Skip to content
Home » [NEW] | ซานฟาซิโก – NATAVIGUIDES

[NEW] | ซานฟาซิโก – NATAVIGUIDES

ซานฟาซิโก: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

    ชื่อสามัญ  Adiponectin

    สารอะดิโพเนคทินเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อไขมันที่มีความสำคัญกับร่างกายชนิดหนึ่ง โดยเป็นฮอร์โมนประเภทโปรตีนมีขนาด 30 กิโลดาลต้น (kDa) ประกอบด้วยกรดอะมิโน 244 ตัว มีชื่อเรียกอื่นคือ AdipoQ, adipocyte complement-related protein หรือ Acrp30, apM1 หรือ GBP-28 ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1995 โดยปกติแล้วอะดิโพเนคทินในพลาสมาจะอยู่ในรูปของสารเชิงซ้อนมัลทิเมอร์ (multimer complex) ในคนปกติจะสามารถพบอะดิโพเนคทินในพลาสมาปริมาณค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับฮอร์โมนชนิดอื่นๆ  โดยพบประมาณ 5-10 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร (µg/ml) ส่วนโครงสร้างของสายโปรตีน อะดิโพเนคทินประกอบด้วย 3 โดเมน ได้แก่ N-terminal variable domain, collagenous domain และ C-terminal globular domain อะดิโพเนคทินมีโครงสร้างคล้ายคลึงกับ collagens VIII, collagens X และ complementary factor C1q

                สำหรับประเภทของอะดิโพเนคทินนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ Full-lengthadiponectin ซึ่งพบเป็นปริมาณมากในเลือด ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบตามน้ำ หนักโมเลกุล ได้แก่

               ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ globular adiponectin ซึ่งพบปริมาณน้อยในเลือดเกิดจากการตัด N-terminal variable domain และ collagenous domain ออกจาก full-length adiponectin (proteolytic cleavage) โดยเอนไซม์ leukocyte elastase ทำ ให้โครงสร้างของ globular adiponectin  มีเฉพาะ globular domain เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม มีงานวิจัยรายงานว่า adiponectin แต่ละรูปแบบนั้นมีฤทธิ์แตกต่างกัน และ HMW multimer เป็นรูปแบบที่มีฤทธิ์ต่อความไวของอินซูลิน และมีฤทธิ์ป้องกันการเกิดโรคเบาหวานได้มากกว่ารูปแบบอื่น

               นอกจากนี้ลักษณะของอะดิโพเนคทินในร่างกายมนุษย์ยังมีความแตกต่างกันระหว่างเพศหญิงและเพศชาย (sexual dimorphism)โดยระดับของอดิโพเนคทินในเลือดของเพศหญิงสูงกว่าเพศชายประมาณ 40% เนื่องจากผลของฮอร์โมนเทสทอสเทอโรนในเพศชาย และมีสัดส่วนของอดิโพเนคทินชนิด HMW มากกว่าอีกด้วย

    แหล่งที่พบและแหล่งที่มาสารอะดิโพเนคทิน

    ฮอร์โมนอะดิโพเนคทินเป็นฮอร์โมนที่สร้างได้โดยร่างกายมนุษย์ ซึ่งจะสร้างจากเนื้อเยื่อไขมัน ซึ่งเป็นแหล่งหลักในการสร้าง แต่ในปัจจุบันพบว่ามีการสร้างอะดิโพเนคทินจากเซลล์อื่นๆ ได้เช่น ไขกระดูก (bone marrow), เนื้อเยื่อทารกในครรภ์ (fetal tissue), เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyocyte), เซลล์บุโพรงหลอดเลือดในตับ (hepatic endothelial cells) แต่อย่างไรก็ตามแหล่งสำคัญที่ผลิตอะดิโพเนคทินในผู้ใหญ่ คือ เนื้อเยื่อไขมัน

                นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า แหล่งอาหารก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน กล่าวคือ หากร่างกายมีการรับประทานอาหารที่เป็นแหล่งของธาตุสังกะสีและแมกนีเซียม ก็จะช่วยทำให้ร่างกายเพิ่มการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินได้ ซึ่งแหล่งของอาหารนั้นรวมถึงอาหารประเภทต่างๆ ดังนี้ ผักใบเขียว ถั่วเปลือกแข็ง ธัญพืช โกโก้ น้ำมันมะกอก กล้วยน้ำวา อะโวคาโด้ และผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ เป็นต้น อีกทั้งยังมีข้อมูลการศึกษาวิจัยพบว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การรับประทานอาหารประเภทกากใยสูง และการควบคุมน้ำหนัก ยังสามารถช่วยเพิ่มการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินได้อีกด้วย

    ปริมาณที่ควรได้รับสารอะดิโพเนคทิน

    สำหรับปริมาณของอะดิโพเนคทินที่ควรได้รับต่อวันนั้น ไม่สามารถกำหนดเกณฑ์ที่จะได้รับจากอาหารได้ เพราะอาหารที่รับประทานเข้าไปจะไม่มีและไม่อยู่ในรูปของฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน โดยตรงแต่อยู่ในรูปของธาตุอาหารอื่นที่จะเข้าไปช่วยเสริมในการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน แต่มีรายงานการศึกษาวิจัยว่าปริมาณของฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน ในคนที่มีภาวะปกติจะความเข้มข้นของ อะดิโพเนคทินในเลือดอยู่ในช่วง 5-30 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และระดับของ ApN ในเลือดจะมีการเปลี่ยนแปลงตามจังหวะรอบวัน (circadian rhythm) โดยระดับ ของฮอร์โมนอะดิโพเนคทินจะสูงสุดในช่วงเช้า และต่ำสุดในช่วงกลางคืน ซึ่งปริมาณอะดิโนเนคทินทั้งหมดในเลือดคิดเป็น0.01% ของปริมาณโปรตีนทั้งหมดในเลือด

    ประโยชน์และโทษสารอะดิโพเนคทิน

    ฮอร์โมนอะดิโพเนคทินมีบทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมของสารอาหารโดยเฉพาะเมแทบอลิซึมของน้ำตาลและกระบวนการแคแทบอลิซึมของกรดไขมัน โดยลดการนำกรดไขมันอิสระเข้าสู่เซลล์ และยังช่วยเพิ่มกระบวนการออกซิเดชันของกรดไขมันในตับและกล้ามเนื้อ ที่สำคัญอะดิโพเนคทินมีความสำคัญในการเพิ่มความไวต่ออินซูลิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยเบาหวาน  และฮอร์โมนอะดิโพเนคทินยังมีบทบาทเกี่ยวข้องกบการอักเสบ  โดยอะดิโพเนคตินมีส่วนยับยั้งการแสดงออกของโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ  เช่น vascular cell adhesion molecule-1 (VCAM-1), intercellular adhesion molecule-1 (ICAM-1) และ selectin ซึ่งถูกกระตุ้นโดย TNF-α อีกทั้งยังมีบทบาทในการเพิ่มการสร้างไนตริกออกไซด์ทำให้หลอดเลือดขยายตัวลดการเกิดการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือด (platelet aggregation), มีส่วนในการยับยั้งการทำงานของแมโครฟาจ (macrophage) และลดการสะสมของโฟมเซลล์ (foam cells), ลดระดับของ plasminogen activator inhibitor-1 (PAI-1) ซึ่งเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดภาวะลิ่มเลือด (thrombi) และการแตกของ atherogenic plaques ซึ่งจะสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดต่างๆ, โรคความดันโลหิตสูง รวมถึงความผิดปกติของหัวใจได้อีกด้วย

    ผลของอะดิโพเนคทินที่เป็นประโยชน์ในลักษณะต่างๆ

    คำย่อ: AMP  =  adenosine  monophosphate;  HDL-C  =  high-density lipoprotein  cholesterol;  Apo B  = apolipoprotein B; Lp (a) = lipoprotein a; CRP = C reactive protein; IL-6 = interleukin-6; TNF-α= tumor necrosis factor α; PAI-1 = plasminogen activator inhibitor-1, ICAM = intercellular adhesion molecule; VCAM= vascular cell adhesion molecule; EC = endothelial cells; VSMC= vascular smooth muscle cells; PA = plasminogen activator

         ส่วนการลดลงของระดับฮอร์โมนอะดิโพเนคทินในร่างกายนั้น มีรายงานการศึกษาวิจัยพบว่า อาจก่อให้เกิดโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบเมแทบอลิลิก และระบบหลอดเลือดหัวใจ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด (ischemic heart disease) โรคหลอดเลือดสมอง(stroke)  โรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary heart disease) ภาวะตับอักเสบไขมันมาก(steatohepatitis) ภาวะดื้ออินซูลิน  ภาวะตับคั่งไขมันที่ไม่ได้เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ (non-alcoholic fatty liver) นอกจากนี้การลดลงของอดิโพเนคทินยังทำให้มีการเพิ่มขึ้นของสารต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการทำให้เกิดภาวะท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) อีกด้วย

    การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องสารอะดิโพเนคทิน

    มีผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน พบว่าออกฤทธิ์โดยจับกับตัวรับที่ผิวเซลล์ โดยตัวรับของอดิโพเนคทินมีอยู่ 3 ชนิดได้แก่  ตัวรับอดิโพเนคทิน1 (adiponectin  receptor  1,  AdipoR1) ตัวรับอดิโพเนคทิน2 (adiponectin  receptor  2,  AdipoR2) ซึ่งตัวรับสองชนิดนี้เป็นตัวรับหลักที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของกลูโคสและไขมัน ตัวรับ AdipoR1 พบที่กล้ามเนื้อโครงร่าง และตัวรับชนิด AdipoR2 พบได้ที่ตับ  โดยหลังจากที่ adiponectin เข้าจับกับตัวรับ AdipoR1 และ AdipoR2 แล้วจะเกิดกระบวนการถ่ายโอนสัญญาณ (signal transduction) ต่างๆ ตามมา ได้แก่ การกระตุ้น p38-mitogen activated protein kinase (p38-MAPK), adenosine monophosphate protein kinase (AMP kinase) และ peroxisome proliferator-activated receptor-α (PPAR-α) และจากการกระตุ้นดังกล่าวทำให้เกิดผลลัพธ์คือ เพิ่มการเคลื่อนย้ายตัวขนส่งกลูโคส ( glucose transporter – 4 translocation ; GLUT-4 translocation) ไปที่เยื่อหุ้มเซลล์ของกล้ามเนื้อลายนำไปสู่การเพิ่มการเก็บกลับกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อลาย และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ phosphoenolpyruvate carboxykinase (PEPCK) และ glucose-6-phosphatase (G6Pase) ทำให้ลดการสร้างกลูโคสใหม่ (gluconeogenesis) ที่ตับ และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ acetyl coenzyme-A carboxylase (ACC) ทำ ให้เพิ่มการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของกรดไขมัน (fatty acid oxidation) ที่เซลล์ตับและกล้ามเนื้อลาย

               ส่วนตัวรับอีกชนิดหนึ่งเป็นตัวรับในกลุ่ม T-cadherin  (T-Cad)เป็นตัวรับสำหรับอะดิโพเนคทินในรูปเฮกซะเมอร์ และรูปที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูง โดย T-cadherin พบได้ทั่วไปในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ เนื้อเยื่อบุโพรงหลอดเลือด และระบบประสาท แต่ไม่พบที่เซลล์ตับโครงสร้างของ T-cadherin จะไม่มี transmembrane และ cytoplasmic domains ดังนั้นการจับของ adiponectin ที่ T-cadherin จึงไม่เกิดกระบวนการถ่ายโอนสัญญาณ ทำให้สันนิษฐานว่า T-cadherin อาจมีบทบาทเป็นตัวรับร่วม (co-receptor) หรือเป็นโปรตีนที่จับกับ ApN (adiponectin -binding protein)  และยังมีอีกการวิจัยหนึ่งที่น่าสนใจ คือมีการศึกษาทดลองในมนุษย์และสัตว์ทดลองพบว่า ฮอร์โมนเทสทอสเทอโรนมีผลยับยั้งการหลั่ง adiponectin ที่เกิดจากการกระตุ้นการหลั่งโดยระดับ adiponectin ที่ต่ำลง

               นอกจากนี้ยังมีผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ ฮอร์โมนอะดิโพเนคทินอีกหลายฉบับ  ได้แก่  อะดิโพเนคทินกับการควบคุมสมดุลกลูโคสและความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน adiponectin มีผลเพิ่มการเก็บกลับกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อลาย ลดการสร้างกลูโคสที่เซลล์ตับ ลดการเก็บกรดไขมันเข้าสู่เซลล์ตับ เพิ่มการเกิดปฏิกิริยาบีตาออกซิเดชันของกรดไขมันที่เซลล์ตับและกล้ามเนื้อลาย เพิ่มการสลายไขมันในเซลล์กล้ามเนื้อลาย ทั้งหมดที่กล่าวมานำ ไปสู่การลดระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด และเพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน

             อะดิโพเนคทินต่อการต้านภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง adiponectin มีผลกระตุ้นการสร้างและการทำ งานของเอนไซม์ nitric oxide synthase ที่เยื่อบุโพรงหลอดเลือด ทำให้เพิ่มการสร้างไนตริกออกไซด์ ApN ยับยั้ง cell adhesion molecule ลดการเคลื่อนที่และการรวมตัวของโมโนไซต์ที่ผนังหลอดเลือดยับยั้งการแสดงออก (expression) และการทำงานของตัวรับ scavenger receptor class A1 (SR-A1) บนแมโครฟาจ ทำให้ลดการนำ oxidized LDL เข้าสู่แมโครฟาจ ยับยั้งการเกิด foam cell และยับยั้งการกระตุ้นโดย growth factor ที่เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทำให้ลดการเจริญของเซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด

               อะดิโพเนคทินต่อการต้านการอักเสบเมื่อ adiponectin เข้าจับกับตัวรับ AdipoR1 และ AdipoR2 ที่โมโนไซต์ แมโครฟาจ และเยื่อบุโพรงหลอดเลือด ทำให้ยับยั้งการสร้าง proinflammatory cytokines และ chemokines จากทั้งเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันและเยื่อบุโพรงหลอดเลือด ซึ่งเซลล์ดังกล่าวจะถูกกระตุ้นให้สร้าง proinflammatory cytokines และ chemokines เมื่อมีการอักเสบเกิดขึ้น นอกจากนี้ ApN มีผลลดระดับ TNF-α, interleukin-6 (IL-6) และ CRP และควบคุมการทำงานของ inflammatory cell และใน พ.ศ.2550 มีการศึกษาระดับของอะดิโพเนคทินในกลุ่มผู้หญิงวัยกลางคนช่วงอายุ49 – 65 ปี ชาวแอฟริกัน-อเมริกันที่อ้วน (obese) และไม่อ้วน (non-obese) โดยใช้ค่าดัชนีมวลกายเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาโดยกำหนดให้ ค่าดัชนีมวลกาย ≥30 kg/m2 จัดเป็นกลุ่มอ้วน และใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดสูง (ค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มอ้วนเท่ากับ 125.30 ±58.43 mg/dl และกลุ่มไม่อ้วนเท่ากับ  131.78 ±93.10 mg/dl)โดยใช้วิธี commercially available RIA kit และจากการศึกษาพบว่ากลุ่มอ้วนระดับของอะดิโพเนคทินลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มไม่อ้วน (8.45 vs 10.47 µg/mL, P = 0.01) นอกจากนี้ระดับอะดิโพเนคตินในผู้หญิงแอฟริกัน-อเมริกัน ยังถูกพยากรณ์โดยระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์และยังช่วยในการพยากรณ์โรคหลอดเลือดสมองในหญิงอ้วนได้อีกด้วย

               ส่วนในประเทศไทยมีการศึกษาความสัมพันธ์ของ adiponectin gene -11377C>G polymorphism ร่วมกับระดับของ อะดิโพเนคติน และภาวะเมแทบอลิกซินโดรม โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมซึ่งมีค่าระดับน้ำตาลในเลือดปกติ (ค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลในเลือด [Median (95 % CI)] เท่ากับ  95.0 (91.0-97.3) mg/dl) โดยใช้วิธี radioimmunoassay kit from Linco Researchและจากการศึกษาพบว่า กลุ่มที่มีภาวะเมแทบอลิกซิโดรมระดับของอะดิโพเนคทินลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (7.9 vs 14.5 µg/mL, P < 0.001) และอะดิโพเนคตินมีความสัมพันธ์กบระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินอกจากนี้ยังพบว่าการลดลงของอะดิโพเนคตินมีความเกี่ยวข้องกับ  gene -11377C>G Polymorphism ซึ่งยีนนี้จะพบได้มากในกลุ่มที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ

    ข้อแนะนำและข้อควรปฏิบัติ

    สำหรับฮอร์โมนอะดิโพเนคทินเป็นฮอร์ดมนที่สร้างได้ในร่างกาย และไม่พบในแหล่งอาหารตามธรรมชาติ แต่สามารถรับประทานอาหารต่างๆ ที่เป็นแหล่งของแมกนีเซียม และสังกะสี เพื่อเพิ่มการสร้างฮอร์ดมนอะดิโพเนคทินได้ และในปัจจุบันส่วนมากมักจะพบผู้ที่มีภาวะฮอร์ดมนอะดิโพเนคทินในเลือดดำในผู้ที่เป็นโรคอ้วนลงพุง เบาหวาน ดังนั้นหากมีการดูแลตนเองให้ดี โดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ และรับประทานอาหารที่เป็นแหล่งของแมกนีเซียมและสังกะสี รวมถึงอาหารที่ช่วยกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินตามที่กล่าวมาแล้วในบทความที่แล้วมา เท่านี้ร่างกายก็จะมีการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินเพื่อนำไปใช้อย่างเพียงพอแล้ว

    อ้างอิง อะดิโพเนคทิน

  1. ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์. Metabolic syndrome (โรคอ้วนลงพุง). สารราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ฯ ๒๕๔๙;๒๓:๕-๑๗.

  2. ต่อศักดิ์ อินทรไพโรจน์, ปัทมวรรณ เผือกผอง. ฮอร์โมนจากเนื้อเยื่อไขมัน: เลปทิน

    อะดิโพเนคทิน

    และ รีซิสทิน. ไทยไภษัชยนิพนธ์. 2554;6:1-18

  3. วิมล พันธุเวทย์.บทบาทของอะดิโพเน็กทินต่อกลุ่มอาการเมแทบอลิก.ธรรมศาสตร์เวชสารปีที่13.ฉบับที่3กรกฎาคม-กันยายน2556หน้า393-406

  4. Vaiopoulos AG, Marinou K, Christodoulides C, Koutsilieris M. The role of adiponectin in human vascular physiology. Int J Cardiol 2012;155:188-93.

  5. Matsuzawa  Y,  Funahashi  T,  Kihara  S,  et  al.  Adiponectin  and  metabolic syndrome. Arterioscler Thromb Vasc Biol 2004; 24: 29-33.

  6. Haluzik M, Parizkova J, Haluzik MM. Adiponectin and its role in the obesity-induced insulin resistance and related complications. Physiol Res 2004;53: 123-9

  7. Wasim H, Al-Daghri NM, Chetty R, et al. Relationship of serum adiponectin and resistin to glucose intoleranceand fat topography in South-Asians. Cardiovasc Diabetol 2006; 5: 10.

  8. Ricci R, Bevilacqua F. The potential role of leptin and adiponectin in obesity: a comparative review. Veterinary J 2012;191:292-8.

  9. Trujillo  ME  &  Scherer  PE.  Adiponectin–journey  from  an  adipocyte  secretory protein to biomarker of the metabolic syndrome. J Intern Med 2005; 257: 167-175

  10. Wang ZV, Scherer PE. Adiponectin, cardiovascular function, and hypertension. Hypertension 2008;51: 8-14

  11. Rolland YM, Haren MT, Patrick P, Banks WA, Malmstrom TK, Miller DK, et al. Adiponectin levels in obese and non-obese middle-aged African-American women. Obes Res Clin Pract. 2007;1(1):27-37

  12. Phillips SA, Kung JT. Mechanisms of adiponectin regulation and use as a pharmacological target. Curr Opin Pharmacol 2010;10:676-83.

  13. Fujimatsu  D,  Kotooka  N,  Inoue  T, et  al. Association  between  high molecular weight  adiponectin  levels  and  metabolic  parameters.  J  Atheroscler  Thromb 2009; 16: 553-559

  14. Di Chiara T, Argano C, Corrao S, Scaglione R, Licata G. Hypoadiponectinemia: A link between visceral obesity and metabolic syndrome. J Nutr Metab. 2012;2012:175245.

  15. Ziemke  F  &  Mantzoros  CS.  Adiponectin  in  insulin  resistance:  lessons  from translational research. Am J Clin Nutr 2010; 91: 258S-261S

  16. Okamoto Y, Kihara S, Funahashi T, Matsuzawa Y, Libby P. Adiponectin: a key adipokine in metabolic syndrome. Clin Sci 2006;110:267-78.

  17. Falcão-Pires I, Castro-Chaves P, Miranda-Silva D, Lourenço AP, Leite-Moreira AF. Physiological, pathological and potential therapeutic roles of adipokines. Drug Discov Today 2012;17:880-9.

  18. Yamauchi T, Kamon J, Minokoshi Y, Ito Y, Waki H, Uchida S, et al. Adiponectin stimulates glucose utilization and fatty-acid oxidation by activating AMPactivated protein kinase. Nat Med 2002;8:1288-95.

  19. Hara  K,  Yamauchi  T  &  Kadowaki  T.  Adiponectin:  an  adipokine  linking adipocytes and type 2 diabetes in humans. Curr Diab Rep 2005; 5: 136-140

  20. Kadowaki T, Yamauchi T. Adiponectin and adiponectin receptors. Endocr Rev 2005;20:439-51.

  21. Parul SS, Mazumder M, DebnathBC, et al. Serum adiponectin in patients with coronary heart disease. Mymensingh Med J 2011; 20: 78-82

  22. Nishizawa H, Shimomura I, Kishida K, Maeda N, Kuriyama H, Nagaretani H, et al. Androgens decrease plasma adiponectin, an insulin-sensitizing adipocytederived protein. Diabetes 2002;51:2734-41.

  23. Kizer JR, Barzilay JI, Kuller LH, et al. Adiponectin and risk of coronary heart disease  in  older  men  and  women.  J  Clin  Endocrinol  Metab  2008;  93:  3357-3364

  24. Ouchi N, Kihara S, Arita Y, Okamoto Y, Maeda K, Kuriyama H, et al. Adiponectin, an adipocyte-derived plasma protein, inhibits endothelial NF-κB signaling through a cAMP-dependent pathway. Circulation 2000;102:1296-301.

  25. Fang  X  &  Sweeney  G.  Mechanisms  regulating  energy  metabolism  by adiponectin in obesity and diabetes. Biochem Soc Trans 2006; 34: 798-801.

  26. Hopkins TA, Ouchi N, Shibata R, Walsh K. Adiponectin actions in the cardiovascular system. Cardiovasc Res 2007;74:11-8

[NEW] | ซานฟาซิโก – NATAVIGUIDES

    ชื่อสามัญ  Adiponectin

    สารอะดิโพเนคทินเป็นฮอร์โมนที่สร้างจากเนื้อเยื่อไขมันที่มีความสำคัญกับร่างกายชนิดหนึ่ง โดยเป็นฮอร์โมนประเภทโปรตีนมีขนาด 30 กิโลดาลต้น (kDa) ประกอบด้วยกรดอะมิโน 244 ตัว มีชื่อเรียกอื่นคือ AdipoQ, adipocyte complement-related protein หรือ Acrp30, apM1 หรือ GBP-28 ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 1995 โดยปกติแล้วอะดิโพเนคทินในพลาสมาจะอยู่ในรูปของสารเชิงซ้อนมัลทิเมอร์ (multimer complex) ในคนปกติจะสามารถพบอะดิโพเนคทินในพลาสมาปริมาณค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับฮอร์โมนชนิดอื่นๆ  โดยพบประมาณ 5-10 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร (µg/ml) ส่วนโครงสร้างของสายโปรตีน อะดิโพเนคทินประกอบด้วย 3 โดเมน ได้แก่ N-terminal variable domain, collagenous domain และ C-terminal globular domain อะดิโพเนคทินมีโครงสร้างคล้ายคลึงกับ collagens VIII, collagens X และ complementary factor C1q

                สำหรับประเภทของอะดิโพเนคทินนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ Full-lengthadiponectin ซึ่งพบเป็นปริมาณมากในเลือด ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 รูปแบบตามน้ำ หนักโมเลกุล ได้แก่

               ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คือ globular adiponectin ซึ่งพบปริมาณน้อยในเลือดเกิดจากการตัด N-terminal variable domain และ collagenous domain ออกจาก full-length adiponectin (proteolytic cleavage) โดยเอนไซม์ leukocyte elastase ทำ ให้โครงสร้างของ globular adiponectin  มีเฉพาะ globular domain เท่านั้น แต่อย่างไรก็ตาม มีงานวิจัยรายงานว่า adiponectin แต่ละรูปแบบนั้นมีฤทธิ์แตกต่างกัน และ HMW multimer เป็นรูปแบบที่มีฤทธิ์ต่อความไวของอินซูลิน และมีฤทธิ์ป้องกันการเกิดโรคเบาหวานได้มากกว่ารูปแบบอื่น

               นอกจากนี้ลักษณะของอะดิโพเนคทินในร่างกายมนุษย์ยังมีความแตกต่างกันระหว่างเพศหญิงและเพศชาย (sexual dimorphism)โดยระดับของอดิโพเนคทินในเลือดของเพศหญิงสูงกว่าเพศชายประมาณ 40% เนื่องจากผลของฮอร์โมนเทสทอสเทอโรนในเพศชาย และมีสัดส่วนของอดิโพเนคทินชนิด HMW มากกว่าอีกด้วย

    แหล่งที่พบและแหล่งที่มาสารอะดิโพเนคทิน

    ฮอร์โมนอะดิโพเนคทินเป็นฮอร์โมนที่สร้างได้โดยร่างกายมนุษย์ ซึ่งจะสร้างจากเนื้อเยื่อไขมัน ซึ่งเป็นแหล่งหลักในการสร้าง แต่ในปัจจุบันพบว่ามีการสร้างอะดิโพเนคทินจากเซลล์อื่นๆ ได้เช่น ไขกระดูก (bone marrow), เนื้อเยื่อทารกในครรภ์ (fetal tissue), เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyocyte), เซลล์บุโพรงหลอดเลือดในตับ (hepatic endothelial cells) แต่อย่างไรก็ตามแหล่งสำคัญที่ผลิตอะดิโพเนคทินในผู้ใหญ่ คือ เนื้อเยื่อไขมัน

                นอกจากนี้ยังมีรายงานว่า แหล่งอาหารก็เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน กล่าวคือ หากร่างกายมีการรับประทานอาหารที่เป็นแหล่งของธาตุสังกะสีและแมกนีเซียม ก็จะช่วยทำให้ร่างกายเพิ่มการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินได้ ซึ่งแหล่งของอาหารนั้นรวมถึงอาหารประเภทต่างๆ ดังนี้ ผักใบเขียว ถั่วเปลือกแข็ง ธัญพืช โกโก้ น้ำมันมะกอก กล้วยน้ำวา อะโวคาโด้ และผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ เป็นต้น อีกทั้งยังมีข้อมูลการศึกษาวิจัยพบว่า การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ การรับประทานอาหารประเภทกากใยสูง และการควบคุมน้ำหนัก ยังสามารถช่วยเพิ่มการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินได้อีกด้วย

    ปริมาณที่ควรได้รับสารอะดิโพเนคทิน

    สำหรับปริมาณของอะดิโพเนคทินที่ควรได้รับต่อวันนั้น ไม่สามารถกำหนดเกณฑ์ที่จะได้รับจากอาหารได้ เพราะอาหารที่รับประทานเข้าไปจะไม่มีและไม่อยู่ในรูปของฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน โดยตรงแต่อยู่ในรูปของธาตุอาหารอื่นที่จะเข้าไปช่วยเสริมในการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน แต่มีรายงานการศึกษาวิจัยว่าปริมาณของฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน ในคนที่มีภาวะปกติจะความเข้มข้นของ อะดิโพเนคทินในเลือดอยู่ในช่วง 5-30 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และระดับของ ApN ในเลือดจะมีการเปลี่ยนแปลงตามจังหวะรอบวัน (circadian rhythm) โดยระดับ ของฮอร์โมนอะดิโพเนคทินจะสูงสุดในช่วงเช้า และต่ำสุดในช่วงกลางคืน ซึ่งปริมาณอะดิโนเนคทินทั้งหมดในเลือดคิดเป็น0.01% ของปริมาณโปรตีนทั้งหมดในเลือด

    ประโยชน์และโทษสารอะดิโพเนคทิน

    ฮอร์โมนอะดิโพเนคทินมีบทบาทเกี่ยวข้องกับกระบวนการเมแทบอลิซึมของสารอาหารโดยเฉพาะเมแทบอลิซึมของน้ำตาลและกระบวนการแคแทบอลิซึมของกรดไขมัน โดยลดการนำกรดไขมันอิสระเข้าสู่เซลล์ และยังช่วยเพิ่มกระบวนการออกซิเดชันของกรดไขมันในตับและกล้ามเนื้อ ที่สำคัญอะดิโพเนคทินมีความสำคัญในการเพิ่มความไวต่ออินซูลิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยเบาหวาน  และฮอร์โมนอะดิโพเนคทินยังมีบทบาทเกี่ยวข้องกบการอักเสบ  โดยอะดิโพเนคตินมีส่วนยับยั้งการแสดงออกของโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ  เช่น vascular cell adhesion molecule-1 (VCAM-1), intercellular adhesion molecule-1 (ICAM-1) และ selectin ซึ่งถูกกระตุ้นโดย TNF-α อีกทั้งยังมีบทบาทในการเพิ่มการสร้างไนตริกออกไซด์ทำให้หลอดเลือดขยายตัวลดการเกิดการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือด (platelet aggregation), มีส่วนในการยับยั้งการทำงานของแมโครฟาจ (macrophage) และลดการสะสมของโฟมเซลล์ (foam cells), ลดระดับของ plasminogen activator inhibitor-1 (PAI-1) ซึ่งเป็นปัจจัยกระตุ้นให้เกิดภาวะลิ่มเลือด (thrombi) และการแตกของ atherogenic plaques ซึ่งจะสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดต่างๆ, โรคความดันโลหิตสูง รวมถึงความผิดปกติของหัวใจได้อีกด้วย

    ผลของอะดิโพเนคทินที่เป็นประโยชน์ในลักษณะต่างๆ

    คำย่อ: AMP  =  adenosine  monophosphate;  HDL-C  =  high-density lipoprotein  cholesterol;  Apo B  = apolipoprotein B; Lp (a) = lipoprotein a; CRP = C reactive protein; IL-6 = interleukin-6; TNF-α= tumor necrosis factor α; PAI-1 = plasminogen activator inhibitor-1, ICAM = intercellular adhesion molecule; VCAM= vascular cell adhesion molecule; EC = endothelial cells; VSMC= vascular smooth muscle cells; PA = plasminogen activator

         ส่วนการลดลงของระดับฮอร์โมนอะดิโพเนคทินในร่างกายนั้น มีรายงานการศึกษาวิจัยพบว่า อาจก่อให้เกิดโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบเมแทบอลิลิก และระบบหลอดเลือดหัวใจ เช่น โรคหัวใจขาดเลือด (ischemic heart disease) โรคหลอดเลือดสมอง(stroke)  โรคหลอดเลือดหัวใจ (coronary heart disease) ภาวะตับอักเสบไขมันมาก(steatohepatitis) ภาวะดื้ออินซูลิน  ภาวะตับคั่งไขมันที่ไม่ได้เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ (non-alcoholic fatty liver) นอกจากนี้การลดลงของอดิโพเนคทินยังทำให้มีการเพิ่มขึ้นของสารต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับการทำให้เกิดภาวะท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) อีกด้วย

    การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องสารอะดิโพเนคทิน

    มีผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอะดิโพเนคทิน พบว่าออกฤทธิ์โดยจับกับตัวรับที่ผิวเซลล์ โดยตัวรับของอดิโพเนคทินมีอยู่ 3 ชนิดได้แก่  ตัวรับอดิโพเนคทิน1 (adiponectin  receptor  1,  AdipoR1) ตัวรับอดิโพเนคทิน2 (adiponectin  receptor  2,  AdipoR2) ซึ่งตัวรับสองชนิดนี้เป็นตัวรับหลักที่เกี่ยวข้องกับเมแทบอลิซึมของกลูโคสและไขมัน ตัวรับ AdipoR1 พบที่กล้ามเนื้อโครงร่าง และตัวรับชนิด AdipoR2 พบได้ที่ตับ  โดยหลังจากที่ adiponectin เข้าจับกับตัวรับ AdipoR1 และ AdipoR2 แล้วจะเกิดกระบวนการถ่ายโอนสัญญาณ (signal transduction) ต่างๆ ตามมา ได้แก่ การกระตุ้น p38-mitogen activated protein kinase (p38-MAPK), adenosine monophosphate protein kinase (AMP kinase) และ peroxisome proliferator-activated receptor-α (PPAR-α) และจากการกระตุ้นดังกล่าวทำให้เกิดผลลัพธ์คือ เพิ่มการเคลื่อนย้ายตัวขนส่งกลูโคส ( glucose transporter – 4 translocation ; GLUT-4 translocation) ไปที่เยื่อหุ้มเซลล์ของกล้ามเนื้อลายนำไปสู่การเพิ่มการเก็บกลับกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อลาย และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ phosphoenolpyruvate carboxykinase (PEPCK) และ glucose-6-phosphatase (G6Pase) ทำให้ลดการสร้างกลูโคสใหม่ (gluconeogenesis) ที่ตับ และยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ acetyl coenzyme-A carboxylase (ACC) ทำ ให้เพิ่มการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของกรดไขมัน (fatty acid oxidation) ที่เซลล์ตับและกล้ามเนื้อลาย

               ส่วนตัวรับอีกชนิดหนึ่งเป็นตัวรับในกลุ่ม T-cadherin  (T-Cad)เป็นตัวรับสำหรับอะดิโพเนคทินในรูปเฮกซะเมอร์ และรูปที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูง โดย T-cadherin พบได้ทั่วไปในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ เนื้อเยื่อบุโพรงหลอดเลือด และระบบประสาท แต่ไม่พบที่เซลล์ตับโครงสร้างของ T-cadherin จะไม่มี transmembrane และ cytoplasmic domains ดังนั้นการจับของ adiponectin ที่ T-cadherin จึงไม่เกิดกระบวนการถ่ายโอนสัญญาณ ทำให้สันนิษฐานว่า T-cadherin อาจมีบทบาทเป็นตัวรับร่วม (co-receptor) หรือเป็นโปรตีนที่จับกับ ApN (adiponectin -binding protein)  และยังมีอีกการวิจัยหนึ่งที่น่าสนใจ คือมีการศึกษาทดลองในมนุษย์และสัตว์ทดลองพบว่า ฮอร์โมนเทสทอสเทอโรนมีผลยับยั้งการหลั่ง adiponectin ที่เกิดจากการกระตุ้นการหลั่งโดยระดับ adiponectin ที่ต่ำลง

               นอกจากนี้ยังมีผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ ฮอร์โมนอะดิโพเนคทินอีกหลายฉบับ  ได้แก่  อะดิโพเนคทินกับการควบคุมสมดุลกลูโคสและความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน adiponectin มีผลเพิ่มการเก็บกลับกลูโคสเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อลาย ลดการสร้างกลูโคสที่เซลล์ตับ ลดการเก็บกรดไขมันเข้าสู่เซลล์ตับ เพิ่มการเกิดปฏิกิริยาบีตาออกซิเดชันของกรดไขมันที่เซลล์ตับและกล้ามเนื้อลาย เพิ่มการสลายไขมันในเซลล์กล้ามเนื้อลาย ทั้งหมดที่กล่าวมานำ ไปสู่การลดระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด และเพิ่มความไวของเนื้อเยื่อต่ออินซูลิน

             อะดิโพเนคทินต่อการต้านภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง adiponectin มีผลกระตุ้นการสร้างและการทำ งานของเอนไซม์ nitric oxide synthase ที่เยื่อบุโพรงหลอดเลือด ทำให้เพิ่มการสร้างไนตริกออกไซด์ ApN ยับยั้ง cell adhesion molecule ลดการเคลื่อนที่และการรวมตัวของโมโนไซต์ที่ผนังหลอดเลือดยับยั้งการแสดงออก (expression) และการทำงานของตัวรับ scavenger receptor class A1 (SR-A1) บนแมโครฟาจ ทำให้ลดการนำ oxidized LDL เข้าสู่แมโครฟาจ ยับยั้งการเกิด foam cell และยับยั้งการกระตุ้นโดย growth factor ที่เซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด ทำให้ลดการเจริญของเซลล์กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด

               อะดิโพเนคทินต่อการต้านการอักเสบเมื่อ adiponectin เข้าจับกับตัวรับ AdipoR1 และ AdipoR2 ที่โมโนไซต์ แมโครฟาจ และเยื่อบุโพรงหลอดเลือด ทำให้ยับยั้งการสร้าง proinflammatory cytokines และ chemokines จากทั้งเซลล์ในระบบภูมิคุ้มกันและเยื่อบุโพรงหลอดเลือด ซึ่งเซลล์ดังกล่าวจะถูกกระตุ้นให้สร้าง proinflammatory cytokines และ chemokines เมื่อมีการอักเสบเกิดขึ้น นอกจากนี้ ApN มีผลลดระดับ TNF-α, interleukin-6 (IL-6) และ CRP และควบคุมการทำงานของ inflammatory cell และใน พ.ศ.2550 มีการศึกษาระดับของอะดิโพเนคทินในกลุ่มผู้หญิงวัยกลางคนช่วงอายุ49 – 65 ปี ชาวแอฟริกัน-อเมริกันที่อ้วน (obese) และไม่อ้วน (non-obese) โดยใช้ค่าดัชนีมวลกายเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาโดยกำหนดให้ ค่าดัชนีมวลกาย ≥30 kg/m2 จัดเป็นกลุ่มอ้วน และใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีค่าระดับน้ำตาลในเลือดสูง (ค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มอ้วนเท่ากับ 125.30 ±58.43 mg/dl และกลุ่มไม่อ้วนเท่ากับ  131.78 ±93.10 mg/dl)โดยใช้วิธี commercially available RIA kit และจากการศึกษาพบว่ากลุ่มอ้วนระดับของอะดิโพเนคทินลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มไม่อ้วน (8.45 vs 10.47 µg/mL, P = 0.01) นอกจากนี้ระดับอะดิโพเนคตินในผู้หญิงแอฟริกัน-อเมริกัน ยังถูกพยากรณ์โดยระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์และยังช่วยในการพยากรณ์โรคหลอดเลือดสมองในหญิงอ้วนได้อีกด้วย

               ส่วนในประเทศไทยมีการศึกษาความสัมพันธ์ของ adiponectin gene -11377C>G polymorphism ร่วมกับระดับของ อะดิโพเนคติน และภาวะเมแทบอลิกซินโดรม โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมซึ่งมีค่าระดับน้ำตาลในเลือดปกติ (ค่าเฉลี่ยระดับน้ำตาลในเลือด [Median (95 % CI)] เท่ากับ  95.0 (91.0-97.3) mg/dl) โดยใช้วิธี radioimmunoassay kit from Linco Researchและจากการศึกษาพบว่า กลุ่มที่มีภาวะเมแทบอลิกซิโดรมระดับของอะดิโพเนคทินลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (7.9 vs 14.5 µg/mL, P < 0.001) และอะดิโพเนคตินมีความสัมพันธ์กบระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์ในเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินอกจากนี้ยังพบว่าการลดลงของอะดิโพเนคตินมีความเกี่ยวข้องกับ  gene -11377C>G Polymorphism ซึ่งยีนนี้จะพบได้มากในกลุ่มที่มีภาวะเมแทบอลิกซินโดรมอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ

    ข้อแนะนำและข้อควรปฏิบัติ

    สำหรับฮอร์โมนอะดิโพเนคทินเป็นฮอร์ดมนที่สร้างได้ในร่างกาย และไม่พบในแหล่งอาหารตามธรรมชาติ แต่สามารถรับประทานอาหารต่างๆ ที่เป็นแหล่งของแมกนีเซียม และสังกะสี เพื่อเพิ่มการสร้างฮอร์ดมนอะดิโพเนคทินได้ และในปัจจุบันส่วนมากมักจะพบผู้ที่มีภาวะฮอร์ดมนอะดิโพเนคทินในเลือดดำในผู้ที่เป็นโรคอ้วนลงพุง เบาหวาน ดังนั้นหากมีการดูแลตนเองให้ดี โดยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ และรับประทานอาหารที่เป็นแหล่งของแมกนีเซียมและสังกะสี รวมถึงอาหารที่ช่วยกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินตามที่กล่าวมาแล้วในบทความที่แล้วมา เท่านี้ร่างกายก็จะมีการสร้างฮอร์โมนอะดิโพเนคทินเพื่อนำไปใช้อย่างเพียงพอแล้ว

    อ้างอิง อะดิโพเนคทิน

  1. ชัยชาญ ดีโรจนวงศ์. Metabolic syndrome (โรคอ้วนลงพุง). สารราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ฯ ๒๕๔๙;๒๓:๕-๑๗.

  2. ต่อศักดิ์ อินทรไพโรจน์, ปัทมวรรณ เผือกผอง. ฮอร์โมนจากเนื้อเยื่อไขมัน: เลปทิน

    อะดิโพเนคทิน

    และ รีซิสทิน. ไทยไภษัชยนิพนธ์. 2554;6:1-18

  3. วิมล พันธุเวทย์.บทบาทของอะดิโพเน็กทินต่อกลุ่มอาการเมแทบอลิก.ธรรมศาสตร์เวชสารปีที่13.ฉบับที่3กรกฎาคม-กันยายน2556หน้า393-406

  4. Vaiopoulos AG, Marinou K, Christodoulides C, Koutsilieris M. The role of adiponectin in human vascular physiology. Int J Cardiol 2012;155:188-93.

  5. Matsuzawa  Y,  Funahashi  T,  Kihara  S,  et  al.  Adiponectin  and  metabolic syndrome. Arterioscler Thromb Vasc Biol 2004; 24: 29-33.

  6. Haluzik M, Parizkova J, Haluzik MM. Adiponectin and its role in the obesity-induced insulin resistance and related complications. Physiol Res 2004;53: 123-9

  7. Wasim H, Al-Daghri NM, Chetty R, et al. Relationship of serum adiponectin and resistin to glucose intoleranceand fat topography in South-Asians. Cardiovasc Diabetol 2006; 5: 10.

  8. Ricci R, Bevilacqua F. The potential role of leptin and adiponectin in obesity: a comparative review. Veterinary J 2012;191:292-8.

  9. Trujillo  ME  &  Scherer  PE.  Adiponectin–journey  from  an  adipocyte  secretory protein to biomarker of the metabolic syndrome. J Intern Med 2005; 257: 167-175

  10. Wang ZV, Scherer PE. Adiponectin, cardiovascular function, and hypertension. Hypertension 2008;51: 8-14

  11. Rolland YM, Haren MT, Patrick P, Banks WA, Malmstrom TK, Miller DK, et al. Adiponectin levels in obese and non-obese middle-aged African-American women. Obes Res Clin Pract. 2007;1(1):27-37

  12. Phillips SA, Kung JT. Mechanisms of adiponectin regulation and use as a pharmacological target. Curr Opin Pharmacol 2010;10:676-83.

  13. Fujimatsu  D,  Kotooka  N,  Inoue  T, et  al. Association  between  high molecular weight  adiponectin  levels  and  metabolic  parameters.  J  Atheroscler  Thromb 2009; 16: 553-559

  14. Di Chiara T, Argano C, Corrao S, Scaglione R, Licata G. Hypoadiponectinemia: A link between visceral obesity and metabolic syndrome. J Nutr Metab. 2012;2012:175245.

  15. Ziemke  F  &  Mantzoros  CS.  Adiponectin  in  insulin  resistance:  lessons  from translational research. Am J Clin Nutr 2010; 91: 258S-261S

  16. Okamoto Y, Kihara S, Funahashi T, Matsuzawa Y, Libby P. Adiponectin: a key adipokine in metabolic syndrome. Clin Sci 2006;110:267-78.

  17. Falcão-Pires I, Castro-Chaves P, Miranda-Silva D, Lourenço AP, Leite-Moreira AF. Physiological, pathological and potential therapeutic roles of adipokines. Drug Discov Today 2012;17:880-9.

  18. Yamauchi T, Kamon J, Minokoshi Y, Ito Y, Waki H, Uchida S, et al. Adiponectin stimulates glucose utilization and fatty-acid oxidation by activating AMPactivated protein kinase. Nat Med 2002;8:1288-95.

  19. Hara  K,  Yamauchi  T  &  Kadowaki  T.  Adiponectin:  an  adipokine  linking adipocytes and type 2 diabetes in humans. Curr Diab Rep 2005; 5: 136-140

  20. Kadowaki T, Yamauchi T. Adiponectin and adiponectin receptors. Endocr Rev 2005;20:439-51.

  21. Parul SS, Mazumder M, DebnathBC, et al. Serum adiponectin in patients with coronary heart disease. Mymensingh Med J 2011; 20: 78-82

  22. Nishizawa H, Shimomura I, Kishida K, Maeda N, Kuriyama H, Nagaretani H, et al. Androgens decrease plasma adiponectin, an insulin-sensitizing adipocytederived protein. Diabetes 2002;51:2734-41.

  23. Kizer JR, Barzilay JI, Kuller LH, et al. Adiponectin and risk of coronary heart disease  in  older  men  and  women.  J  Clin  Endocrinol  Metab  2008;  93:  3357-3364

  24. Ouchi N, Kihara S, Arita Y, Okamoto Y, Maeda K, Kuriyama H, et al. Adiponectin, an adipocyte-derived plasma protein, inhibits endothelial NF-κB signaling through a cAMP-dependent pathway. Circulation 2000;102:1296-301.

  25. Fang  X  &  Sweeney  G.  Mechanisms  regulating  energy  metabolism  by adiponectin in obesity and diabetes. Biochem Soc Trans 2006; 34: 798-801.

  26. Hopkins TA, Ouchi N, Shibata R, Walsh K. Adiponectin actions in the cardiovascular system. Cardiovasc Res 2007;74:11-8


เทยเที่ยวไทย ตอน 192 – พาเที่ยว ซานฟรานซิสโก


เทยเที่ยวไทย ตอน 192 พาเที่ยว ซานฟรานซิสโก
พาเที่ยว สะพาน Golden Gate,จุดชมวิว Marin Headlands,พระราชวังแห่งศิลปกรรม (Palace of Fine Arts)
พ่อค้าแซ่บ : คุณบ๊อบ
ร้าน : Vii Athletic Club
พิธีกร: ป๋อมแป๋ม, ก๊อตจิ, กอล์ฟ
รายการ เทยเที่ยวไทย
วันอาทิตย์ 13.00 น. ช่อง ONE
วันอาทิตย์ 19.00 น. วันศุกร์ 11.00 น. และ 23.00 น. ช่อง Bang Channel
ดู เทยเที่ยวไทย ทั้งหมด
https://www.youtube.com/playlist?list=PLszepnkojZI7fIJaF_LX9JswZDWGc6Ax_
ติดต่อโฆษณา
คุณชนิดา วงศ์ธนาภักดี โทร 026698330
[email protected]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

เทยเที่ยวไทย ตอน 192 – พาเที่ยว ซานฟรานซิสโก

Vlog พาเที่ยว San Francisco, California ตะลุยเมืองซานฟรานซิสโก กิน เที่ยว ชม Golden Gate Bridge 🇺🇸


พาเที่ยวsanfrancisco sanfrancisco เที่ยวอเมริกา
สวัสดีค่าเพื่อนๆ วันนี้เราก็จะพาเพื่อนๆเที่ยว San Francisco กันนะ เราจะชี้จุดท่องเที่ยวที่สำคัญของเมือง San Francisco เพื่อนๆคนไหน มีอะไรสงสัย อยากจะถาม ฝากไว้ที่คอมเม้นข้างล่างได้เลยน้า

Vlog พาเที่ยว San Francisco, California ตะลุยเมืองซานฟรานซิสโก กิน เที่ยว ชม Golden Gate Bridge 🇺🇸

ไกลบ้าน EP6 ซานฟรานซิสโก เมืองหลวงของ LGBTQ


ไกลบ้าน EP6 ซานฟรานซิสโก เมืองหลวงของ LGBTQ

San Francisco in 4K


All video footage is owned by Around The World 4K and it can be licensed as stock footage from http://provideofactory.com
Create your own version of “San Francisco in 4K” video here: https://goo.gl/HwsFhh
Check out the New 6K RAW Professional Video Library Shot on RED Digital Cameras: https://goo.gl/vaXtXb
If you’re alive, you can’t be bored in San Francisco. If you’re not alive, San Francisco will bring you to life…San Francisco is a world to explore. It is a place where the heart can go on a delightful adventure. It is a city in which the spirit can know refreshment every day. (William Saroyan)
Follow us for BTS and sneakpeaks at upcoming projects:
► BTS INSTAGRAM: https://www.instagram.com/i.turda/
► ATW INSTAGRAM: https://www.instagram.com/aroundtheworld4k/
► FACEBOOK: https://www.facebook.com/aroundtheworld4k/
LICENSING \u0026 BUSINESS INQUIRIES
[email protected]

► OUR EQUIPMENT:
Panasonic GH4 https://amzn.to/2P0j4O4
Panasonic GH5 https://amzn.to/2KMDyIU
Sony A7RII https://amzn.to/2OiN0Ws
Sony A7SII https://amzn.to/33mNwr6
Dji Mavic 2 Pro https://amzn.to/2sgf1Wt
Phantom 4 Pro

► MAIN LENSES:
Canon 1635mm F2.8 III https://amzn.to/37tmxgJ
Canon 35mm F1.4 II https://amzn.to/2OzCmtm
Canon 85mm F1.4 https://amzn.to/35wNnT8
Canon 70200mm F2.8 https://amzn.to/33i172P

► STABILIZER / TRIPOD
Glidecam DV https://amzn.to/2OiVJbl
Tripod https://amzn.to/33efLI9

LICENSING \u0026 BUSINESS INQUIRIES
[email protected]
Copyright © Around The World 4K. All Rights Reserved.
Stay tuned and enjoy the many journeys to come!

San Francisco in 4K

San Francisco Scott McKenzie


Visit: http://www.sanfranciscoforyou.com information about the most friendly city in the world\r
\r
\r
san francisco restaurants hotels san francisco san francisco bay travel san francisco san francisco maps san francisco homes san francisco theaters san francisco tours san francisco attractions san francisco weather san francisco events san francisco guide san francisco pier san francisco street san francisco bars san francisco sushi san francisco sfo san francisco union square san francisco history san francisco pictures san francisco information san francisco cafe san francisco trip san francisco county san francisco peninsula san francisco cable car san francisco bay bridge pier 39 san francisco japantown san francisco fillmore san francisco presidio embarcadero san francisco club

San Francisco Scott McKenzie

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN FOREIGN LANGUAGE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ซานฟาซิโก

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *