Skip to content
Home » [NEW] บทที่่ 2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด-Flip eBook Pages 1 – 25 | ใบ สํา คั ญ จ่าย เงินสด ย่อย – NATAVIGUIDES

[NEW] บทที่่ 2 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด-Flip eBook Pages 1 – 25 | ใบ สํา คั ญ จ่าย เงินสด ย่อย – NATAVIGUIDES

ใบ สํา คั ญ จ่าย เงินสด ย่อย: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

บทที่ 2
เงินสด รายการเทยี บเท่าเงินสด

เงินสด เปน็ สินทรัพยท์ ่ีมสี ภาพคล่องมากท่สี ุด เป็นส่ือกลางในการแลกเปล่ยี น ชำระหนี้ และ
ใช้เป็นเคร่ืองวัดมูลค่าของส่ิงต่าง ๆ ที่ปรากฏในงบการเงิน ในการดำเนินธุรกิจให้ประสบผลสำเร็จ
กิจการต้องบริหารเงินสดให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ และมีวิธีการควบคุมให้เงินสดของกิจการ
ให้ปลอดจากการทุจริต วิธีการหน่ึงท่ีธุรกิจนำมาใช้ก็คือ การแยกเงินสดรับและจ่ายออกจากกัน
ททททททททททททททททททท โดยเด็ดขาด โดยกำหนดให้นำเงินสดที่รับมาทั้งหมดฝากธนาคาร
เมื่อจะใช้จา่ ยหรือชำระภาระผกู พัน สามารถเบกิ ถอนจากธนาคารหรอื จ่ายเป็นเช็คได้ทันที จงึ ถอื วา่ เงิน
ฝากธนาคารเป็นรายการเงินสดรายการหน่ึง สำหรับเงินสดท่ีมีเกินความต้องการ ธุรกิจอาจบริหาร
ด้วยการนำไปลงทุนในหุ้นทุนหรือตราสารหนี้ในระยะส้ันไม่เกิน 12 เดือน เพ่ือให้ได้รับผลตอบแทน
จากการลงทุน เงนิ สดที่นำไปลงทุนนี้จึงจดั เปน็ เงนิ ลงทนุ ชั่วคราว

เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด (Cash and Cash equivalent)

1. ความหมายของเงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สด

มาตรฐานการบญั ชฉี บับที่ 7 (ปรับปรุง 2555) เรื่อง งบกระแสเงนิ สด ได้ให้คำนยิ ามของเงิน
สด และรายการเทียบเทา่ เงนิ สดไวด้ ังนี้

เงนิ สด ประกอบดว้ ย เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารท่ีต้องจา่ ยคืนเม่ือทวงถาม
รายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงินลงทุนระยะส้ันที่มีสภาพคล่องสูง พร้อมท่ีจะ
เปลยี่ นเปน็ เงนิ สดในจำนวนทท่ี ราบได้ และมคี วามเส่ียงทีไ่ มม่ ีนยั สำคัญตอ่ การเปล่ยี นแปลงในมลู ค่า
จากคำนิยามข้างต้นจึงสรุปได้ว่า เงินสดหมายถงึ เงินสดในรูปเหรียญกษาปณ์ ธนบัตรทีอ่ ยู่ใน
มือ และเงินฝากธนาคารที่ไม่มีข้อผูกพันหรือเงื่อนไขในการถอนคืนใด ๆ ซึ่งได้แก่ เงินฝากออมทรัพย์
เงินฝากกระแสรายวัน และเงินฝากประจำระยะส้ันไม่เกิน 12 เดือน สำหรับรายการเทียบเท่าเงินสด
หมายถึง เงินลงทุนหรือรายการที่กิจการถือไว้เพื่อวัตถุประสงค์ทีจ่ ะเปล่ียนเปน็ เงนิ สดได้ในทนั ที เพื่อการ
จ่ายชำระภาระผูกพันระยะสั้นมากกว่าเพ่ือการลงทุนหรือเพ่ือวัตถุประสงค์อื่น ได้แก่ตราสารหน้ีที่มี
สภาพคล่องสงู ระยะเวลาครบกำหนดไม่เกิน 3 เดือนนบั จากวนั ที่ได้มา เช่น ต๋ัวเงินคลัง ตราสารหนีต้ ่าง
ๆ รวมถึงเงินกองทนุ ท่ีกจิ การสามารถเบกิ ถอนหรือสั่งจ่ายเช็คจากเงินกองทุนนั้นได้ เป็นต้น สำหรับเงิน

ลงทุนในหุ้นทุน ท่ีมาตรฐานฉบับนีย้ อมให้ถือเป็นรายการเทียบเท่าเงินสดเฉพาะหุ้นบรุ ิมสิทธิที่ซ้ือเม่ือหุ้น
ใกล้วนั ครบกำหนด และมกี ารระบวุ นั ทไี่ ถ่ถอนไวอ้ ย่างแน่ชัดไมเ่ กิน 3 เดือนนับจากวนั ท่ีได้มา

จากความหมายข้างต้นสินทรัพย์ที่จัดเป็นเงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงินสด ประกอบด้วย
รายการดงั ตอ่ ไปนี้

1. เหรียญกษาปณ์ ธนบตั ร `(Coins and Bank Notes)
2. เงินฝากธนาคาร (Cash at Bank) ได้แก่ เงนิ ฝากออมทรพั ย์ หรอื เงินฝากสะสมทรพั ย์
(Saving account) เงนิ ฝากกระแสรายวนั (Current account) และเงินฝากประจำ ระยะสัน้ ไมเ่ กิน
12 เดือน (Fixed account) ทัง้ นี้ เงินฝากดังกล่าวตอ้ งไม่มีขอ้ จำกดั ในการใช้เงินฝาก
3. เงินสดยอ่ ย (Petty cash)
4. เอกสารทางการเงินทส่ี ามารถซื้อ ขาย แลกเปลยี่ นเปน็ เงินสดได้ หรอื เปลี่ยนมือได้
ไดแ้ ก่

4.1 เช็ค (Chepue) เช็คธนาคาร (Cashier Chepue) เช็คท่ีธนาคารรับรอง (Certified
Cheque)

4.2 ดราฟท์ (Draft)
4.3 ธนาณัติ (Money Orders)
5. เงินลงทุนระยะส้ันในตราสารหนี้ทร่ี ะยะเวลาครบกำหนดไม่เกนิ 3 เดอื น
6. เงินลงทุนในหุ้นบุริมสทิ ธิทร่ี ะบุระยะเวลาการไถ่ถอนไมเ่ กนิ 3 เดือน
รายการต่อไปน้ีไม่จัดเป็นเงินสดแม้จะมีลักษณะการใช้คล้ายเงินสด แต่เนื่องจากมีข้อจำกัด
ไม่สามารถนำมาใชไ้ ด้ทนั ที จึงไมถ่ ือเปน็ รายการเงนิ สดหรอื รายการเทยี บเท่าเงินสด ได้แก่
1. ไปรษณยี ากรและอากรแสตมป์ (Stamp)
2. เช็คลงวันที่ล่วงหน้า (Postdated checks) เป็นเช็คที่กิจการไม่สามารถขึ้นเงินสดได้
ทันที ต้องรอจนกว่าถึงวันท่ีที่ลงไว้ในเช็ค ดังนั้น จึง ถือว่ากิจการยังมีลูกหน้ีอยู่ยังไม่เป็นเงินสดของ
กจิ การ
3. เช็คคืน (Non-sufficient fund หรือ N.S.F. cheques) คือ เช็คขาดความเชื่อถือ
ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงินเนือ่ งจากเงนิ ในบญั ชีไมพ่ อจา่ ย

4. เงินเบิกเกินบัญชี (Bank overdraft) คือเงินที่กิจการเบิกมาจากวงเงินที่ได้ขออนุมัติจาก
ธนาคารกรณีท่ีมีเงินสดในบัญชีไม่พอจ่าย ซ่ึงมักจะใช้กับเงินฝากประเภทกระแสรายวัน ดังนั้นเม่ือมี
การใช้วงเงินเบิกเกินบัญชี จะถอื เปน็ หน้สี ิน

5. วงเงินประกันข้ันต่ำกับธนาคาร (Compensating Balance) เป็นวงเงินท่ีกิจการต้องกัน
ไว้สำหรับการกู้เงินจากธนาคาร เพ่ือเป็นการลดความเส่ียงในการให้กู้ยืมเงินของธนาคาร ดังนั้นเงิน
จำนวนนีก้ จิ การไมส่ ามารถนำไปใชจ้ า่ ยได้ จึงไม่ถอื เปน็ เงนิ สด

6. เงนิ สดท่ีกันไวต้ ามข้อผกู พนั หรอื ตามนโยบายของกจิ การ เช่นเงินกองทนุ เพ่ือไถถ่ อน
หนสี้ นิ ระยะยาว ขยายกิจการ เปน็ ตน้

7. เงินใหก้ ยู้ มื แก่พนักงาน ที่มีหลักฐานการให้กู้
8. ตั๋วเงินฝาก (Certificates of deposit)

2. การบรหิ ารเงนิ สด (Cash Management)

การบริหารธุรกิจให้มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารพึงระลึกเสมอว่า ตลอดระยะเวลาการ
ดำเนินงาน กิจการตอ้ งมีเงินสดเพียงพอตอ่ ความต้องการใช้จา่ ย ไมป่ ระสบปัญหาภาวะเงนิ ขาดมือหรือ
ที่เรียกว่า ภาวะขาดแคลนเงินสด ในขณะเดียวกัน ต้องป้องกันไม่ให้เกิดการถือเงินสดไว้เกินความ
จำเป็น เพื่อป้องกันความเสย่ี งจากการสูญหายหรือทุจริตทีอ่ าจเกิดขนึ้ ซ่ึงอาจทำไดโ้ ดยนำเงินสดส่วนท่ี
เ กิ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร
ไปลงทุนเพ่ือให้ได้ผลตอบแทนหรือก่อให้เกิดประโยชน์มากขึ้นน่ันเอง การบริหารเงินสดจึงสามารถ
แยกพิจารณาได้ 2 ด้าน ดังน้ี

1. การควบคุมเงนิ สด (Cash Control) เป็นกระบวนการที่นำมาใช้เพื่อให้มั่นใจวา่ เงนิ สด
ของกิจการปลอดภยั จากการทจุ รติ หรือจากการนำไปใชผ้ ิดวตั ถุประสงค์ของกจิ การ

กิจการได้รับเงินสดจากกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่ เงินลงทุนจากเจ้าของ เงินสดรับจาก
รายได้ การรับชำระหนี้ เงินกู้ยืม การขายสินทรัพย์ เป็นต้น ดังนั้น การควบคุมเงินสดจึงควรแยก
เงนิ สดรับและเงินสดจา่ ยออกจากกนั ซึง่ อาจทำไดโ้ ดย

1.1 แยกเลม่ สมุดเงินสดรบั และสมดุ เงนิ สดจา่ ยออกจากกนั
1.2 เงนิ สดท่ีได้รับทัง้ หมดนำฝากธนาคาร โดยเปดิ บัญชีเงนิ ฝากกระแสรายวัน
1.3 รายการจา่ ยทุกครัง้ ให้จ่ายชำระดว้ ยเช็ค

1.4 ต้ังวงเงนิ สดย่อยเพอื่ การใช้จา่ ยรายยอ่ ย ๆ หรือจ่ายชำระรายการทีไ่ ม่สามารถจ่ายด้วย
เชค็

นอกจากน้ี ควรมีการแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างผู้รักษาทรัพย์สิน และผู้
จดบันทึกรายการบัญชอี อกจากกัน มีการกำหนดระดับวงเงนิ สำหรับผู้มีอำนาจส่ังจ่ายเงินสดและเช็ค
ของกิจการ จัดให้มีการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ท่ีช่วยควบคุมเงินสด เช่น เครื่องบันทึกเงินสด ตู้นิรภัย
เป็นต้น กำหนดให้มีการตรวจสอบภายในเก่ียวกับเงนิ สด โดยวิธีเซอร์ไพรส์เช็ค การจดั ทำงบกระทบ
ยอดเงินสดและเงินฝากธนาคาร ตลอดจนการจัดให้มีการหมุนเวียนตำแหน่งหน้าที่ หรือให้ลาพักร้อน
เพือ่ การตรวจสอบและตดิ ตามการทำงานของพนกั งานการเงิน

2. การวางแผนเงินสด (Cash Planning) เป็นวิธีการเพ่ือให้เกดิ ความมั่นใจวา่ กจิ การจะมีเงิน
สดเพียงพอต่อความต้องการใช้จ่าย หากมีเงินสดเกินความต้องการจะนำไปลงทุนเพ่ือให้ได้ผลตอบแทน
ต่อไป ซึ่งอาจทำในรปู งบประมาณเงินสด และงบประมาณลงทุน

3. การรบั รรู้ ายการเงินสดและรายการเทยี บเท่าเงินสด

จากหลกั การควบคมุ เงินสด ที่กำหนดให้แยกเงินสดรับและเงินสดจ่ายออกจากกัน โดยเงิน

สด

ทไ่ี ด้รบั มาท้งั หมดให้นำฝากธนาคารทันที ทุกคร้ังท่จี ะจ่ายให้จา่ ยเป็นเชค็ ซง่ึ จะช่วยให้กิจการสามารถ

ตรวจสอบเงินสดรับ-จ่ายได้ง่ายย่ิงข้ึน ส่วนรายการจ่ายเงินใดที่ไม่สามารถจ่ายชำระด้วยเช็ค กิจการ

จำเป็นต้องมีเงินสดในมือเพ่ือไว้จ่ายรายการดังกล่าว ซ่ึงอาจทำโดยการตั้งวงเงินสดย่อย และกำหนด

วงเงินที่จะจ่ายจากเงินสดย่อยไว้เป็นนโยบายให้ถือปฏิบัติ การบันทึกรายการที่เกี่ยวกับเงินสดและ

รายการเทียบเท่าเงินสดท่เี กดิ ขึน้ ดังกลา่ ว มดี ังนี้

เงินสด (Cash)

บัญชีเงินสด เป็นบัญชีที่ใช้สำหรับบันทึกเมื่อมีการรับเงินเป็นเงินสด เช็ค ดราฟท์ หรือ

ธนาณัติ แม้วา่ ยังไมไ่ ด้นำไปข้ึนเงินสดก็ตาม สำหรับเช็คที่ได้รบั มาและจะนำฝากธนาคารตอ่ ไป

ณ วนั ที่ได้รบั เช็คกใ็ ห้รับรูเ้ ป็นเงินสดจนกว่าจะมกี ารนำเช็คฉบบั นั้นฝากธนาคาร การบันทึก

บญั ชีปรากฏดังนี้

เดบติ เงนิ สด XX

เครดติ บัญชที ีเ่ ก่ียวขอ้ ง XX

เงินสดยอ่ ย (Petty cash)
ระบบบัญชีเงินสดย่อยท่ีนิยมใช้ได้แก่ระบบ Imprest System กล่าวคือ เม่ือกิจการตั้ง

วงเงินสดย่อยข้ึนมาจำนวนใดแล้วก็ตาม บัญชีเงินสดย่อยระหว่างปีจะมจี ำนวนคงอยู่เท่าเดิมไปจนกว่า
จะมีการเพ่ิม-ลดวงเงิน การเบิกจ่ายเงินสดย่อยระหว่างปี ให้ใช้วิธีจดบันทึกช่วยจำ และเมื่อเงินสด
ลดลงไปในระดับหนง่ึ หรอื ตามระยะ เวลาท่ีกำหนด เช่น ทกุ ๆ 15 วัน หรือ 1 เดือน เปน็ ต้น จึงให้เบิก
เงินจากธนาคารมาชดเชยจำนวนที่ใช้จ่ายไป ดังน้ัน รายการเบิกจ่ายทั้งหลายจะปรากฏในบัญชีท่ี
เกี่ยวข้องก็ต่อเม่ือมีการเบิกเชยเงินสดย่อย ณ วันส้ินปี หากมีการเบิกจ่ายเงินสดย่อยไปใช้แล้ว
เพ่ือให้การแสดงรายการเงินสดย่อยถูกต้องตรงกับความเป็นจริงสามารถทำได้ 2 วิธี คือ วิธีเบิกชดเชย
เงินสดย่อยทันที หรือวิธีปรับปรุงบัญชี เพ่ือให้เงินสดย่อยและรายการจ่ายต่าง ๆ มียอดคงเหลือตาม
ความเปน็ จริง รวมทงั้ ปอ้ งกันเอกสารสูญหายดว้ ย
การบันทกึ บัญชีมดี งั น้ี

1. ต้ังวงเงินสดยอ่ ย
เดบิต เงินสดย่อย
เครดิต เงนิ ฝากธนาคาร

2. เบกิ จ่ายเงนิ สดย่อยสำหรับรายการทไี่ มส่ ามารถจา่ ยเป็นเชค็
บนั ทกึ ชว่ ยจำ (Memorandum)

3. เบกิ ชดเชยเงนิ สดยอ่ ย
เดบิต บัญชที เ่ี ก่ียวข้อง
เครดติ เงนิ ฝากธนาคาร

4. ณ วันสน้ิ ปี ปรับปรงุ บญั ชีเพ่อื ใหบ้ ญั ชีต่าง ๆ แสดงยอดคงเหลอื ตามความเปน็ จรงิ
เดบิต บญั ชที เ่ี กย่ี วข้อง
เครดติ เงินสดยอ่ ย

5. เริ่มงวดบัญชีใหม่ ให้ลงรายการกลบั บญั ชีที่ไดป้ รับปรุงไว้ ณ วันสน้ิ ปีตามรายการข้อ 4.
เดบติ เงนิ สดยอ่ ย

เครดติ บญั ชที เี่ กีย่ วข้อง

ตวั อย่างที่ 1 บรษิ ัท บวั ระวงค์ จำกัด นำระบบเงนิ สดยอ่ ยมาใช้ ต้ังวงเงินสดย่อย 10,000 บาท โดย
กำหนดให้รายการจ่ายเชค็ ต้ังแต่ 2,000 บาทข้ึนไป หากไม่ถงึ ให้เบกิ จ่ายจากเงินสดย่อย เดอื น
ธนั วาคม
มรี ายการเบิกจา่ ยดังนี้
ธค. 1 ตง้ั วงเงนิ สดยอ่ ย 10,000 บาท

2 จ่ายซ้อื วัสดุสำนักงาน 1,200 บาท
5 จ่ายคา่ นำ้ ประปา 1,500 บาท
6 จ่ายค่าโทรศัพท์ 1,800 บาท
9 จ่ายคา่ เกบ็ ขยะ 200 บาท และคา่ ไฟฟา้ 1,900 บาท
10 เบกิ ชดเชยเงนิ สดย่อย
15 จา่ ยคา่ ขนสง่ เชา้ 450 บาท
17 ซ้ือกระดาษ A4 เปน็ เงนิ 600 บาท
31 ปรบั ปรุงบัญชเี งนิ สดย่อย

การบันทกึ รบั รู้รายการที่เกิดขนึ้ มี ดงั นี้
เอกสารบนั ทึกช่วยจำ พนกั งานรักษาเงนิ สดย่อยลงรายการจา่ ยเงนิ ในเอกสารบนั ทกึ ช่วย

จำ ทกุ ครัง้ ทีม่ กี ารจ่ายจากเงนิ สดย่อย เม่ือต้องการเบกิ ชดเชยเงนิ สดยอ่ ย จะรวบรวมหลกั ฐานการ
จา่ ยเงนิ พร้อมปะหน้าด้วยเอกสารบันทกึ ชว่ ยจำ สง่ ใหห้ วั หนา้ งานการเงินเพ่ือขอเบกิ ชดเชยเงินสด
ยอ่ ยตอ่ ไป

ทะเบียนเงนิ สดยอ่ ย

เงนิ สดย่อย วสั ดุ ค่า คา่ ขนสง่ บัญชอี ื่น
คงเหลอื สำนักงาน สาธาร เขา้
วนั เดอื น ปี รายการ เงินสดจ่าย ณปู โภค ชื่อบัญชี จำนวนเงนิ
10,000
ธค. 1 ต้งั วงเงินสดย่อย
2 ซือ้ วัสดสุ ำนกั งาน 8,800 1,200 1,200
5 จ่ายค่าน้ำประปา
7,300 1,500 1,500

6 จ่ายค่าโทรศัพท์ 5,500 1,800 1,800
9 จ่ายค่าเก็บขยะ
3,400 *2,100 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตลด็ 200
จ่ายค่าไฟฟา้ 200
รวมเบิกชดเชย 1,900

6,600 1,200 5,200

* จ่ายเจ้าหน้ี 2 ราย ๆ ละ ไมเ่ กนิ 2,000 บาท

ภายหลงั จากการเบิกชดเชยเงินสดยอ่ ยแลว้ จะเรมิ่ ตน้ จดั ทำทะเบยี นเงินสดย่อยใหม่ โดยเงินสด

ย่อยจะยงั คงเหลอื 10,000 บาทเท่าเดิม

ทะเบียนเงินสดยอ่ ย

วนั เดอื น ปี รายการ เงินสดย่อย เงินสด วสั ดุ คา่ คา่ ขนสง่ บัญชีอื่น
คงเหลือ ชือ่ บัญชี จำนวนเงนิ
จ่าย สำนกั งาน สาธารณูปโภค เข้า
10,000
ธค. 10 วงเงินสดยอ่ ย 9,550 450 450
15 จ่ายค่าขนส่งเข้า 8,950 600 600
17 ซอ้ื กระดาษ A4

การบันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไป

สมุดรายวนั ท่ัวไป

วนั เดือนปี รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต
บญั ชี บาท สต. บาท สต.

25X0 10,000 – 10,000 –

ธค. 1 เงนิ สดย่อย

ธนาคาร

ตงั้ วงเงินสดยอ่ ย

10 วัสดุสำนักงาน 1,200 –
คา่ สาธารณปู โภค 5,200 –

ค่าใช้จา่ ยเบด็ เตลด็ 200 –
ธนาคาร
6,600 –
เบกิ ชดเชยเงนิ สดยอ่ ย

31 คา่ ขนส่งเข้า 450 –
วัสดสุ ำนกั งาน 600 –
เงนิ สดยอ่ ย
ปรบั ปรุงบัญชเี งินสดยอ่ ย 1,050 –

25X1 เงนิ สดย่อย 1,050 –
มค. 1 วัสดุสำนกั งาน
คา่ ขนส่งเขา้
600 –
โอนกลบั รายการ 450 –

เงินฝากธนาคาร (Bank)
โดยปกติธุรกจิ จะเปิดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทเงนิ ฝากกระแสรายวัน เพ่ือให้เกดิ ความ

คล่องตวั ในการบรหิ าร บัญชีดงั กลา่ วใช้ใบนำฝาก (Pay-in slip) ในการฝากเงิน และใช้เช็คในการถอน
เงิน กจิ การสามารถตรวจสอบยอดเงนิ ฝากธนาคารคงเหลือไดจ้ ากใบแจง้ ยอดเงนิ ฝากธนาคาร (Bank
Statement) ซึ่งทกุ วนั สนิ้ เดอื นธนาคารจะจัดสรุปและส่งใหก้ จิ การ เน่อื งจากรายการเงินฝากธนาคาร
ถูกบันทึกจากบุคคลสองฝ่าย คอื กจิ การและธนาคาร จงึ มคี วามเป็นไปได้ท่ยี อดเงินฝากธนาคาร ณ วนั
ส้นิ เดอื นตามสมุดบัญชี ของกิจการ และยอดเงนิ ฝากตามใบแจ้งยอดธนาคารจะแตกต่างกัน สาเหตุของ
ความแตกต่างท่ีอาจเกิดข้นึ มีดังน้ี

1. เงินฝากระหว่างทาง (Deposit in transit) หมายถึง เงินสดท่ีกิจการได้นำฝากธนาคาร
แล้ว บันทึกเพ่ิมยอดเงินฝากธนาคารแล้วในสมุดบัญชี แต่ธนาคารยังไม่ได้รับเงินดังกล่าว ซ่ึงอาจ
เนื่องมาจากอยูร่ ะหวา่ งการรอหักบญั ชีระหว่างกนั ธนาคารจงึ ยงั ไม่ได้บนั ทกึ เงนิ ฝากธนาคารให้

2. เช็คค้างจ่าย (Outstanding cheque) หมายถึง เช็คที่กิจการสั่งจ่ายชำระหน้ีให้แก่
เจ้าหน้ีแล้ว และได้บันทึกหักยอดบัญชีเงินฝากธนาคารแล้ว แต่ผู้รับเช็คยังไม่ได้นำเช็คไปขึ้นเงิน
ธนาคารจึงยงั ไมไ่ ดห้ กั บัญชีเงินฝากธนาคาร

3. เช็คคืนเน่ืองจากธนาคารเรียกเก็บเงินตามเช็คที่กิจการนำฝากเข้าบัญชีไม่ได้
(N.S.F.Cheque) เช็คที่กิจการได้รับชำระหน้ีจึงนำฝากเข้าธนาคาร และได้บันทึกเพิ่มยอดเงินฝาก
ธนาคารแล้ว แต่ธนาคารไม่สามารถเรียกเก็บเงินและนำเงินเข้าบัญชีให้ได้ จึงคืนเช็คให้แก่กิจการ
เพอื่ ใหต้ ิดต่อผ้สู ง่ั จา่ ยเช็ค

4. ตราสารทางการเงินท่ีให้ธนาคารเรียกเก็บให้ เม่ือธนาคารเรียกเก็บเงินตามตราสารที่
ครบกำหนด ให้แล้ว ธนาคารจะนำฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของกิจการ ซึ่งอาจมีดอกเบี้ยรวมอยู่
ด้ ว ย
แต่อย่างใรก็ตาม ธนาคารก็จะคิดค่าธรรมเนียมในการให้บริการ ดังนั้น เมื่อธนาคารคำนวณเรียบร้อย
ก็จะนำยอดเงินท้ังหมดเข้าบัญชีให้ และจะแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษร ซ่ึงปกติจะส่งแจ้งพร้อมใบแจ้ง
ยอด เงินฝากธนาคาร

5. ค่าใชจ้ า่ ยตา่ ง ๆ ทใ่ี ห้ธนาคารหักจากบญั ชี เชน่ ค่านำ้ คา่ ไฟฟา้ คา่ โทรศัพท์ รวมท้งั
คา่ ธรรมเนยี มธนาคาร รายการดงั กลา่ วเมอื่ ธนาคารได้รับแจ้งยอดจากเจ้าหนีข้ องกจิ การ ธนาคารจะ
ดำเนินการหักจากบญั ชเี งนิ ฝากธนาคารของกจิ การ แล้วแจง้ ให้กจิ การทราบพร้อมใบแจง้ ยอดธนาคาร

6. รายการผดิ พลาด (Errors) อาจเกิดขึ้นจากพนักงานบัญชขี องกิจการ เช่น บนั ทึกผดิ
ธนาคารเน่ืองจากมหี ลายบัญชี บนั ทกึ จำนวนเงินสงู -ตำ่ ไป เปน็ ต้น หรอื อาจเกดิ ข้อผิดพลาดจาก
ธนาคาร เช่น นำฝากเข้าผดิ บัญชี หรอื หกั เงนิ ฝากผิดบัญชี เปน็ ต้น ซ่ึงรายการดงั น้หี ากกิจการตรวจ
พบว่า เป็นข้อผิดพลาดของธนาคารกจ็ ะแจ้งไปยงั ธนาคารใหร้ ับทราบและแกไ้ ขต่อไป

อน่งึ การตรวจพบข้อผดิ พลาดเกยี่ วกับจำนวนเงนิ มักพบว่าไม่ใชข่ ้อผิดพลาดจาก
พนกั งานธนาคาร ท้ังนี้ เพราะทุก ๆ วนั พนักงานธนาคารจะทำการสรปุ ยอดเงินรับ-จา่ ยประจำวนั ซง่ึ
หากมตี วั เลขผิดพลาด พนักงานธนาคารจะตรวจพบในวันทำการนน้ั ๆ และปรับปรุงให้ถูกตอ้ งทนั ที
จึงจะทำการปดิ บญั ชีประจำวันได้ ดังนัน้ การตรวจพบวา่ มีจำนวนเงนิ แตกต่างระหวา่ งกิจการกบั
ธนาคาร จงึ มักเป็นขอ้ ผิดพลาดจากพนักงานบัญชขี องกิจการ นัน่ เอง

วิธจี ดั ทำงบพิสูจนย์ อดเงินฝากธนาคาร (Bank reconciliation)
กิจการสามารถตรวจสอบยอดเงินฝากธนาคารคงเหลอื ด้วยการทำงบพิสจู น์ยอดเงนิ ฝาก
ธนาคาร ณ วนั ส้นิ เดอื น ซ่งึ สามารถทำได้ 2 วธิ ี ดังน้ี
1. กระทบยอดเงินฝากธนาคารเพ่ือหาสาเหตุทีแ่ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งเงินฝากธนาคารตาม
สมุดบญั ชี ของกิจการกับใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร กิจการอาจ เลือกทำรปู แบบใดรปู แบบหน่งึ
ได้แก่

1.1 พสิ ูจนย์ อดเงินฝากธนาคารจากสมดุ บัญชกี จิ การไปหายอดตามใบแจง้ ยอดเงินฝาก
ธนาคาร

1.2 พสิ จู น์ยอดเงินฝากธนาคารจากใบแจง้ ยอดเงนิ ฝากธนาคารไปหายอดตามสมดุ บัญชี
กจิ การ

2. กระทบยอดเงินฝากธนาคารเพอื่ หายอดที่ถูกต้อง ซึง่ กิจการตอ้ งทำทั้ง 2 รปู แบบ ได้แก่
2.1 พิสจู นย์ อดเงินฝากธนาคารตามสมดุ บญั ชีกจิ การให้ถูกตอ้ ง
2.2 พิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจง้ ยอดเงินฝากธนาคารให้ถูกต้อง

ขั้นตอนการกระทบยอดเงนิ ฝากธนาคาร
1. ตรวจสอบยอดเงินฝากธนาคาร ณ วนั ตน้ เดอื นตามสมุดบญั ชี และใบแจง้ ยอดเงนิ ฝาก
ธนาคารถ้ามยี อดตรงกนั แตย่ อดคงเหลือ ณ วนั สน้ิ เดอื นแตกต่างกัน แสดงให้เหน็ วา่ ความ
คลาดเคลือ่ นของยอดเงินฝากธนาคารเกดิ ขนึ้ ระหวา่ งเดือนปจั จบุ ัน แต่ถ้าแตกต่างกนั ต้งั แตต่ ้นเดือน
แสดงวา่ ความคลาดเคลอ่ื นเกิดขนึ้ ตง้ั แต่เดือนก่อนหน้า ซึ่งโดยปกติแลว้ ถ้ากิจการไดท้ ำการพสิ จู น์
ยอดเงินฝากธนาคารทุกเดือน จะทำให้ทราบถึงความคลาดเคล่อื นที่เกดิ ข้นึ มาก่อน ก็ใหน้ ำรายการ
เหลา่ นนั้ มารว่ มพจิ ารณาในการพิสูจนย์ อดเงนิ ฝากธนาคารในเดือนปจั จบุ ันดว้ ย

2. เปรยี บเทยี บรายการนำฝากธนาคารในสมดุ บัญชดี า้ นเดบิตกับใบแจ้งยอดเงนิ ฝาก
ธนาคาร
ดา้ นเครดิต และรายการถอนหรอื สั่งจา่ ยเช็คในสมดุ บัญชดี า้ นเครดติ กับใบแจง้ ยอดเงนิ ฝากธนาคาร
ด้านเดบิตถ้าพบข้อแตกตา่ งให้ทำเครือ่ งหมาย √ ไว้

3. สรุปรายการทีไ่ มต่ รงกนั ซึ่งจะเป็นตามสาเหตขุ องความแตกต่างทีไ่ ด้กล่าวไวแ้ ล้วข้างต้น
ให้นำรายการเหล่านีม้ าจดั ทำงบพสิ จู น์ยอดเงนิ ฝากธนาคาร ซงึ่ กิจการอาจเลอื กทำวธิ ีหนึง่ วธิ ีใดที่จะได้
กลา่ วตอ่ ไป เพอ่ื ใหย้ อดเงนิ ฝากธนาคาร ณ วนั สิน้ เดอื นระหวา่ งสมุดบญั ชแี ละใบแจ้งยอดเงินฝาก
ธนาคารมยี อดทตี่ รงกนั

4. ณ วันส้ินปี ใหจ้ ัดทำงบพิสจู น์ยอดเงินฝากธนาคารตามวธิ ีกระทบยอดเงนิ ฝากธนาคาร
เพอ่ื หายอดที่ถูกต้อง แลว้ ปรับปรงุ บญั ชเี มื่อพบว่า รายการเงินฝากธนาคารตามทบี่ ันทึกไวใ้ นสมุดบญั ชี
ของกจิ การยงั ไม่ครบถว้ นหรือมีความผดิ พลาด

รูปแบบงบพิสจู น์ยอดเงนิ ฝากธนาคารตามวิธีตา่ ง ๆ
1. กระทบยอดเงนิ ฝากธนาคารเพอื่ หาสาเหตุท่ีแตกต่างกันระหว่างเงนิ ฝากธนาคารตาม
สมุดบัญชี ของกจิ การกับใบแจ้งยอดเงนิ ฝากธนาคาร เลอื กทำวิธใี ดวิธีหน่งึ ตอ่ ไปนี้

1.1 การพสิ ูจน์ยอดเงินฝากธนาคารจากสมุดบัญชีกจิ การไปหายอดตามใบแจ้งยอดเงนิ
ฝากธนาคาร

ช่ือกิจการ
งบพิสจู น์ยอดเงินฝากธนาคาร…………………….เลขทบี่ ญั ชี…………………………

ณ วนั ที.่ ………………………………………….
ยอดเงนิ ฝากธนาคารตามสมุดบัญชี (Balance per book)

xx

บวก เชค็ ค้างจ่าย 22 xxx xx
ต๋วั เงนิ รบั ทธ่ี นาคารเรียกเก็บให้ 42 xx
เงนิ ตน้ xx xx
xx xx
บวก ดอกเบยี้ xx
xx
หกั ค่าธรรมเนียมธนาคาร
xx
จำนวนเงินที่กิจการหักบญั ชีไวม้ ากกวา่ ธนาคาร xx
xx
จำนวนเงนิ ทก่ี จิ การนำฝากไว้น้อยกว่าธนาคาร 62 xx
จำนวนเงนิ ท่ีธนาคารฝากเข้าผิดบัญชี xx
xx
xxx

รวม

xxx

หัก เงินฝากระหวา่ งทาง 12
เชค็ คืน 32
ค่าธรรมเนยี มธนาคารและคา่ ใช้จ่ายท่ีธนาคารหกั 52
จำนวนเงินที่กิจการนำฝากไว้มากกวา่ ธนาคาร

จำนวนเงินที่กจิ การหักไว้น้อยกวา่ ธนาคาร 62
จำนวนเงินทธ่ี นาคารหกั ผดิ บัญชี

xxx

ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร (Balance per bank)

xxx

1.2 การพสิ จู นย์ อดเงนิ ฝากธนาคารจากใบแจ้งยอดเงนิ ฝากธนาคารไปหายอดตามสมดุ
บัญชีกิจการ

ช่อื กิจการ

งบพิสูจน์ยอดเงนิ ฝากธนาคาร…………………….เลขท่ีบัญชี…………………………

ณ วันท.ี่ ………………………………………….

ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจง้ ยอดธนาคาร (Balance per bank)

xx

บวก เงินฝากระหว่างทาง 12 xx
xx
เช็คคนื 32 xx
คา่ ธรรมเนียมธนาคารและคา่ ใช้จ่ายท่ีธนาคารหัก 52 xx
จำนวนเงินทก่ี จิ การนำฝากไว้มากกวา่ ธนาคาร

จำนวนเงินที่กิจการหักไว้น้อยกวา่ ธนาคาร 62 xx
จำนวนเงินทีธ่ นาคารหกั ผิดบัญชี xx

xxx

รวม

xxx

หัก เช็คคา้ งจ่าย 22 xx
ตวั๋ เงนิ รบั ทธ่ี นาคารเรียกเก็บให้ 42 xxx
เงนิ ตน้

บวก ดอกเบย้ี xx

xx

หกั คา่ ธรรมเนียมธนาคาร xx xx

จำนวนเงนิ ท่กี จิ การหักบัญชไี วม้ ากกว่าธนาคาร xx

จำนวนเงนิ ที่กจิ การนำฝากไว้น้อยกว่าธนาคาร 62 xx
จำนวนเงินทีธ่ นาคารฝากเขา้ ผิดบญั ชี xx

xxx

ยอดเงนิ ฝากธนาคารตามสมุดบญั ชี (Balance per book)
xxx

2. กระทบยอดเงนิ ฝากธนาคารเพ่ือหายอดเงินฝากธนาคารที่ถูกตอ้ งทง้ั ยอดตามสมุดบญั ชี
ของกจิ การ และตามใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร

ช่อื กจิ การ

งบพสิ จู นย์ อดเงนิ ฝากธนาคาร…………………….เลขทบ่ี ญั ชี…………………………

ณ วนั ที่…………………………………………..

ยอดเงนิ ฝากธนาคารตามสมุดบญั ชี (Balance per book)

xx

บวก ตว๋ั เงินรับท่ีธนาคารเรยี กเก็บให้ 42 xxx
เงินต้น

บวก ดอกเบยี้ xx

xx

หัก ค่าธรรมเนยี มธนาคาร xx xx

จำนวนเงินทกี่ จิ การหักผิดไว้มากไป xx

จำนวนเงินที่กิจการบนั ทึกผิดโดยนำฝากไวน้ ้อยไป 62 xx

xxx

รวม

xxx

หกั เช็คคนื 32 xx
ค่าธรรมเนยี มธนาคารและคา่ ใชจ้ า่ ยท่ธี นาคารหกั 52 xx
จำนวนเงินทก่ี จิ การบันทึกผิดโดยนำฝากไวม้ ากไป xx
xx
จำนวนเงินทก่ี ิจการหักไว้ผิดน้อยเกนิ ไป 62

xxx

ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง

xxx

ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร (Balance per bank)

xx

บวก เงนิ ฝากระหว่างทาง 12 62 xx
จำนวนเงนิ ที่ธนาคารหกั ผดิ บัญชี xx

xxx xx
xx
รวม

xxx

หัก เช็คคา้ งจา่ ย 22
จำนวนเงินที่ธนาคารฝากเขา้ ผิดบัญชี 62
xxx

ยอดเงินฝากธนาคารที่ถูกต้อง

xxx

รายการปรับปรุงบัญชีทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

ณ วนั สนิ้ ปี กจิ การปรับปรงุ บัญชตี ามข้อผดิ พลาดท่ีตรวจพบในสว่ นของสมุดบัญชีกิจการ ดงั น้ี

42 เดบิต ธนาคาร xx
คา่ ธรรมเนียมธนาคาร xx

เครดิต ตวั๋ เงินรบั xx

ดอกเบีย้ รับ xx

ปรับปรงุ การเรียกเก็บเงินตามตัว๋ เงนิ ทธ่ี นาคารเรียกเก็บให้

62 เดบิต ธนาคาร xx

เครดิต บญั ชที ่ีเกยี่ วขอ้ ง xx

ปรับปรุงบญั ชีทีห่ กั ไว้มากไป

62 เดบิต ธนาคาร xx

เครดิต บญั ชีท่เี ก่ยี วข้อง xx

ปรบั ปรุงการนำเงนิ ฝากธนาคารทบ่ี นั ทึกไวต้ ำ่ ไป

32 เดบิต ลูกหนี้ xx

เครดติ ธนาคาร xx

ปรับปรุงบญั ชเี ช็คคนื

62 เดบิต ค่า………………….. xx

เครดิต ธนาคาร xx

ปรบั ปรุงค่าใช้จา่ ยทีธ่ นาคารหักจากบัญชี

ต่อไปนีเ้ ป็นตวั อยา่ งการจัดทำงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารทง้ั 2 วิธี

ตวั อย่างท่ี 2 บรษิ ัท บุญฑริก จำกัด ตอ้ งการจดั ทำงบพิสจู น์ยอดเงินฝากธนาคาร ณ วันที่ 31

ธนั วาคม 25×1 ต่อไปนีเ้ ป็นรายละเอยี ดประกอบการจดั ทำงบพสิ จู นย์ อดเงินฝากธนาคารท่ีรวบรวมได้

งบพสิ จู น์ยอดเงินฝากธนาคาร ณ 30 พฤศจิกายน 25×1 แสดงรายการแตกตา่ งไว้ดงั นี้

เงนิ ฝากระหว่างทาง (เช็ค ธ.บัวหลวง) 17,000 บาท

เช็คคา้ งจา่ ย # 1358 24,500 บาท

# 1362 36,800 บาท

# 1366 9,000 บาท

เชค็ ท่ีธนาคารหกั ผิดบญั ชี # 3165 15,000 บาท

บญั ชธี นาคาร

ว.ด.ป. รายการ หนา้ จำนวนเงนิ ว.ด.ป. รายการ หนา้ จำนวนเงิน
25×1 บัญชี 25×1 บัญชี

ธค. 1 ยอดยกมา √ 54,000 – ธค. 4 เจา้ หนี้ # 1370 รว.7 13,500 –

3 ขายสนิ ค้า รว.7 11,000 – 9 คา่ โทรศัพท์ #1371 รว.7 14,300 –

7 ลกู หนี้ เชค็ ธ.โกมุท รว.7 42,600 – 13 ซ้ือสินคา้ #1372 รว.7 28,000 –
35,000 –
12 ขายสนิ ค้า รว.7 64,000 – 16 ค่าขนสง่ เข้า#1373 รว.7 3,400 –
76,000 –
20 ขายสนิ ค้า รว.7 12,400 – 21 คา่ ประปา #1374 รว.7 5,100 –

25 ลกู หนี้ เชค็ ธ.บัวหลวง รว.8 24 คา่ โฆษณา #1375 รว.8 20,000 –

29 ลูกหน้ี เช็ค ธ.โกมทุ รว.8 26 เจ้าหน้ี #1376 รว.8 70,000 –

30 เงินเดือน #1377 รว.8 86,000 –

ยอดยกไป 54,700 –

295,000 – 295,000 –

ธนาคารปทมุ วิไล

ใบแจง้ ยอดเงินฝากธนาคารของบริษัท บุญฑริก จำกดั เลขทบ่ี ญั ชี 114-5-12060-8

ประจำเดือน ธนั วาคม 25×1

ว.ด.ป. รายการ Cr. Dr. Bal.

ธค. ยอดคงเหลือ 92,300.-

1

เช็ค # 3165 15,000.- 107,300.-

เชค็ เคลียรง่ิ ธ.บวั หลวง 17,000.- 124,300.-

3 เงนิ สด 11,000.- 135,300.-

7 # 1370 13,500.- 121,800.-

เชค็ เคลียริง่ ธ.โกมุท 24,600.- 146,400.-

12 เกบ็ เงนิ ตามต๋ัว P/N

(รวมดอกเบย้ี 1,080.- 37,080.-

)

หัก คา่ ธรรมเนยี ม 480.- 36,600.- 183,000.-

13 เงินสด 35,000.- 218,000.-

15 # 1362 36,800.- 181,200.-

20 เงินสด 64,000.- 245,200.-

21 # 1374 76,000.- 5,100.- 240,100.-
# 1373 3,400.- 236,700.-
312,700.-
25 เชค็ เคลยี รงิ่ ธ.บัวหลวง 76,000.- 236,700.-
N.S.F.cheque 86,000.- 150,700.-
13,400.- 137,300.-
30 # 1377 17,300.- 120,000.-
# 1371 120,000.-
คา่ ไฟฟ้าหักบญั ชี

31 ยอดคงเหลือ

ขอ้ แตกต่างทต่ี รวจพบ
1. เงนิ ฝากระหว่างทาง

เดือนพฤศจิกายน จำนวน 17,000 บาท ถูกนำมาเพ่ิมยอดในใบแจง้ ยอดธนาคารแล้วเมื่อ1ธค.
x1 เดือนธนั วาคม มเี ช็ครอเคลียริ่ง จำนวน 12,400.- บาท

2. เช็คค้างจ่าย
เดอื นพฤศจิกายน # 1362 จำนวน 36,800 บาท ถูกนำมาหักใบแจง้ ยอดธนาคารแลว้
เดือนธันวาคม เช็ครอผูร้ บั นำมาขนึ้ เงิน มียอดค้างจ่ายรวมทง้ั สิน้ 5 ฉบับ ไดแ้ ก่

เช็คจากเดือนพฤศจกิ ายน 2 ฉบับ

# 1358 24,500.- # 1366 9,000.-

เชค็ จากเดือนธนั วาคม 3 ฉบับ

# 1372 28,000.- # 1375 20,000.-

# 1376 70,000.-

3. เช็คคืน N.S.F.cheque

เดือนธนั วาคม ธนาคารเรยี กเกบ็ เงินตามเช็คไม่ได้ 1 ฉบบั จงึ คนื มาให้ จำนวนเงนิ 76,000

บาท

4. ธนาคารเรยี กเก็บเงินตามตราสาร

เดอื นธันวาคม ธนาคารเรียกเก็บเงินตามต๋วั เงนิ มูลค่า 36,000 บาท ดอกเบีย้ รับ 1,080
บาท

และหักคา่ ธรรมเนียมธนาคารไว้ 480 บาท
5. ธนาคารหักค่าใช้จ่ายต่าง ๆ

เดือนธนั วาคม ธนาคารหักบัญชเี งินฝากเป็นค่าไฟฟ้า จำนวน 17,300 บาท
6. รายการข้อผิดพลาด ตรวจพบดงั นี้

6.1 เดอื นพฤศจิกายน ธนาคารนำเช็คของผู้อ่นื มาหักผิดบัญชี แตไ่ ดน้ ำเข้าบญั ชีคนื ให้เม่อื 1
ธค.x1

จำนวนเงนิ 15,000 บาท
6.2 เดือนธันวาคม พนักงานลงบัญชผี ิดพลาด

เชค็ นำฝากจำนวน 24,600 บาทลงบญั ชเี ปน็ 42,600 บาทบนั ทกึ เงนิ ฝากสูงไป 18,000
บาท

เช็ค #1371จำนวน 13,400 บาทบันทึกเป็น 14,300 บาทบันทกึ หกั บัญชสี งู ไป 900
บาท

งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารแตล่ ะวธิ ี สามารถจัดทำไดด้ งั นี้

การพสิ ูจน์ยอดเงนิ ฝากธนาคารจากสมดุ บัญชีกจิ การไปหายอดตามใบแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร

บรษิ ทั บญุ ฑรกิ จำกดั
งบพสิ จู น์ยอดเงนิ ฝากธนาคาร
ประจำเดอื นธนั วาคม 25×1

ยอดเงินฝากธนาคารตามสมุดบญั ชี (Balance per book)

54,700.-

บวก เช็คคา้ งจา่ ย 22 24,500.-
# 1358

# 1366 9,000.-

# 1372 28,000.-

# 1375 20,000.-

# 1376 70,000.- 151,500.-

ตวั๋ เงินรบั ทธี่ นาคารเรยี กเก็บให้ 42 36,600.-
เงินตน้ 36,000.- 900.-

บวก ดอกเบยี้ 1,080.- 12,400.-
76,000.-
37,080.-

หกั คา่ ธรรมเนยี มธนาคาร 480.-

จำนวนเงนิ ทก่ี ิจการหักบญั ชไี ว้มากกว่าธนาคาร 6ก

189,000.- า

รวม ร
พิ
243,700.- สู

หัก เงนิ ฝากระหว่างทาง 12 น์
เชค็ คนื 32 ย


งิ

คา่ ไฟฟ้าท่ธี นาคารหักบัญชี 52 17,300.-
18,000.-
จำนวนเงนิ ทก่ี จิ การนำฝากไว้มากกวา่ ธนาคาร 6ก

123,700.- า

ยอดเงนิ ฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร (Balance pรer bank)
พิ
120,000.- สู

น์

งิ

การพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารจากใบแจง้ ยอดเงนิ ฝากธานาคารไปหายอดตามสมุดบญั ชีกิจการ

บรษิ ัท บุญฑรกิ จาำกัด

งบพิสจู น์ยอดเงนิ ฝากรธนาคาร
ประจำเดอื นธนั วาคมาจ 25×1

ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร (Balance pกer bank)

120,000.- มุ

บวก เงนิ ฝากระหว่างทาง 12 ด 12,400.-
76,000.-
เช็คคืน 32 บั 17,300.-
ค่าไฟฟ้าทธ่ี นาคารหักบัญชี 52 ญ 18,000.-
ชี

จำนวนเงินท่ีกจิ การนำฝากไว้มากกวา่ ธนาคาร 6กกิ
จา
123,700.- กร

าพิ
รสู
จไ
ปน์

รวม

243,700.-

หกั เช็คคา้ งจ่าย 2 24,500.-

2

# 1358

# 1366 9,000.-

# 1372 28,000.-

# 1375 20,000.-

# 1376 70,000.- 151,500.-

ต๋วั เงนิ รับที่ธนาคารเรียกเกบ็ ให้ 42 36,600.-
เงินต้น 36,000.- 900.-

บวก ดอกเบีย้ 1,080.-

37,080.-

หัก ค่าธรรมเนยี มธนาคาร 480.-

จำนวนเงินที่กจิ การหักบญั ชไี ว้มากกว่าธนาคาร 6ก

189,000.- า

ยอดเงนิ ฝากธนาคารตามสมุดบัญชี (Balance per book)ร
พิ
54,700.- สู

น์




งิ








การพสิ จู น์ยอดเงนิ ฝากธนาคารเพือ่ หายอดเงินฝากธนาคารทถี่ ูกตอ้ ง
บรษิ ทั บุญฑริก จำกดั

งบพสิ ูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
ประจำเดือนธนั วาคม 25×1

ยอดเงนิ ฝากธนาคารตามสมุดบัญชี (Balance per book)

54,700.-

บวก ตว๋ั เงินรับทีธ่ นาคารเรียกเกบ็ ให้ 42
เงนิ ต้น 36,000.-

บวก ดอกเบีย้ 1,080.-

37,080.-

หกั ค่าธรรมเนียมธนาคาร 480.- 36,600.-
900.-
ค่าโทรศัพท์ที่หกั บญั ชีไว้สงู ไป 62
37,500.- 76,000.-
17,300.-
รวม 18,000.-

92,200.-

หกั เชค็ คนื 32

คา่ ไฟฟา้ ทีธ่ นาคารหักบญั ชี 52

จำนวนเงินทก่ี ิจการนำฝากไว้สงู ไป 6ก

111,300.- า

ยอดเงนิ ฝากธนาคารทีถ่ ูกต้อง ร
(19,100) พิ
สู

ยอดเงินฝากธนาคารตามใบแจ้งยอดธนาคาร จ(Balance per bank)
น์
120,000.-

บวก เงินฝากระหวา่ งทาง 12 อ
12,400.- ด

งิ


รวม 24,500.-
132,400.- 9,000.-
28,000.-
หัก เชค็ คา้ งจา่ ย 22 20,000.-
# 1358 70,000.-
# 1366
# 1372
# 1375
# 1376

151,500.-
ยอดเงนิ ฝากธนาคารที่ถูกต้อง

(19,100)

รายการปรบั ปรงุ บัญชีท่เี กีย่ วขอ้ ง

42 เดบิต ธนาคาร 36,600.-
คา่ ธรรมเนียมธนาคาร 480.-

เครดิต ตวั๋ เงินรับ 36,000.-

ดอกเบ้ียรบั 1,080.-

ปรบั ปรุงการเรยี กเกบ็ เงินตามตว๋ั เงนิ ทีธ่ นาคารเรียกเก็บให้

62 เดบิต ธนาคาร 900.-

เครดติ คา่ สาธารณปู โภค 900.-

ปรับปรงุ บญั ชีคา่ โทรศัพทท์ หี่ ักไว้สูงไป

32 เดบิต ลกู หนี้ 76,000.-
เครดิต ธนาคาร 76,000.-

ปรับปรงุ บัญชเี ช็คคืน

62 เดบิต คา่ สาธารณปู โภค 17,300.-
เครดติ ธนาคาร 17,300.-

ปรับปรุงคา่ ไฟฟา้ ทธ่ี นาคารหักจากบญั ชี

62 เดบิต ลูกหนี้ 18,000.-
เครดติ ธนาคาร 18,000.-

ปรบั ปรุงบันทึกการรับชำระหนี้ไวส้ ูงไป

[NEW] | ใบ สํา คั ญ จ่าย เงินสด ย่อย – NATAVIGUIDES

We’re fetching your file…

Please wait a moment while we retrieve your file from its home on the internet


การจัดทำใบสำคัญจ่าย


แจก Excel File ช่วยทำใบสำคัญจ่าย แบบลิงค์ข้อมูลจาก Database
Download : https://bit.ly/3m1XJmm

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การจัดทำใบสำคัญจ่าย

ติวACC1102 การบัญชีขั้นต้น 2 ภาค 1/63 ครั้งที่ 2 ติวเตอร์กอล์ฟ


ติวACC1102 บัญชีขั้นต้น 2 ภาค 1/63 ครั้งที่ 2
ติวออนไลน์ อยู่ที่ไหนก็ติวได้
อยากผ่าน อยากติว มีรุ่นพี่หลายคนที่สอบผ่านน
➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖
สนใจซื้อคอร์สยาวติว 2 วิชานี้ได้ที่
ติววิชาการบัญชีขั้นต้น 1 ACC1101 เริ่ม 19 ต.ค. นี้
ติวทุกวัน จันทร์ และ พุธ เวลา 09.30 12.00 น. มีทั้งติวสดและออนไลน์
💵 สนใจสั่งซื้อ คลิ๊ก 👉https://bit.ly/3iER0wt
ติววิชาการบัญชีขั้นต้น 2 ACC1102 เริ่ม 20 ต.ค. นี้
ติวทุกวัน อังคารและพฤหัส เวลา 09.30 12.00 น. มีทั้งติวสดและออนไลน์
💵 สนใจสั่งซื้อ คลิ๊ก 👉https://bit.ly/33GFPiE
➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖
สนใจติววิชาอื่น ภาค 1/63 เลือกวิชา
🛒 สั่งซื้อได้ที่ https://bit.ly/2BT6T3l
💳 ชำระผ่านบัตรเครดิต อนุมัติทันที
💵 ชำระผ่านการโอน อนุมัติภายใน 24 ช.ม
➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖➖
👉 สอบถามเพิ่มเติม
👉 โทร: 0855529560
👉 Line: @333zficu
👉 Facebook: ติวบัญชีออนไลน์ACC1101 บัญชีขั้นต้น 1
ออนไลน์ครั้งแรก อยู่ที่ไหนก็ติวได้
อยากผ่าน อยากติว มีรุ่นพี่หลายคนที่สอบผ่านน

ติวACC1102 การบัญชีขั้นต้น 2 ภาค 1/63 ครั้งที่ 2 ติวเตอร์กอล์ฟ

ไม่มีทางรู้เลย – ลานนา คัมมินส์


ถ้าไม่มีคำว่า พลัดพราก คงไม่เห็นคุณค่าของคำว่า ผูกพัน
(วิดีโอนี้ทำเพื่อความบันเทิงเท่านั้น)
เพลง ไม่มีทางรู้เลย
ศิลปิน ลานนา คัมมินส์
ภาพประกอบ CR: K SME

ไม่มีทางรู้เลย - ลานนา คัมมินส์

บิลเงินสด และ ใบสำคัญจ่ายใช้เมื่อไหร่ และเข้าแฟ้มอย่างไร


รายการอาจารย์มานพพบปัญหา 592 Yellowการบัญชี www.yellowaccounting.com โดย อ.มานพ สีเหลือง และ อ.เจี๊ยบ

บิลเงินสด และ ใบสำคัญจ่ายใช้เมื่อไหร่ และเข้าแฟ้มอย่างไร

ใบเสร็จรับเงินกับ บิลเงินสดต่างกันอย่างไร


ใบเสร็จรับเงินกับ บิลเงินสดต่างกันอย่างไร

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ใบ สํา คั ญ จ่าย เงินสด ย่อย

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *