Skip to content
Home » [NEW] ธุรกิจ ความหมายของธุรกิจ ประเภทของธุรกิจ ประโยชน์ของธุรกิจ วัตถุประสงค์ของธุรกิจ | ลักษณะของธุรกิจ – NATAVIGUIDES

[NEW] ธุรกิจ ความหมายของธุรกิจ ประเภทของธุรกิจ ประโยชน์ของธุรกิจ วัตถุประสงค์ของธุรกิจ | ลักษณะของธุรกิจ – NATAVIGUIDES

ลักษณะของธุรกิจ: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

    การดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสมัยโบราณ มีความแตกต่างกับการดำเนินชีวิต ของมนุษย์ในปัจุบัน เนื่องจากจำนวนประชากรของ มนุษย์ในสมัยโบราณ มีจำนวนน้อย แต่ละคนและแต่ละครอบครัว จะดำรงชีวิตอยู่ด้วยตนเอง ตามลำพัง โดยสร้างที่พักอาศัย ทำเครื่องนุ่งห่ม เพาะปลูกพืช และล่าสัตว์ เพื่อเลี้ยงชีพ ของตนเอง ตามความสามารถ ของแต่ละคน เมื่อสังคมของมนุษย์ขยายขึ้น และความถนัดของมนุษย์มีไม่เหมือนกัน บางคนถนัดใน การล่าสัตว์ บางคนถนัดในการเพาะปลูก บางคนถนัดในการทำเครื่องนุ่งห่ม จึงเกิดระบบการแลกเปลี่ยน โดยการใช้ของแลกของ (Barter System) กันขึ้น เช่น นำข้าวแลกเนื้อสัตว์นำไข่แลกเสื้อผ้า เป็นต้น แต่การนำของแลกของก็มีปัญหาบางอย่างเกิดขึ้น เพราะสิ่งของบางอย่าง แบ่งแยกได้ยาก เช่น ข้าว 3 ถัง แลกวัวได้ 1 ตัว แต่ถ้าคนที่มีข้าว 1 ถัง ต้องการแลกกับวัว 1 ตัวไม่ได้ ต้องมีการแบ่งแยกวัวซึ่งทำได้ยาก หรือบางครั้ง ความต้องการของคน ที่นำมาแล กไม่ตรงกัน เช่น คนที่มีไข่ต้องการแลกกับเสื้อผ้า แต่คนที่มีเสื้อผ้าต้องการข้าวเป็นต้น ดังนั้นระบบการแลกเปลี่ยนของต่อของจึงเปลี่ยนไป โดยใช้สื่อกลาง ในการแลกเปลี่ยน สิ่งที่แต่ละยุคนำมาใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนขึ้นอยู่กับ ความพอใจของคนในแต่ละยุคนั้น เช่น เปลือกหอย ทองคำ ฯลฯ ซึ่งได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นจุดเริ่มต้นของธุรกิจนั่นเอง จากความเป็นมาของการดำเนินชีวิตดังกล่าว สามารถสรุปความหมายของธุรกิจได้ดังนี้
    ธุรกิจ (Business) หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการโดยมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน และมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการประโยชน์หรือ กำไรจากการกระทำกิจกรรมนั้น

    ธุรกิจคือกระบวนการของธุรกิจที่ ประกอบไปด้วยการผลิตสินค้า หรือ การให้บริการตามความต้องการของผู้บริโภค รวมทั้งการจำหน่ายสินค้า โดยได้รับกำไรเป็นผลตอบแทน จากความหมายทำให้ สามารถจำแนกส่วนประกอบสำคัญของธุรกิจได้คือ

    มนุษย์ทุกคนมีความต้องการที่เหมือนกันอยู่ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ประเภทแรกเป็นความต้องการที่จำเป็นขั้นพื้นฐานต่อการดำรงชีวิต (Needs) ได้แก่ปัจจัย 4 คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค ส่วนความต้องการอีกประเภทหนึ่งนั้นเป็นสิ่งที่มนุษย์อยากมี (Wants) แต่ถ้าไม่มีสิ่งเหล่านี้ มนุษย์ก็ยัง สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตัวอย่างเช่น รถยนต์ โทรทัศน์ เครื่องปรับอากาศ เป็นต้น ดังนั้นธุรกิจจึงมีความสำคัญต่อการดำเนินธุรกิจของมนุษย์ เพราะธุรกิจเป็น แหล่งผลิตสินค้าและบริการ เพื่อสนองความต้องการของมนุษย์ทั้ง 2 ประเภทดังที่กล่าวมาแล้ว
    สินค้าคือ สิ่งของที่มีตัวตน สามารถมองเห็นและจับต้องได้ เช่น รถยนต์ อาหาร เสื้อผ้า เป็นต้นตัวอย่างของธุรกิจที่เป็นแหล่งผลิตสินค้า เช่น โรงงานผลิต รถยนต์ โรงงานผลิตเสื้อผ้า เป็นต้น สำหรับการให้บริการนั้น หมายถึง สิ่งที่ไม่มีตัวตน ไม่สามารถมองเห็นหรือจับต้องได้ แต่สามารถกำหนดราคา เพื่อซื้อขาย กันได้ ตัวอย่างเช่นการให้บริการของสถานเริงรมย์ บริการเสริมสวย บริการซักรีด บริการขนส่ง บริการด้านการสื่อสารของสถานที่ให้บริการเฉพาะนั้น ๆ เป็นต้น

    การประกอบธุรกิจต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจประเภทใดก็ตาม สิ่งที่ผู้ประกอบธุรกิจต้องการ คือ กำไรแต่นอกเหนือจากกำไรแล้ว ยังมีสิ่งอื่นอีกที่ธุรกิจ จะต้อง คำนึงถึง เช่น ความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค ความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อลูกจ้างพนักงาน ฯลฯ

    วัตถุประสงค์ของธุรกิจ (Business Goals) ที่สำคัญมีดังนี้

    จากวัตถุประสงค์ของธุรกิจดังกล่าว จัดว่าเป็นวัตถุประสงค์ส่วนใหญ่ของธุรกิจเอกชน แต่ยังมีการประกอบธุรกิจบางประเภทที่ไม่ได้หวังผลกำไร (Social Prestige) ได้แก่ กิจการประเภทสาธารณูปโภค (Public Utilities) ต่าง ๆ เช่น การดำเนินกิจการของการไฟฟ้า การประปา การสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นต้น กิจการดังกล่าวดำเนินการโดยรัฐบาล ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนกินดีอยู่ดี มีความสะดวกสบาย

    การดำเนินธุรกิจต้องอาศัยหลาย ๆ ปัจจัยประกอบกัน จึงจะเกิดกิจกรรมในการประกอบธุรกิจ จะขาดปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งไม่ได้ โดยทั่วไปปัจจัยพื้นฐาน ในการดำเนินธุรกิจมี 4 ประเภท ที่เรียกว่า 4 M ได้แก่

    ประโยชน์ของธุรกิจจำแนกได้ ดังนี้

    ในปัจจุบันมีธุรกิจเกิดขึ้นใหม่มากมายหลายธุรกิจ แต่สามารถแบ่งประเภท ธุรกิจได้อย่างกว้าง ๆ เป็น 2 ประเภท คือ

    การแบ่งประเภทของธุรกิจตามลักษณะของกิจกรรมที่ธุรกิจกระทำ แบ่งออกได้ ดังนี้

    ธุรกิจทุกประเภท ต่างมีหน้าที่ในการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับ ความพอใจสูงสุด เกิดอรรถประโยชน์สูงสุด สามารถบำบัดความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างสมบูรณ์ หน้าที่ดังกล่าว ได้แก่

    ระบบธุรกิจเอกชนเป็นระบบเศรษฐกิจที่ธุรกิจสามารถใช้ศักยภาพการ ดำเนินงานของตนเองในการแสวงหาและตอบสนองความต้องการของลูกค้าเพื่อให้ ได้รับผลตอบแทนจากการดำเนินงาน โดยการดำเนินธุรกิจเอกชนมีสิทธิที่จะได้รับสิ่ง ต่อไปนี้

  1. สิทธิในการครอบครองทรัพย์สิน (The Right to Private Property)

    ธุรกิจ เอกชนมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินเพื่อใช้ในการดำเนินธุรกิจ ทั้งทรัพย์สินที่มี ตัวตน เช่น อาคาร ที่ดิน เครื่องจักร เป็นต้น และ ทรัพย์สินที่ไม่มีตัวตน เช่น สิทธิบัตร ลิขสิทธ์ิ เป็นต้น

  2. สิทธิในการแสวงหากำไร (The Right to Profit)

    ธุรกิจสามารถแสวงหาผล กำไรเป็นสิ่งตอบแทนจากการดำเนินงาน

  3. สิทธิในการแข่งขัน (The Right to Competition)

    การดำเนินงานของ ระบบธุรกิจเอกชน ผู้ประกอบการมีอิสระในการดำเนินธุรกิจและสามารถแข่งขันกับ ธุรกิจรายอื่นอย่างอิสระ ธุรกิจจึงต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงสินค้า หรือ บริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า และ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน โดย รูปแบบการแข่งขันสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะดังนี้
    1.)

    การแข่งขันอย่างสมบูรณ์ (Pure Competition)

    มีลักษณะสำคัญคือ ลักษณะของสินค้าจะคล้ายคลึงกัน ไม่มีความแตกต่างกันระหว่างคู่แข่งขัน ผู้ดำเนิน ธุรกิจสามารถเข้าสู่ตลาด หรือออกจากตลาดได้อย่างง่ายดาย ทำให้มีจำนวนธุรกิจ หลายรายเป็นทางเลือกของผู้บริโภค ดังนั้นจึงไม่มีธุรกิจรายใดรายหนึ่งที่จะมีอำนาจ หรือ มีอิทธิพลต่อการกำหนดราคาของสินค้า ดังนั้นราคาของสินค้าถูกกำหนดโดย กฎของอุปสงค์และอุปทานของตลาด
    2.)

    การแข่งขันแบบกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)

    เป็น สภาพการแข่งขันที่จำนวนธุรกิจจะมีน้อยกว่าในการแข่งขันอย่างสมบูรณ์ แต่ ผู้บริโภคยังคงมีจำนวนมาก ดังนั้นธุรกิจจึงจำเป็นที่จะต้องทำให้สินค้ามีความแตกต่าง จากคู่แข่งทางธุรกิจรายอื่น ๆ คู่แข่งขันทางธุรกิจอาจมีทั้งขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก เนื่องจากผู้ดำเนินธุรกิจสามารถเข้า หรือ ออกจากตลาดนี้ได้ง่าย
    3.)

    การแข่งขันแบบน้อยราย (Oligopoly)

    เป็นสภาพการแข่งขันที่ธุรกิจมี จำนวนน้อยราย เนื่องจากเป็นธุรกิจที่ต้องเป็นกิจการขนาดใหญ่ ดังนั้นการเข้าสู่การ แข่งขันลักษณะนี้ของธุรกิจรายใหม่ ๆ จึงค่อนข้างถูกจำกัดเนื่องจากต้องใช้เงิน ลงทุนจำนวนมาก เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม อุตสาหกรรมพลังงานและเชื้อเพลิง เป็นต้น นอกจากนี้ราคาสินค้าจะใกล้เคียงกัน การเปลี่ยนแปลงราคาของธุรกิจรายใดรายหนึ่งจะมีผลกระทบต่อราคาสินค้าใน อุตสาหกรรมที่จะส่งผลต่อกำไรของกิจการ เช่น การลดราคา ของธุรกิจรายได้รายหนึ่งส่งผลให้คู่แข่งรายอื่นจำเป็นต้องลดราคาลงตาม เป็นต้น
    4.)

    การแข่งขันแบบผูกขาด (Monopoly)

    การแข่งขันแบบนี้จะมีธุรกิจเพียงแค่ รายเดียว ดังนั้นธุรกิจจึงมีอำนาจเต็มที่ในการกำหนดราคาของสินค้า ในประเทศ ไทยการแข่งขันแบบนี้ส่วนใหญ่จะเป็นรัฐวิสาหกิจ หรือ เป็นกิจการประเภท สาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้ า น้ำประปา ระบบขนส่งมวลชน ฯลฯ

  4. สิทธิในการมีอิสระในการตัดสินใจดำเนินงาน (The Right to Freedom of Choice)

    ผู้ประกอบการธุรกิจมีสิทธิที่จะตัดสินในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ดำเนินธุรกิจภายใต้ความถูกต้องของหลักกฎหมายและความเหมาะสม อาทิเช่น การ ตัดสินใจลงทุน การจัดหาแหล่งเงินทุน การจัดจำหน่ายสินค้า เป็นต้น

[Update] 10 ตัวอย่าง นวัตกรรมที่ช่วยเปิดมุมมองใหม่ให้กับธุรกิจของคุณ | ลักษณะของธุรกิจ – NATAVIGUIDES

HUBBA Team

Let’s us be your strategic design partner for innovation ecosystem building


ธุรกิจ SME คืออะไร


ธุรกิจ sme คือ วิสากิจขนาดกลาง แลพขนาดย่อม

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

ธุรกิจ SME คืออะไร

รูปแบบธุรกิจ วันที่ 24 ก.ย.63


รูปแบบธุรกิจ วันที่ 24 ก.ย.63

ท็อป จิรายุส ทรัพย์ศรีโสภา (Bitkub) : PERSPECTIVE [26 ก.ค. 63]


เปอร์สเปกทิฟสัปดาห์นี้พบกับ \”คุณท็อป จิรายุส ทรัพย์ศรีโสภา\” ผู้ก่อตั้งบริษัท Bitkub และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีบล็อกเชนและคริปโตเคอเรนซี่ ตามไปดูธุรกิจที่สร้างรายได้กว่าหลักร้อยล้านบาท มาเรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับ \”digital currency\” หรือสินทรัพย์ดิจิทัลนั้นสามารถทำเงินได้อย่างไร ธุรกิจนี้จะทำให้เกิดเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของวงการการเงินในอนาคตหรือไม่ ธุรกิจที่จะมาแรงในโลกอนาคตจะเป็นอย่างไรสัปดาห์นี้ห้ามพลาด!
ติดตามได้ในคืนวัน อาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม 2563 เวลา 22.00 น. ทางช่อง 9MCOT HD (เลข30) และ Facebook Live PerspectiveTV PerspectiveRevival JSLglobalmedia

ชมรายการทีวีย้อนหลัง รวมถึงคลิปล่าสุดของเรา พร้อมทั้งติดตามข่าวสาร แนะนำ ติชมรายการ และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังนี้
Youtube : http://www.youtube.com/JSLGlobalMedia (Official channel)
Entertainment Web : http://www.jslglobalmedia.com
เจาะใจออนไลน์ : http://www.johjaionline.com
Official Web : http://www.jslsquare.com
Facebook : https://www.facebook.com/JSLGlobalMedia
Twitter : https://www.twitter.com/jslglobalmedia
Line : @JSLGlobalMedia
Copyright©2020 JSL Global Media Company Limited
บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำกัด
154 ลาดพร้าว ซอย 107 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
154 Ladprao Road (Soi 107) Klongjan, Bangkapi, Bangkok 10240 Thailand
Tel: 66 2731 0630
FAX: 66 2377 0691, 66 2375 9033
EMail: [email protected] / [email protected]

ท็อป จิรายุส ทรัพย์ศรีโสภา (Bitkub) : PERSPECTIVE [26 ก.ค. 63]

10 ทักษะที่นักธุรกิจเงินล้านต้องมีและต้องเชี่ยวชาญ


Skills Set หรือทักษะที่จำเป็นต้องมีในการเป็นนักธุรกิจเงินล้านและประสบความสำเร็จอย่างสูงในแวดวงอุตสาหกรรมนั้น จำเป็นต้องมีทักษะเฉพาะทางที่แตกต่างจากการทำงานประจำทั่วไป และนี่คือทักษะสำคัญที่คนเป็นนักธุรกิจเงินล้านต้องมีและต้องเชี่ยวชาญ
ขอบคุณข้อมูลจาก Patrick BetDavid https://youtu.be/eJlWQ08UCyM
อ่านเวอร์ชั่นบทความ https://www.blueoclock.com/10skillsthatmillionairesmaster/
กดติดตามช่องตรงนี้เลย http://bit.ly/SubscribeBlueoclock
ติดตามพวกเราได้ที่
Facebook Page : https://www.facebook.com/theblueoclock
Website : https://www.blueoclock.com
Academy : http://bit.ly/bocacademy
ติดต่อเรื่องงาน
Email : [email protected]
Facebook : https://m.me/theblueoclock

10 ทักษะที่นักธุรกิจเงินล้านต้องมีและต้องเชี่ยวชาญ

รูปแบบของธุรกิจ


รูปแบบของธุรกิจ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่LEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ลักษณะของธุรกิจ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *