอย่าง Wisconsin = วิสคอนซิน, Muskegon = มัสคีกัน, asparagus = แอสพารากัส, distemper = ดิสเทมเปอร์
t ท Tasmania = แทสเมเนีย
trombone = ทรอมโบน ต Kuwait = คูเวต

ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
หมายเหตุ t เมื่อเป็นพยัญชนะต้น ใช้ ท โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทยเรานิยมใช้เสียง ต ให้ใช้ ต ดังนี้ anti-, auto-, inter-, multi-, photo-; -ta, -ter, -ti, -tic, -ting, -tis, -to, -ton, -tor, -tre, -tum, -tus และ -ty ตัวอย่าง antibody = แอนติบอดี, intercom = อินเตอร์คอม, computer = คอมพิวเตอร์, quantum = ควอนตัม, zygomata = ไซโกมาตา
th ท thorium = ทอเรียม ท zenith = เซนิท
thm — — ทึม biorhythm = ไบโอริทึม
logarithm = ลอการิทึม
ti (ออกเสียง ช) ช nation = เนชัน
strontium = สตรอนเชียม — —
v ว volt = โวลต์ ฟ love = เลิฟ
perovskite = เพอรอฟสไกต์
v (เมื่อเป็นตัวสะกดของพยางค์ต้นและเป็นตัวนำของพยางค์ต่อไปด้วย) — — ฟว Livingstone = ลิฟวิงสโตน
w ว Wales = เวลส์ ว cowboy = คาวบอย
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
wh (ออกเสียง ว) ว White = ไวต์ — —
wh (ออกเสียง ฮ) ฮ Whewell = ฮิวเอลล์ — —
x ซ Xenon = ซีนอน กซ boxer = บอกเซอร์
oxford = ออกซฟอร์ด
onyx = โอนิกซ์
y ย Yale = เยล ย key = คีย์
z ซ zone = โซน ซ Vaduz = วาดุซ
ตัวอักษร
การเขียนตัวอักษร
A = เอ B = บี C = ซี D = ดี E = อี F = เอฟ G = จี
H = เอช I = ไอ J = เจ K = เค L = แอล M = เอ็ม N = เอ็น
O = โอ P = พี Q = คิว R = อาร์ S = เอส T = ที U = ยู
V = วี W = ดับเบิลยู X = เอกซ์ Y = วาย Z = แซด
• H ออกเสียง เอช สำหรับเสียง เฮช ในบางสำเนียง เช่น ในไอร์แลนด์และออสเตรเลีย ตามเสียงการออกเสียงของตัวอักษร
• Z ออกเสียง แซด ในประเทศยุโรปตามที่มาจากอักษรกรีก ซีตา ในสหรัฐอเมริกาออกเสียง ซี

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…

[NEW] บทเรียน รายวิชา การแปลเบื้องต้น 1 | เขียน คํา ศัพท์ ภาษา อังกฤษ – NATAVIGUIDES

การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
การเขียนคำทับศัพท์ตามระบบของราชบัณฑิตยสถาน
1. การทับศัพท์ให้ถอดอักษรในภาษาเดิม พอควรแก่การแสดงที่มาของรูปศัพท์ และให้เขียนในรูปที่อ่านได้สะดวกในภาษาไทย
2. การวางหลักเกณฑ์ ได้แยกกำหนดหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาต่าง ๆ แต่ละภาษาไป
3. คำทับศัพท์ที่ใช้กันมานานจนถือเป็นภาษาไทย และปรากฏใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แล้ว ให้ใช้ต่อไปตามเดิม เช่น ช็อกโกเลต ช็อกโกแลต เชิ้ต ก๊าซ แก๊ส
4. คำวิสามานยนามที่ใช้กันมานานแล้ว อาจใช้ต่อไปตามเดิม เช่น Victoria = วิกตอเรีย, Louis = หลุยส์ หรือ Cologne = โคโลญ เป็นต้น
5. ศัพท์วิชาการซึ่งใช้เฉพาะกลุ่ม ไม่ใช่ศัพท์ทั่วไป อาจเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ขึ้นตามความจำเป็น
1. สระ ให้ถอดตามการออกเสียงในพจนานุกรมภาษาอังกฤษ โดยเทียบเสียงสระภาษาไทยตามตารางเทียบเสียงสระภาษาอังกฤษ
2. พยัญชนะ ให้ถอดเป็นพยัญชนะภาษาไทยตามหลักเกณฑ์ในตารางเทียบพยัญชนะภาษาอังกฤษ
3. การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต
3.1 พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียงในภาษาไทย ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตกำกับไว้ เช่น horn = ฮอร์น
3.2 คำหรือพยางค์ที่ตัวสะกดมีพยัญชนะตามมาหลายตัว ให้ใส่เครื่องหมายทัณฑฆาต ไว้บนพยัญชนะที่ไม่ออกเสียงตัวสุดท้าย แต่เพียงแห่งเดียว เช่น Barents = แบเร็นตส์
3.3 คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะไม่ออกเสียงอยู่หน้าตัวสะกด ที่ยังมีพยัญชนะตามหลังมาอีก ให้ตัดพยัญชนะที่อยู่หน้าตัวสะกดออก และใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะตัวสุดท้าย เช่น world = เวิลด์ (ไม่ใช่ เวิร์ล)
4. การใช้ไม้ไต่คู้ ควรใช้ในกรณีต่อไปนี้
4.1 เพื่อให้เห็นแตกต่างจากคำไทย เช่น ล็อก = log (ให้ต่างจากคำว่า ลอก ในภาษาไทย)
4.2 เพื่อช่วยให้ผู้อ่านแยกพยางค์ได้ถูกต้อง เช่น โอค็อตสก์ = Okhotsk
5. การใช้เครื่องหมายวรรณยุกต์ การเขียนคำทับศัพท์ ไม่ต้องใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์
ยกเว้นในกรณีที่คำนั้นมีเสียงซ้ำกับคำไทย จนทำให้เกิดความสับสน อาจใส่เครื่องหมายวรรณยุกต์ได้ เช่น coma = โคม่า (ไม่ใช่ โคมา (วัวมา))
6. พยัญชนะซ้อน (double letter) คำที่มีพยัญชนะซ้อนเป็นตัวสะกด ถ้าเป็นศัพท์ทั่วไป ให้ตัดออกตัวหนึ่ง เช่น football = ฟุตบอล
แต่ถ้าเป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้เก็บไว้ทั้ง 2 ตัว โดยใส่เครื่องหมายทัณฑฆาตไว้ที่ตัวท้าย เช่น cell = เซลล์ (ไม่ใช่ เซล)
ถ้าพยัญชนะซ้อนอยู่กลางศัพท์ให้ถือว่า พยัญชนะซ้อนตัวแรกเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า และพยัญชนะซ้อนตัวหลัง เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น broccoli = บรอกโคลี
7. คำที่ตัวสะกดของพยางค์หน้าออกเสียงเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ตัวต่อไปด้วย ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
7.1 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นเสียงสระอะ ซึ่งเมื่อทับศัพท์ต้องใช้รูปไม้หันอากาศ ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์หน้า เข้าอีกตัวหนึ่งเพื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไป เช่น double = ดับเบิล
7.2 ถ้าสระของพยางค์หน้าเป็นสระอื่นที่ไม่ใช่สระอะ ให้ทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษโดยไม่ต้องซ้อนพยัญชนะ เช่น California = แคลิฟอร์เนีย
7.3 ถ้าเป็นคำที่เกิดจากการเติมปัจจัย เช่น -er, -ing, -ic, -y และการทับศัพท์ตามรูปพยัญชนะภาษาอังกฤษดังข้อ 7.2 อาจทำให้ออกเสียงผิดไปจากภาษาเดิมมาก ให้ซ้อนพยัญชนะตัวสะกดของพยางค์ต้นอีกหนึ่งเพื่อให้เห็นเค้าคำเดิม เช่น booking = บุกกิง
8. คำประสมที่มีเครื่องหมายยัติภังค์ (hyphen) ให้ทับศัพท์โดยเขียนติดต่อกันไป เช่น Cross-stitch = ครอสสติตช์ (ไม่ใช่ ครอส-สติตช์)
ยกเว้นในกรณีที่เป็นศัพท์ทางวิชาการหรือวิสามานยนามให้คงไว้ เช่น Cobalt-60 = โคบอลต์-60
9. คำประสมซึ่งในภาษาอังกฤษเขียนแยกกัน เมื่อทับศัพท์ให้เขียนติดกันไป ไม่ต้องแยกคำตามภาษาเดิม เช่น night club = ไนต์คลับ
10. คำคุณศัพท์ที่มาจากคำนาม ซึ่งมีปัญหาว่าจะทับศัพท์ในรูปคำนามหรือคำคุณศัพท์นั้น ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
10.1 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายเหมือนคำนาม หรือหมายความว่า “เป็นของ” หรือ “เป็นเรื่องของ” คำนามนั้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำนาม เช่น hyperbolic curve = ส่วนโค้งไฮเพอร์โบลา (ไม่ใช่ ส่วนโค้งไฮเพอร์โบลิก)
10.2 ถ้าคำคุณศัพท์นั้นมีความหมายว่า “เกี่ยวข้องกับ” หรือ “เกี่ยวเนื่องจาก” คำนามนั้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามโดยใช้ คำประกอบ เชิง แบบ อย่าง ทาง ชนิด ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย เช่น electronic power conversion = การแปลงผันกำลังเชิงอิเล็กทรอนิกส์
10.3 ในกรณีที่การทับศัพท์ในรูปคำนามตามข้อ 10.1 และข้อ 10.2 ทำให้เกิดความหมายกำกวมหรือคลาดเคลื่อน ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์ เช่น metric system = ระบบเมตริก (ไม่ใช่ ระบบเมตร)
11. คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล ให้ทับศัพท์ตามชื่อของบุคคลนั้น ๆ โดยใช้คำประกอบ ของ แบบ ระบบ ฯลฯ แล้วแต่ความหมาย เช่น Euclidean geometry = เรขาคณิตระบบยุคลิด
ยกเว้นในกรณีที่คำคุณศัพท์ที่มาจากชื่อบุคคล เป็นชื่อเฉพาะที่เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในแต่ละวงการ ซึ่งอาจสังเกตได้จากการที่ในภาษาอังกฤษไม่ได้ใช้อักษรตัวใหญ่ขึ้นต้น ให้ทับศัพท์ในรูปคำคุณศัพท์
12. คำคุณศัพท์เกี่ยวกับชนชาติต่าง ๆ ให้ทับศัพท์ในรูปคำนามที่เป็นชื่อประเทศ เช่น Swedish people = คนสวีเดน (ไม่ใช่ คนสวีดิช) Hungarian dance = ระบำฮังการี (ไม่ใช่ ระบำฮังกาเรียน)
ยกเว้นชื่อที่เคยใช้มานานแล้ว ได้แก่ …เยอรมัน …กรีก …ไอริช …ดัตช์ …สวิส …อังกฤษ และ …อเมริกัน เช่น เรือกรีก (ไม่ใช่ เรือกรีซ) รถอเมริกัน (ไม่ใช่ รถอเมริกา)
13. การวางตำแหน่งคำคุณศัพท์ในคำทับศัพท์ ให้ถือหลักเกณฑ์ดังนี้
13.1 คำคุณศัพท์ที่ประกอบคำนามที่เป็นภาษาไทย หรือเป็นคำทับศัพท์ แต่ได้ใช้ในภาษาไทยมาจนถือเป็นคำไทยแล้ว ให้วางคำคุณศัพท์ไว้หลังคำนาม เช่น cosmic ray = รังสีคอสมิก
13.2 ถ้าทั้งคำคุณศัพท์และคำนามเป็นคำทับศัพท์ที่ยังไม่ถือเป็นคำไทย ให้ทับศัพท์ตรงตามศัพท์เดิม เช่น Arctic Circle = อาร์กติกเซอร์เคิล (ไม่ใช่ วงกลมอาร์กติก)
13.3 ถ้าต้องการเน้นว่าคำนามนั้นเป็นสิ่งที่มีหลายชนิดและคำคุณศัพท์ที่ประกอบเป็นชนิดหนึ่งของคำนามนั้น อาจทับศัพท์โดยใช้คำประกอบ แบบ ชนิด ระบบ ฯลฯ มาแทรกไว้ระหว่างคำนามกับคำคุณศัพท์ เช่น normal matrix = เมทริกซ์แบบนอร์แมล
14. คำย่อ ให้เขียนชื่อตัวอักษรนั้น ๆ ลงเป็นภาษาไทย คำย่อให้เขียนติดกัน โดยไม่ใส่จุดและไม่เว้นวรรค ได้แก่ DDT เขียน ดีดีที และ F.B.I. เขียน เอฟบีไอ
15. คำทับศัพท์ที่ผูกขึ้นจากตัวย่อ ซึ่งอ่านออกเสียงได้เสมือนคำคำหนึ่ง มิได้ออกเสียงเรียงตัวอักษร ให้เขียนตามเสียงที่ออกและไม่ต้องใส่จุด เช่น UNESCO = ยูเนสโก
16. ตัวย่อชื่อบุคคล ให้เขียนโดยใส่จุด และเว้นช่องไฟระหว่างชื่อกับนามสกุล เช่น D.N. Smith = ดี.เอ็น. สมิท
ตามประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันแบบถ่ายเสียง ฉบับวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2542 ได้กำหนดไว้ ดังนี้
หลักเกณฑ์การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันนี้ เป็นการถอดโดยวิธีถ่ายทอดเสียง (Transcription) เพื่อให้อ่านคำภาษาไทยที่เขียนด้วยอักษรโรมันให้ได้เสียงใกล้เคียง โดยไม่คำนึงถึงการสะกดการันต์ และวรรณยุกต์ เช่น จันทร์ = chan, พระ = phra, แก้ว = kaeo
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะ
พยัญชนะไทย อักษรโรมัน ตัวอย่าง
ตัวต้น ตัวสะกด
ก k k กา = ka , นก = nok
ข ฃ ค ฅ ฆ kh๑
k ขอ = kho , สุข = suk , โค = kho , ยุค = yuk , ฆ้อง = khong , เมฆ = mek
ง ng ng งาม = ngam , สงฆ์ = song
จ ฉ ช ฌ ch๒
t จีน = chin , อำนาจ = amnat , ฉิ่ง = ching , ชิน = chin , คช = khot , เฌอ = choe
ซ ทร(เสียง ซ) ศ ษ ส s t ซา = sa , ก๊าซ = kat , ทราย = sai , ศาล = san , ทศ = thot , รักษา = raksa , กฤษณ์ = krit , สี = si , รส = rot
ญ y n ญาติ = yat , ชาญ = chan
ฎ ฑ (เสียง ด) ด d t ฎีกา = dika , กฎ = kot , บัณฑิต = bandit , ษัฑ = sat , ด้าย = dai , เป็ด = pet
ฏ ต t t ปฏิมา = patima , ปรากฏ = prakot , ตา = ta , จิต = chit
ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ th๑
t ฐาน = than , รัฐ = rat , มณฑล = monthon , เฒ่า = thao , วัฒน์ = wat , ถ่าน = than , นาถ = nat , ทอง = thong , บท = bot , ธง = thong , อาวุธ = awut
ณ น n n ประณีต = pranit , ปราณ = pran , น้อย = noi , จน = chon
บ b p ใบ = bai , กาบ = kap
ป p p ไป = pai , บาป = bap
ผ พ ภ ph๑
p ผา = pha , พงศ์ = phong , ลัพธ์ = lap , สำเภา = samphao , ลาภ = lap
ฝ ฟ f p ฝั่ง = fang , ฟ้า = fa , เสิร์ฟ = soep
ม m m ม้าม = mam
ย y – ยาย = yai
ร r n ร้อน = ron , พร = phon
ล ฬ l n ลาน = lan , ศาล = san , กีฬา = kila , กาฬ = kan
ว w – วาย = wai
ห ฮ h – หา = ha , ฮา = ha
ตารางเทียบเสียงสระ
สระ อักษรโรมัน ตัวอย่าง
อะ , -ั (อะ ลดลรูป) , รร (มีตัวสะกด) , อา a ปะ = pa , วัน = wan , สรรพ = sap , มา = ma
รร (ไม่มีตัวสะกด) an สรรหา = sanha , สวรรค์ = sawan
อำ am รำ = ram
อิ , อี i มิ = mi , มีด = mit
อึ , อื ue๑
นึก = nuek , หรือ = rue
อุ , อู u ลุ = lu , หรู = ru
เอะ , เ-็ (เอะ ลดรูป) , เอ e เละ = le , เล็ง = leng , เลน = len
แอะ , แอ ae และ = lae , แสง = saeng
โอะ , – (โอะ ลดรูป) , โอ , เอาะ , ออ o โละ = lo , ลม = lom , โล้ = lo , เลาะ = lo , ลอม = lom
เออะ , เ- ิ (เออะ ลดรูป) , เออ oe เลอะ = loe , เหลิง = loeng , เธอ = thoe
เอียะ , เอีย ia เผียะ = phia , เลียน = lian
เอือะ , เอือ uea๒
– * , เลือก = lueak

อัวะ , อัว , – ว- (อัว ลดรูป) ua ผัวะ = phua , มัว = mua , รวม = ruam
ใอ , ไอ , อัย , ไอย , อาย ai ใย = yai , ไล่ = lai , วัย = wai , ไทย = thai , สาย = sai
เอา , อาว ao เมา = mao , น้าว = nao
อุย ui ลุย = lui
โอย , ออย oi โรย = roi , ลอย = loi
เอย oei เลย = loei
เอือย ueai เลื้อย = lueai
อวย uai มวย = muai
อิว io๓
ลิ่ว = lio
เอ็ว , เอว eo เร็ว = reo , เลว = leo
แอ็ว , แอว aeo แผล็ว = phlaeo , แมว = maeo
เอียว iao เลี้ยว = liao
ฤ (เสียง รึ) , ฤา rue ฤษี , ฤาษี = ruesi
ฤ (เสียง ริ) ri ฤทธิ์ = rit
ฤ (เสียง เรอ) roe ฤกษ์ = roek
ฦ , ฦา lue – * , ฦาสาย = luesai

หมายเหตุ ::
๑. ในทางสัทศาสตร์ ใช้ h เป็นตัวสัญลักษณ์เพื่อแสดงลักษณะเสียงธนิต (เสียงที่กลุ่มลมพุ่งตามออกมาในขณะออกเสียง) h ที่ประกอบหลัง k p t จึงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ทางสัทศาสตร์ดังนี้

k แทนเสียง ก เพราะเป็นเสียงสิถิล (เสียงที่ไม่มีกลุ่มลมพุ่งออกมาในขณะออกเสียง) kh จึงแทนเสียง ข ฃ ค ฅ ฆ เพราะเป็นเสียงธนิต
p แทนเสียง ป ซึ่งเป็นเสียงสิถิล ph จึงแทนเสียง ผ พ ภ เพราะเป็นเสียงธนิต ไม่ใช่แทนเสียง ฟ
t แทนเสียง ฏ ต ซึ่งเป็นเสียงสิถิล th จึงแทนเสียง ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ เพราะเป็นเสียงธนิต
๒. ตามหลักสัทศาสตร์ ควรใช้ c แทนเสียง จ ซึ่งเป็นเสียงสิถิล และ ch แทนเสียง ฉ ช ฌ ซึ่งเป็นเสียงธนิต ดังที่ใช้กันในภาษาบาลี-สันสกฤต เขมร ฮินดี อินโดนีเซีย และภาษาอื่น ๆ อีกหลายภาษแต่ที่มิได้แก้ไขให้เป็นไปตามหลักสัทศาสตร์ เนื่องจากเกรงว่าจะทำให้ไข้วเขวกับการสะกดและออกเสียงตัว c ในภาษาอังกฤษซึ่งคนไทยมักใช้แทนเสียง ค หรือ ซ ตัวอย่างเช่น จน/จิต หากเขียนตามหลักสัทศาสตร์เป็น con/cit ก็อาจจะออกเสียงตัว c เป็นเสียง ค ในคำว่า con และออกเสียง ช ในคำว่า cit ดังนั้นจึงยังคงใช้ ch แทนเสียง จ ตามที่คุ้นเคย เช่น จุฬา = chula , จิตรา = chittra

หมายเหตุ ::
๑. ตามหลักเดิม อึ อื อุ อู ใช้ u แทนทั้ง ๔ เสียง แต่เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างเสียง อึ อื กับ อุ อู จึงใช้ u แทน อุ อู และใช้ ue แทน อึ อื
๒. ตามหลักเดิม เอือะ เอือ อัวะ อัว ใช้ ua แทนทั้ง ๔ เสียง แต่เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างเสียง เอือะ เอือ กับ อัวะ อัว จึงใช้ ua แทน อัวะ อัว และ uea แทน เอือะ เอือ เพราะ เอือะ เอือ เป็นสระประสมซึ่งประกอบด้วยเสียง อึ หรือ อื (ue) กับเสียง อะ หรือ อา (a)
๓. ตามหลักเดิม อิว ใช้ iu และเอียว ใช้ ieu แต่เนื่องจากหลักเกณฑ์นี้เสียงที่มี ว ลงท้ายและแทนเสียงด้วย o ซึ่งได้แก่ เอา อาว (ao) , เอ็ว เอว (eo) , แอ็ว แอว (aeo) ดังนั้นเพื่อให้เป็นไปในทำนองเดียวกัน อิว ซึ่งเป็นเสียง อิ กับ ว จึงแทนด้วย i + o คือ io ส่วนเสียง เอียว ซึ่งมาจากเสียง เอีย กับ ว จึงแทนด้วย ia + o เป็น iao
* ไม่มีคำประสมด้วยสระเสียงนี้ในภาษาไทย

หลักการถอดเสียงอังกฤษ-ไทย
1. เขียนตามเสียงเดิม โดยเขียนเป็นภาษาไทยให้สามารถอ่านได้
2. ตัวอักษรที่ใช้สามารถให้คนอ่านและเข้าใจต้นเสียงได้ รวมทั้ง “ร์” หมายถึงเสียง R, “ส์” หมายถึงเสียง S และเสียงอื่นๆที่ไม่มีในภาษาไทย แต่ถ้าขัดกับกฏข้างบน ให้ตัดเสียงที่ทำให้การอ่านภาษาไทยยากออก เช่น Forbes เขียน ฟอรบส์ ฟอบส์ หรือ ฟอร์บ ???
3. เสียงสะกดให้ใช้คำที่ง่ายต่อการออกเสียงสะกด เช่น P ใช้ เสียง พ แต่สะกดด้วย ป (แม่กบ) และ T ใช้ เสียง ท แต่สะกด ต.เต่า (แม่กด)
4. คำบางคำที่ทับศัพท์มาจากภาษาอื่น และใช้ตัวอักษรเพื่ออ้างถึงที่มา คำอ่านอาจจะเปลี่ยนไป เช่น เสียง L ใช้ลงท้ายด้วย ล.ลิง อ่านคล้ายการสะกดในแม่เกอว ไม่ใช่ แม่กน เช่น อีเมล อ่านคล้าย อี-เมว ไม่ใช่ อี-เมน
5. เสียง อู ในภาษาอังกฤษดั้งเดิม กับอังกฤษอเมริกัน ออกเสียง บางคำออกเสียงต่างกัน U ที่ออกเสียง อู ถ้าอยู่คำแรกเป็น ยู ถ้าอยู่ในประโยคออกเสียง อิว ออกเสียง อูเฉพาะ ชื่อเฉพาะ และคำที่นำหน้าด้วย B, D, L N, R, S, T, X สำหรับคำภาษาอังกฤษอังกฤษ และไม่ออกเสียงสำหรับขึ้นต้นด้วย J (ตามหลักเสียงวายล่องหน) เช่น institute ซึ่งสามารถเขียนได้เป็น อินสทิทูต และ อินสทิทิวต์
6. คำที่มาจากภาษาอื่น การอ่านออกเสียงจะไม่ตรงซึ่งไม่สามารถใช้หลักการทับศัพท์ได้ เช่น entree (รากศัพท์ฝรั่งเศส) อองเทร, karaoke (ญี่ปุ่น) คาราโอเกะ
7. คำบางคำมาจากรากศัพท์เดิม ซึ่งเกิดจากการแปลรูปสระ การอ่านออกเสียงอ่านตามเสียงเดิม ทำให้หลักการกำหนดได้ไม่ครบ เช่น คำว่า dove (นกชนิดหนึ่ง) มาจาก duv ซึ่งอ่านว่า “ดัฟ”
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
a แอ
อะ
อา
เอ
ออ badminton แบดมินตัน aea เอีย Judaea จูเดีย
aluminium อะลูมิเนียม aer เออ kaersutite เคอร์ซูไทต์
Chicago ชิคาโก ai เอ
ไอ Spain สเปน
Asia เอเชีย Cairo ไคโร
football ฟุตบอล air แอ Bel Air เบลแอร์
aa อา
แอ bazaar บาซาร์ ao เอา Mindanao มินดาเนา
Aaron แอรอน ar แอ
อา
ออ
เออ arrow แอร์โรว์
ae อี*
แอ
เอ Aegean อีเจียน bar บาร์
aerosphere แอโรสเฟียร์ ward วอร์ด
sundae ซันเด Edward เอดเวิร์ด
a_e เอ date เดต au อา
ออ
เอา
โอ***
แอ laugh ลาฟ
are แอ** mare แมร์ Augusta ออกัสตา
aw ออ lawerence ลอว์เรนซ์ Bissau บิสเซา
ay เอ Malay มาเลย์ Auger โอเจอร์
ayr แอ Ayrcher แอร์เชอร์ Laughlin แลฟลิน
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
e อี
เอ
อิ*
เอะ Sweden สวีเดน eer เอีย beer เบียร์
Lebanon เลบานอน ei อี
ไอ
เอ Neit นีต
electronics อิเล็กทรอนิกส์ Einsteinium ไอน์สไตเนียม
Mexico เม็กซิโก Beirut เบรุต
ea อี
เอ
เอีย Guinea กินี eir แอ
เอีย
เออ heir แอร์
Dead Sea เดดซี Peirse เพียร์ส
Caribbean แคริบเบียน Peirce เพิร์ส
ear แอ
เอีย
อา
เออ Bear แบร์ eo อี
เอ
เอีย
เอียว people พีเพิล
gear เกียร์ Leominster เลมินสเตอร์
heart ฮาร์ต Napoleon นะโปเลียน
Pearl Harbour เพิร์ลฮาร์เบอร์ Borneo บอร์เนียว
ere เอีย Cashmere แคชเมียร์ ew^ อิว
โอ***
อู New York นิวยอร์ก^^
eau โอ**
อิว Beaufort โบฟอร์ต sew โซว์
beauty บิวตี Andrew แอนดรูว์
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
eu^ อิว
ยุ
ยู
เอีย
อู leukemia ลิวคีเมีย i อิ
อี
ไอ king คิง
Europe ยุโรป ski สกี
Euphrates ยูเฟรทีส Liberia ไลบีเรีย
oleum โอเลียม ia เอีย India อินเดีย
Reuben รูเบ็น ie อี
เอีย
อาย
ไอ riebeckite รีเบกไกต์
ee อี Greenwich กรีนิช Soviet โซเวียต
eur เออ fleur-de-lis เฟลอร์เดอลีส์ pie พาย
eou โอ Seoul โซล necktie เนกไท
er เออ
อา Canberra แคนเบอร์รา ion เอียน
อัน* Union ยูเนียน
Clerk คลาร์ก lotion โลชัน
ey เอ
อี Yardley ยาร์ดเลย์ ir เออ
อี zircon เซอร์คอน
key คีย์ Pamir ปามีร์
ier เอีย glacier เกลเชียร์ ire ไอ
เออ Ireland ไอร์แลนด์
iew อิว view วิว Hampshire แฮมป์เชอร์
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
ire เอีย Hampshire แฮมป์เชียร์ oor ออ
โอ door ดอร์
iu เอีย aluminium อะลูมิเนียม Doorn โดร์น
o โอ
ออ
อะ
อู Cairo ไคโร oa ออ
โอ
อัว Broadway บรอดเวย์
Tom ทอม Oakland โอกแลนด์
Washington วอชิงตัน Samoa ซามัว
Today ทูเดย์ oar ออ board บอร์ด
oo อุ
อู
อะ foot ฟุต oe โอ
อู
เออ
อี* Joe โจ
wood วูด Shoemaker ชูเมกเกอร์
Bloodsworth บลัดส์เวิร์ท goethite เกอไทต์
oor อัว Moore มัวร์ phoenix ฟีนิกซ์
our ออ
เออ
อัว
โอ bournonite บอร์โนไนต์ or ออ
เออ corruption คอร์รัปชัน
Melbourne เมลเบิร์น Windsor วินด์เซอร์
tour ทัวร์ ore ออ
โอ Thomas More ทอมัส มอร์
Mourne โมร์น Ben More เบน โมร์
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
ou เอา
อาว
โอ
อะ
อุ
อู counter เคาน์เตอร์ ow โอ
เอา
อาว
อู bowling โบว์ลิง
ground กราวนด์ Cowpens เคาว์เพนส์
Boulder โบลเดอร์ townhouse ทาวน์เฮาส์
thermocouple เทอร์โมคัปเปิล Cowper คูว์เปอร์
soup ซุป oy ออย Lloyd ลอยด์
Vancouver แวนคูเวอร์ u^ อะ
อิว
อุ
อู
ยู
อิ Hungary ฮังการี
oer เออ oerlikon เออร์ลิคอน Cuba คิวบา
oi ออย
อัว** thyroid ไทรอยด์ Lilliput ลิลลิพุต
chamois ชามัวส์ Kuwait คูเวต
ua อัว Guadalupe กัวดาลูป Uranium ยูเรเนียม
ue^ อิว
อู Tuesday ทิวส์เดย์ busy บิซี
wuestite วูสไทต์ y อิ
อี
ไอ Odyssey โอดิสซีย์
uy ไอ
อาย Schuyler สไกเลอร์ Syria ซีเรีย
Guy กาย cyclone ไซโคลน
สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์ สระ เสียง ตัวอย่าง คำทับศัพท์
ui อุ
อู
อิ
ไอ fruit ฟรุต ye ไอ rye ไรย์
juice จูซ yr เออ Myrna เมอร์นา
circuit เซอร์คิต ure อัว
เออ
เอียว Sure ชัวร์
Ruislip ไรสลิป lecture เลกเชอร์
uir อิว Muir มิวร์ Pure เพียวร์
ur เออ hurricane เฮอร์ริเคน
ตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาอังกฤษ
คำหรือพยางค์ที่มีพยัญชนะต้นหลายตัว และตัวหน้าไม่ออกเสียง เมื่อเขียนทับศัพท์เป็นภาษาไทย ไม่ต้องใส่พยัญชนะตัวที่ไม่ออกเสียง เช่น
• gnat = แนต
• knight = ไนต์
• psycho = ไซโค
• pneumonia = นิวมอเนีย
วิสามานยนาม ที่ในภาษาอังกฤษออกเสียงเฉพาะพิเศษนอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในตาราง ให้ถอดตามการออกเสียง เช่น
• Worcester = วูสเตอร์
• Marble Arch = มาร์บะลาช

ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
b บ base = เบส บ Gibb = กิบบ์
c ก cubic = คิวบิก
ca, co, cu, cl, cr ค cat = แคต
cone = โคน
Cuba = คิวบา
Cleo = คลีโอ
crown = คราวน์
ce ซ cell = เซลล์ ซ Greece = กรีซ
ci, cy ซ cigar = ซิการ์
cyclone = ไซโคลน
c (ออกเสียง ช) ช glacier = เกลเชียร์ — — รากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศส
หมายเหตุ คำที่พยางค์สุดท้ายเป็น ca, co และ cer (ที่ออกเสียงเกอร์) ซึ่งไทยเรานิยมใช้เสียง ก ให้ใช้ ก ตัวอย่าง America = อเมริกา, disco = ดิสโก, soccer = ซอกเกอร์
ch (ออกเสียง ช) ช Chicago = ชิคาโก ช Beach = บีช
ch (ออกเสียง ค) ค Chios = คิออส ก Angioch = แอนติออก รากศัพท์มาจากภาษากรีก

ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
ck — — ก Brunswick = บรันสวิก
หมายเหตุ ck เมื่อเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ต่อไปให้ใช้ กก ตัวอย่าง Rocky = รอกกี, locket = ล็อกเกต
d ด dextrin = เดกซ์ทริน ด Dead Sea = เดดซี
f ฟ Fox = ฟอกซ์ ฟ Clifion = คลิฟตัน
g ก magnesium = แมกนีเซียม
ga, ge*, gi*, go, gu, gl, gr ก galaxy = กาแล็กซี
forget-me-not = ฟอร์เกตมีนอต
gift = กิฟต์
golf = กอล์ฟ
gulf = กัลฟ์
Gladstone = แกลดสโตน
grand = แกรนด์ ก rogue = โรก * ge และ gi บางคำออกเสียง ก บางคำออกเสียง จ
ge*, gi*, gy จ gestagen = เจสตาเจน
engineer = เอนจิเนียร์
gyro = ไจโร จ rouge = รูจ
gh ก ghetto = เกตโต ฟ, ก Gough = กอฟ
Pittsburgh = พิตส์เบิร์ก
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
gh (ไม่ออกเสียง) — — — Hugh = ฮิว
gn (g ไม่ออกเสียง) น gneiss = ไนส์ น design = ดีไซน์
หมายเหตุ gn ถ้าเป็นตัวสะกดและพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป แล้วออกเสียง /ñ/ ใช้ นญ ตัวอย่าง Bologna = โบโลนญา, Cognac = คอนญัก
h ฮ Haematite = ฮีมาไทต์
h (ไม่ออกเสียง) — honour = ออเนอร์ ห John = จอห์น
j จ Jim = จิม คำอังกฤษแท้ไม่มีการลงท้ายด้วย j
k ค Kansas = แคนซัส ก York = ยอร์ก
k (เมื่อเป็นพยัญชนะต้นของพยางค์สุดท้าย) ก bunker = บังเกอร์
market = มาร์เกต
Yankee = แยงกี — —
kh ค khartoum = คาร์ทูม ก Sikh = ซิก
l ล locket = ล็อกเกต ล Shell = เชลล์
m ม micro = ไมโคร ม Tom = ทอม
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
n น nucleus = นิวเคลียส น cyclone = ไซโคลน
หมายเหตุ n เมื่อเป็นตัวสะกดและมีพยัญชนะ c, ch, g, k, qu ฯลฯ ตามแล้วทำให้เสียง n ที่เป็นตัวสะกดออกเสียงเป็น ง ให้ถอด n เป็น ง ตัวอย่าง Anglo-Saxon = แองโกลแซกซัน, function = ฟังก์ชัน, parenchyma = พาเรงคิมา, Frank = แฟรงก์
p พ parabola = พาราโบลา ป capsule = แคปซูล
หมายเหตุ p เมื่อเป็นพยัญชนะต้นให้ใช้ พ โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทย นิยมใช้เสียง ป ให้ใช้ ป ดังนี้ super-; -pa, -pean, -per, -pia, -pic, -ping, -pion, -po, -pus และ -py ตัวอย่าง superman = ซูเปอร์แมน, Europa = ยูโรปา, bumper = บัมเปอร์, topic = ทอปปิก, shopping = ชอปปิง, hippy = ฮิปปี, hippo = ฮิปโป, olympus = โอลิมปัส
ph ฟ phosphorous = ฟอสฟอรัส ฟ graph = กราฟ
q ก Qatar = กาตาร์ ก Iraq = อิรัก
qu (ออกเสียง คว) คว Quebec = ควิเบก — —
qu (ออกเสียง ค) ค Liquor = ลิเคอร์ ก Mozambique = โมซัมบิก
r ร radium = เรเดียม ร barley = บาร์เลย์ เสียง r ไม่ใช่เสียงสะกด แต่เมื่อลงท้ายให้ใช้ทัณฑฆาตเพื่อให้เสียง /ɹ/ ยังอยู่
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
rh ร rhodonite = โรโดไนต์
murrha = เมอร์รา ห myrrh = เมอรห์ รากศัพท์มาจากภาษากรีก
s ↓ ↓ ส Lagos = ลากอส
s+สระ ซ silicon = ซิลิคอน
s+พยัญชนะ ส Sweden = สวีเดน
s (ออกเสียง ช) ช Asia = เอเชีย
son (อยู่ท้ายชื่อ) สัน Johnson = จอห์นสัน
‘s — — ส์ King’s Cup = คิงส์คัป
sc (ออกเสียง ซ) ซ scene = ซีน
sc (ออกเสียง สก) สก screw = สกรูว สก disc = ดิสก์
sch (ออกเสียง ซ) ซ scheelite = ซีไลต์
sch (ออกเสียง ช) ช schism = ชิซึม
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
sch (ออกเสียง สก) สก school = สกูล
sh ช shamal = ชามาล ช harsh = ฮาร์ช
sm — — ซึม protoplasm = โพรโทพลาซึม
sk สก skyros = สกิรอส สก task = ทาสก์
sp สป spray = สเปรย์
spore = สปอร์
st สต Stanford = สแตนฟอร์ด
strip = สตริป
หมายเหตุ sc sk sp และ st ที่ถอดเป็น สก, สก, สป, และ สต ตามลำดับ ถ้า s อยู่กลางศัพท์ และเป็นตัวสะกดของพยางค์หน้า ให้ถอด c k p และ t นั้น เป็น ค ค พ และ ท ตัวอย่าง Wisconsin = วิสคอนซิน, Muskegon = มัสคีกัน, asparagus = แอสพารากัส, distemper = ดิสเทมเปอร์
t ท Tasmania = แทสเมเนีย
trombone = ทรอมโบน ต Kuwait = คูเวต

ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
หมายเหตุ t เมื่อเป็นพยัญชนะต้น ใช้ ท โดยตลอด ยกเว้นกลุ่มพยัญชนะบางกลุ่มที่ไทยเรานิยมใช้เสียง ต ให้ใช้ ต ดังนี้ anti-, auto-, inter-, multi-, photo-; -ta, -ter, -ti, -tic, -ting, -tis, -to, -ton, -tor, -tre, -tum, -tus และ -ty ตัวอย่าง antibody = แอนติบอดี, intercom = อินเตอร์คอม, computer = คอมพิวเตอร์, quantum = ควอนตัม, zygomata = ไซโกมาตา
th ท thorium = ทอเรียม ท zenith = เซนิท
thm — — ทึม biorhythm = ไบโอริทึม
logarithm = ลอการิทึม
ti (ออกเสียง ช) ช nation = เนชัน
strontium = สตรอนเชียม — —
v ว volt = โวลต์ ฟ love = เลิฟ
perovskite = เพอรอฟสไกต์
v (เมื่อเป็นตัวสะกดของพยางค์ต้นและเป็นตัวนำของพยางค์ต่อไปด้วย) — — ฟว Livingstone = ลิฟวิงสโตน
w ว Wales = เวลส์ ว cowboy = คาวบอย
ตัวอักษร พยัญชนะขึ้นต้น ตัวอย่าง พยัญชนะลงท้าย ตัวอย่าง หมายเหตุ
wh (ออกเสียง ว) ว White = ไวต์ — —
wh (ออกเสียง ฮ) ฮ Whewell = ฮิวเอลล์ — —
x ซ Xenon = ซีนอน กซ boxer = บอกเซอร์
oxford = ออกซฟอร์ด
onyx = โอนิกซ์
y ย Yale = เยล ย key = คีย์
z ซ zone = โซน ซ Vaduz = วาดุซ
ตัวอักษร
การเขียนตัวอักษร
A = เอ B = บี C = ซี D = ดี E = อี F = เอฟ G = จี
H = เอช I = ไอ J = เจ K = เค L = แอล M = เอ็ม N = เอ็น
O = โอ P = พี Q = คิว R = อาร์ S = เอส T = ที U = ยู
V = วี W = ดับเบิลยู X = เอกซ์ Y = วาย Z = แซด
• H ออกเสียง เอช สำหรับเสียง เฮช ในบางสำเนียง เช่น ในไอร์แลนด์และออสเตรเลีย ตามเสียงการออกเสียงของตัวอักษร
• Z ออกเสียง แซด ในประเทศยุโรปตามที่มาจากอักษรกรีก ซีตา ในสหรัฐอเมริกาออกเสียง ซี

Share this:

Like this:

ถูกใจ

กำลังโหลด…


ep.3 เกมทายเสียงสัตว์ 20 ข้อ | เรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับสัตว์ | WAWA kids art


ep.3 เกมทายเสียงสัตว์ 20 ข้อ | เรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับสัตว์
เกมสร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยวาชน
เพื่อเสริมทักษะความรู้และประสบการณ์ใหม่ๆ
วิชาการทั้ง คณิตศาสตร์ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ และอื่นๆๆอีกมากมาย
อย่าลืมกดติดตาม Subscribe WAWA kids art กันนะค่ะ
เกม คณิตศาสตร์หรรษา ระดับประถมศึกษา (10 ข้อ) https://youtu.be/GhlHe6bjBCQ
เกม หาภาพตรงกับคำสั่ง หมวดวิทยาสาสตร์ https://youtu.be/nqoTcc0QV4
เกม ทายคำศัพท์ภาษาอังกฤษหมวดสัตว์ https://youtu.be/xcT9ntfaVk
วาดการ์ตูนปลาโลมา, เรือ, ผีเสือ, เห็ด | เรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ สนุกกับการเรียนรู้สีผ่านงานศิลปะ https://youtu.be/7_bjSKieC7c
วาดการ์ตูน ผีเสื้อ, ดอกไม้, บอลลูน, อ่างอาบน้ำ | เรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เรียนรู้สีผ่านงานศิลปะ https://youtu.be/sfOUFKhNmwc
เกมหารูปภาพตามคำสั่ง หมวดคำราชาศัพท์ https://youtu.be/6yPm5YA2is
เกมหาอักษรที่หายไป หมวดภาษาอังกฤษ https://youtu.be/If5UsAS9ZYQ
เรียนรู้ผลไม้ คำศัพท์ภาษาอังกฤษ เล่นไข่เซอร์ไพรส์และลุ้นถ้วยไอศครีม | wawa kids art https://youtu.be/m0b4bpQLBfY
เรียนรู้เลข เล่นทำเลข 110 ผ่านแป้งโด เรียนรู้คำศัพท์ในหมวดผลไม้ https://youtu.be/VzdFLOoiWs
เรียนรู้เลข เล่นทำเลข 110 ผ่านแป้งโด เรียนรู้คำศัพท์ในหมวดผลไม้ https://youtu.be/VzdFLOoiWs
เกม ทายคำศัพท์ยานพาหนะ หมวดภาษาอังกฤษhttps://youtu.be/dc4ApC1qn_w
เกม หาสุภาษิตไทยจากรูปภาพ เรียนรู้ความหมายของสุภาพษิตไทย https://youtu.be/JhqtK1qae_s

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ep.3 เกมทายเสียงสัตว์ 20 ข้อ | เรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับสัตว์ | WAWA kids art

500 คำศัพท์ภาษาอังกฤษ โดย English by Chris


สมัครเป็นสมาชิกช่องนี้!!
กดปุ่ม \”สมัคร\” ข้างล่างวีดีโอใน Youtube หรือกดลิงค์นี้ได้เลยนะครับ https://www.youtube.com/channel/UC93A91EZTtZW55WEKCz_jYA/join
สั่งซื้อหนังสือได้จากแอดมิน
@LINE ID = @EnglishbyChris
รับสอนตัวต่อตัว ติดต่อผมได้ที่
@LINE ID = @TeacherChris
WEBSITE
http://www.EnglishbyChris.com
Facebook
ค้นหา = EnglishbyChris
VIDEO INFO
http://www.englishbychris.com/portfolioitems/500

500 คำศัพท์ภาษาอังกฤษ โดย English by Chris

จำศัพท์ยังไง? แนะนำแอพฝึกภาษา Quizlet แบบละเอียด | NoteworthyMF


แนะนำแอพฝึกภาษา Quizlet แบบละเอียด ฝึกได้ทุกภาษาเลย~
ช่วยให้จำศัพท์ง่ายและสนุกมากขึ้น หรือเอาไปใช้จำเนื้อหาก็ได้นะ
(ทำเหมือนข้อสอบคือใส่คำถามกับคำตอบลงไปแทนศัพท์กับความหมาย)
ใครอยากเริ่มท่องศัพท์ ลองเอาวิธีไปใช้ดูน้า
Quizlet เล่นได้ทั้งในเว็บหรือโหลด app ก็ได้ ฟรีจ้า ไม่จำกัดจำนวนเซตการ์ดด้วยนะ
Website : https://quizlet.com
Vocab : IG @noteworthy.mf
Sound by www.bensound.com

Find me more !
Fanpage : Noteworthy.mf (https://www.facebook.com/noteworthy.mf)
Instagram : @ffim.medcu60 (https://www.instagram.com/ffim.medcu60)

Contact for work
Instagram : @ffim.medcu60 (https://www.instagram.com/ffim.medcu60)

จำศัพท์ยังไง? แนะนำแอพฝึกภาษา Quizlet แบบละเอียด | NoteworthyMF

เพลงภาษาอังกฤษ good morning (เพลงสอนเรื่องคำทักทายภาษาอังกฤษ)


เพลงสอนภาษาอังกฤษ เรื่อง การทักทาย ตอนเช้า กลางวัน เย็น
มาฟังเพลงสนุกๆ ได้รับความรู้กันจร้าาาา
ครูโอ๋ สอนภาษาอังกฤษ เพลงอังกฤษ

เพลงภาษาอังกฤษ good morning (เพลงสอนเรื่องคำทักทายภาษาอังกฤษ)

N๒๐: คำศัพท์ 300 คำ-จำเป็นมาก [ตอน1/3] | เรียนภาษาอังกฤษ กับ อ.พิบูลย์ แจ้งสว่าง


https://www.youtube.com/watch?v=TSu2pUF3iLo
ลิงค์นี้คือคลิปเดียวกับคลิปที่คุณดูอยู่นี้ แต่เราปรับเสียงให้ดังฟังชัดยิ่งขึ้น ลงไว้ในช่องยูทูปอีกช่องหนึ่งชื่อว่า Naked English (เป็นยูทูปช่องที่สองของ อ. พิบูลย์ แจ้งสว่าง) – ต้องขออภัยที่คลิปต้นฉบับเสียงเบามาก เนื่องจาก ณ เวลาที่เราถ่ายทำและตัดต่อวิดีโอนี้ เรายังมีประสบการณ์น้อย หวังว่าคลิปที่ปรับเสียงใหม่นี้จะทำให้คุณเรียนภาษาอังกฤษได้ราบรื่นยิ่งขึ้นครับ … จากทีมงาน Beautiful World และ Naked English
อ่านบทความเกร็ดความรู้ภาษาอังกฤษ (ฟรี) \u0026 ดูรายละเอียดคอร์สเรียน Eng ได้ที่
www.NakedEnglish.net หัวข้อ: บทความที่น่าสนใจ
ติดตามเราได้ที่ Facebook.com/EnglishWithPiboon
เราเน้นเรียน+สอนภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน ให้สนทนาและเข้าใจหลักการใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
[จัดทำและสอนโดย อ. พิบูลย์ แจ้งสว่าง] Piboon Jangsawang

N๒๐: คำศัพท์ 300 คำ-จำเป็นมาก [ตอน1/3] | เรียนภาษาอังกฤษ กับ อ.พิบูลย์ แจ้งสว่าง

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ เขียน คํา ศัพท์ ภาษา อังกฤษ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *