Skip to content
Home » [NEW] คำศัพท์ ”คำนำ” แปลว่าอะไร? | คำนำคืออะไร – NATAVIGUIDES

[NEW] คำศัพท์ ”คำนำ” แปลว่าอะไร? | คำนำคืออะไร – NATAVIGUIDES

คำนำคืออะไร: นี่คือโพสต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้

Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) – อังกฤษ (EN) (UNAPPROVED version — use with care ) นางสาว[นาง-สาว] (n vi vt modal verb ) คำนำหน้าชื่อสำหรับผู้หญิง

prefaceคำนำ [วรรณกรรม
๖ มี.ค. ๒๕๔๕]

Prefaceคำนำ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Forwardคำนำ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Forwardคำนำ

คือ หน้าที่ผู้เขียนต้องการชี้แจงผู้อ่านเบื้องต้นเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ที่เขียนหนังสือ วิธีการใช้หนังสือ กลุ่มผู้อ่าน ขอบเขตเนื้อเรื่องโดยย่อ ข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่านเพื่อทำความเข้าใจ รวมถึงอาจเป็นคำกล่าวขอบคุณแก่ผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือในการเขียนหรือจัดทำหนังสือ

ความต่างระหว่าง Foreword และ Preface คือ โดยปกติ Foreword มักเขียนโดยบุคคลอื่นซึ่งไม่ใช้ผู้แต่งหรือบรรณาธิการ ส่วนใหญ่มักเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง หรือประสบความสำเร็จ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหนังสือนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่หนังสือ

Forword

แหล่งข้อมูล

McNees, Pat. (n.d). The difference between a preface, foreword, and introduction. [Online]
Available from:
http://www.patmcnees.com/the_difference_between_a_preface__foreword__and_introduction_52536.htm [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

Prefaceคำนำ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Forms of addressคำนำหน้านาม [TU Subject Heading]
Prefacesคำนำ [TU Subject Heading]
Prefacesคำนำ [TU Subject Heading]
prefixคำนำหน้าหน่วย, คำที่ใช้ใส่หน้าหน่วยเพื่อทำให้หน่วยที่ใช้เล็กลงหรือโตขึ้น เช่น 5 ไมโครแอมแปร์เท่ากับ 5 x 10-6 แอมแปร์ 2 เมกะวัตต์เท่ากับ 2 x 106 วัตต์ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Catchwordคำนำทาง
[บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

คำนำ[n.] (khamnam) EN: preface   FR: préface [f] ; introduction [f] ; avant-propos [m] ; prologue [m]

English-Thai: Longdo Dictionaryforeword(n) คำนำ เช่น Usually a book’s Foreword consists of someone telling you a bunch of stuff about about the book you’re holding in your hand—either to encourage you to buy it, or to get you excited
about the book before you read it., R. preface

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]affix(อะฟิคซฺ’) vt. ติด, ติดกับ, ประทับ, เพิ่มใส่, ใส่ (ความ) -n. สิ่งที่ติดใส่, ส่วนผนวก, คำต่อท้าย, คำนำหน้า. -affixal, affixial adj. -affixer n., Syn. fasten, attach ###A. split)
article(อาร์’ทิเคิล) n. สิ่งของ,ชิ้น,สินค้า,บทความ, มาตรา,ข้อ,ข้อบังคับ, รายการ,คำนำหน้านาม. -vt. กล่าวหา,ฟ้อง,ทำให้ข้อบังคับผูกมัด, Syn. item, object, piece,essay)
catchwordn. คำอ้างอิง,คำขวัญ,คำหัวข้อของพจนานุกรม,คำนำหน้า
forewordn. คำนำ,สารบัญ
indefinite articleคำนำหน้านามที่ไม่กำหนดแน่ชัด ได้แก่ a, an
index(อิน’ เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ
ms(มิซ) n. คำนำหน้าชื่อหรือตำแหน่งของผู้หญิงโดยไม่ได้แสดงว่าเป็นหญิงที่แต่งงานแล้วหรือยัง
ms.(มิซ) n. คำนำหน้าชื่อหรือตำแหน่งของผู้หญิงโดยไม่ได้แสดงว่าเป็นหญิงที่แต่งงานแล้วหรือยัง
preface(เพรฟ’ฟิส) n. อารัมภกถา,คำนำ,ส่วนนำ,สิ่งนำ,คำสวดมนต์นำ,เครื่องนำ. vt. จัดให้มีส่วนนำ,เป็นส่วนนำ., See also: prefacer n.
preliminary(พริลิม’มะนะรี) adj. เบื้องต้น,ขั้นต้น,ขั้นเตรียมการ,ตอนต้น,อุ่นเครื่อง,เริ่มต้น,คำนำ n. สิ่งที่เป็นเบื้องต้น,การชกอุ่นเครื่อง,การแข่งขันอุ่นเครื่อง,การสอบเบื้องต้น,ขั้นเบื้องต้น,คำนำ, See also: preliminarily adv.

English-Thai: Nontri Dictionaryantecedent(n) สิ่งที่มาก่อน,สิ่งที่เกิดก่อน,คำนำหน้า
article(n) บทความ,สิ่งของ,คำนำหน้านาม
foreword(n) คำนำ,คำขึ้นต้น,คำปรารภ,สารบัญ
preamble(n) คำนำ,อารัมภกถา,บทความเบื้องต้น,พระราชปรารถ
preface(n) คำนำ,บทนำ,ส่วนนำ
prefatory(adj) ชั้นต้น,เป็นคำนำ,เป็นการเริ่ม,เป็นส่วนนำ
preliminary(adj) ชั้นต้น,เบื้องต้น,ตอนต้น,เป็นคำนำ,อุ่นเครื่อง,เริ่มต้น
prelude(n) การโหมโรง,การออกแขก,การแสดงนำ,การอารัมภบท,ลาง,คำนำ
prologue(n) การอารัมภบท,การเปิดฉาก,คำนำ,การเริ่มต้น

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version — use with care ) slatedคำนำ
ผลไม้ไม่ว่าจะเป็นผลไม้ชนิดต่างก็มีประโยชน์ทั้งนั้น ผลไม้ทำให้เรามีระบบการย่อยอาหารที่มีมีระบบขับถ่ายที่ดีมีสุขภาพดีแข็งแรง
คำนำ (n vi vt ) คำนำ
See also: S. 10, A. 10, R. 10

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version — use with care ) 接頭語[せっとうご, settougo] (n) คำนำหน้าหรือ Prefix , See also: S. 接頭辞,
接頭辞[せっとうじ, settouji] (n) คำนำหน้า Prefix  , See also: S. 接頭語,

German-Thai: Longdo DictionaryHerr(n) |der, pl. Herren| นาย, คำนำหน้าผู้ชาย
alle(Ind-pron.) ทั้งหมด (มาจาก all ที่ถูกผันเมื่อตามด้วยคำนามพหูพจน์) เช่น alle Leute ทุกคน; all ไม่ถูกผันเมื่อตามด้วยคำนำหน้านามที่เฉพาะหรือคำสรรพนามที่แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น all die/meine Sache สิ่งของของฉันทั้งหมด, See also: ganz, gesamt
das(Artikel) คำนำหน้านามเพศกลางที่เฉพาะเจาะจง (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ)
dem(Artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามเพศชาย der, และเพศกลาง das
den(Artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) 1. ที่อยู่ในรูป Akkusativ สำหรับคำนามเพศชาย der เช่น für den Mann สำหรับผู้ชายคนนั้น 2. ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามพหูพจน์เพศใดๆ เช่น mit den Männern กับผู้ชายเหล่านั้น
der(Artikel) คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูปประธาน
der(Artikel) คำนำหน้านามเพศหญิงที่เฉพาะเจาะจงที่อยู่ในรูป Dativ (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) เช่น an der Tür ตรงประตู (Tür เป็นเพศหญิง)
des(Artikel) คำนำหน้านามเพศชายและเพศกลางที่เฉพาะเจาะจง ในรูป Genetiv หรือที่แสดงความเป็นเจ้าของ เช่น die Firma des Mannes บริษัทของผู้ชายคนนี้
die(Artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจงสำหรับเพศหญิง หรือพหูพจน์ (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ) , See also: der, das
dies(Dem.pron.) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศกลาง ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น Wir haben eine Wanderung 7 Tage im Wald gemacht. Dies war für uns ein kleines Abendteuer. พวกเราไปเดินป่ามาเจ็ดวัน นี่เป็นการผจญภัยเล็กๆ เชียวนะ , See also: S. dieses, R. dieser, diese

French-Thai: Longdo Dictionarymadameเป็นคำนำหน้าชื่อของผู้หญิงที่สุภาพ ไม่จำเป็นต้องแต่งงานแล้ว คล้ายกับ นางและนางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Madame Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mme. Chantel , See also: A. monsieur, Related: mademoiselle
mademoiselleเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่) , See also: A. monsieur, Related: madame
monsieurเป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของผู้ชาย คล้ายกับ นาย ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Monsieur Allongue ในภาษาเขียน ย่อเป็น M. Allongue (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม monsieur ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่) , See also: A. madame, mademoiselle,
uneคำนำหน้านามเพศหญิงที่ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น une photo, une rose, See also: Related: un
unคำนำหน้านามเพศชายที่ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น un hôtel, un journal, See also: Related: une
laคำนำหน้านามเพศหญิงที่เฉพาะเจาะจง เช่น la jupe กระโปรงนี้, ใช้ l’ ถ้าคำนามนั้นขึ้นต้นด้วยสระหรือ h ที่ไม่ออกเสียง เช่น l’adresse ที่อยู่นี้, See also: Related: le
leคำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง เช่น le film ภาพยนต์เรื่องนี้, le cinéma โรงหนังนี้, ใช้ l’ ถ้าคำนามนั้นขึ้นต้นด้วยสระหรือ h ที่ไม่ออกเสียง เช่น l’hôtel, See also: Related: la
desคำนำหน้านามพหูพจน์ที่ไม่เฉพาะเจาะจง (ทั้งนามเพศชายและหญิงเหมือนกัน) เช่น des bonbons ลูกอม, des personnes ผู้คน
lesคำนำหน้านามพหูพจน์ที่เฉพาะเจาะจง (ทั้งนามเพศชายและหญิงเหมือนกัน) เช่น les salles, les boissons
avant-propos(n) |m| คำนำ

[Update] รู้ไหม?? รายงาน 1 เล่ม ต้องมีอะไรบ้าง..ถึงจะออกมาดี | คำนำคืออะไร – NATAVIGUIDES

 

                                          ส่วนประกอบตอนต้น                                          

 

  
           ปกนอก (Cover หรือ Binding)
เป็นส่วนที่หุ้มรายงานทั้งเล่ม ประกอบด้วย ปกหน้า ปกหลัง รวมถึงสันด้วยนะคะ ส่วนนี้ควรใช้กระดาษที่มีความหนาหรือแข็งพอสมควร และสีก็ควรเหมาะกับเนื้อหาภายในเล่มหรืออาจะใช้ปกของโรงเรียนน้องๆ ตามแบบฟอร์มที่โรงเรียนกำหนดก็สะดวกเหมือนกันค่ะ อาจจะมีภาพหรือไม่มีก็ได้ค่ะ แต่ถ้าภาพต้องเหมาะกับเนื้อหาด้วยนะคะ ซึ่งข้อความที่ปรากฏบนปกนอก ประกอบด้วย

           แต่หากคุณครูกำหนดรูปแบบของรายงานให้มีรายละเอียดเพิ่มเติม ก็ใส่ให้ครบนะคะ

 แต่ถ้าคุณครูไม่เข้มงวดมาก ก็โชว์ไอเดียเก๋ๆไปเลย งั้นพี่เมษ์ขอเอาไอเดียของรูปหน้าปกรายงาน แล้วก็หนังสือแบบที่น่าสนใจมาให้ชมกัน มาดูกันดีกว่าค่ะ

  
           
หน้าปกใน (Title Page) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากปกนอก ข้อความเช่นเดียวกับปกนอก ตามลำดับต่อไปนี้ค่ะ

โดยส่วนนี้ให้บรรทัดสุดท้ายอยู่ห่างจากขอบล่างประมาณ 1 นิ้ว

           สรุปง่ายๆ ปกในกับปกนอกคล้ายกัน เพียงแค่เปลี่ยนจากปกแข็ง หรือกระดาษแข็ง เป็นกระดาษธรรมดาเท่านั้นเองค่ะ

  
           
คำนำ (Preface) คือส่วนที่น้องๆ สามารถเล่าที่มา วัตถุประสงค์ ความสำคัญ และขอบเขตของเนื้อหา รวมถึงใส่คำขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือให้รายงานของน้องๆ สำเร็จ เขียนให้เหมาะสมกับเนื้อหา ไม่ยาวหรือสั้นเกินไป 2-3 ย่อหน้าก็ได้ค่ะ เพื่ออธิบายคร่าวๆว่า รายงงานของน้องๆ ทำขึ้นเพื่ออะไร ทำไมถึงทำรายงงานนี้ รายงานเล่มนี้มีความสำคัญอย่างไรบ้างนั่นเองค่ะ

           โดยส่วนนี้ให้พิมพ์คำว่า “คำนำ” ด้วยอักษรขนาดใหญ่ ไว้กลางหน้ากระดาษโดยไม่ต้องขีดเส้นใต้ และเว้นระยะให้ห่างจากขอบบน 2 นิ้ว ส่วนเนื้อหาให้พิมพ์ข้อความในบรรทัดถัดลงมา และเมื่อจบข้อความแล้วให้น้องๆ ลงชื่อ และ นามสกุลของผู้เขียน แต่ถ้าเป็นงานกลุ่มให้ลงท้ายด้วยคำว่า “คณะผู้จัดทำ” แล้วจึงจบด้วยการลงวันที่ เดือน (เขียนแบบย่อ) ปี (ไม่ต้องมี พ.ศ.) ไว้ด้วยค่ะ

  
           
สารบัญ (Table of Contents) ส่วนนี้จะเป็นส่วนที่ต่อจากคำนำ โดยส่วนนี้ ขึ้นต้นด้วยด้วยคำว่า “สารบัญ” ด้วยตัวอักษรขนาดใหญ่กลางหน้ากระดาษโดยเว้นห่างจากขอบบนลงมา 2 นิ้ว

           จากนั้นน้องๆ สามารถบอกชื่อตอน บท หัวข้อใหญ่ และหัวข้อย่อยนั้นๆ โดยเรียงตามลำดับในเนื้อหาของรายงานของน้องๆ ด้านซ้ายของหน้าเป็นชื่อตอน บท หัวข้อต่างๆ ที่ต้องการ โดยเว้นห่างจากขอบซ้ายของกระดาษ 1.5 นิ้ว และให้มีเลขหน้าที่ตรงกับส่วนนั้นกำกับไว้ด้านขวา โดยตัวเลขหน้า เว้นห่างจากขอบกระดาษด้านขวา 1 นิ้ว
   

   

                                                 เนื้อหา                                                        

  
           
บทนำ (Introduction)  เป็นส่วนเริ่มต้นของความน่าใจในรายงานของน้องๆ จึงเป็นอีกส่วนที่สำคัญที่ทำให้คนอ่านอยากอ่านรายงานของเรามากขึ้น จึงควรเขียนให้ชัดเจน น่าติดตาม เพื่อชี้แจงให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมของเนื้อเรื่องที่น้องๆ ได้ค้นคว้ามานั่นเอง โดยอาจจะเขียนแค่ 1 ย่อหน้าก็ได้ค่ะ ขึ้นอยู่กับว่าเนื้อหามากน้อยแค่ไหน

           การวางรูปแบบหน้าเหมือนกับบทอื่นๆ โดยเขียนบรรทัดแรกด้วยคำว่า “บทที่ 1” และบรรทัดถัดมาก็ใช้คำว่า “บทนำ” เพื่อเข้าสู่บทนำของน้องๆ  หรืออาจจะตั้งชื่อตามความเหมาะสม โดยวางไว้กลางหน้ากระดาษค่ะ แต่ถ้าส่วนเนื้อหาแบ่งเป็นบทแล้ว อาจใช้คำว่า “ความนำ” เพื่อนำผู้อ่านเข้าสู่เนื้อเรื่องแทนก็ได้ค่ะ

  
           
ส่วนเนื้อหา (Body of Paper) สามารถแบ่งเป็นตอน เป็นบท ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมค่ะ โดยอาจจะเน้นประเด็นสำคัญๆ เพื่อให้เข้าใจประเด็นได้ง่าย เป็นลำดับ ต่อเนื่อง และสอดคล้องกัน แต่ถ้ารายงานของน้องๆ เป็นแบบสั้นๆ อาจจะแบ่งเป็นหัวข้อก็ได้ค่ะ ไม่จำเป็นต้องแบ่งเป็นบทค่ะ

  

  
           
บทสรุปหรือสรุป (Conclusion) ส่วนสุดท้ายของเนื้อหา เพื่อเน้นย้ำผลของการค้นคว้าในหัวข้อรายงานของน้องๆ โดยน้องๆ อาจจะเขียนสรุปประเด็นสำคัญจากการค้นคว้า ถ้าเนื้อหาในส่วนนี้เยอะ น้องๆ อาจจะแยกออกมาเป็นอีกหนึ่งบท แต่ถ้ามีเนื้อหาไม่มากนัก อาจจะสรุปไว้ในย่อหน้าสุดท้ายของเนื้อหาก็ได้ค่ะ
  

  

 

                                         ส่วนประกอบตอนท้าย                                           

 

  
           
บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง (Bibliography หรือ References)

ซึ่งก็คือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการค้นคว้าทุกชนิด ทั้งหนังสือ อินเตอร์เน็ต เอกสาร ข่าว ฯลฯ ซึ่งการเขียนบรรณานุกรมต้องเขียนให้มีแบบแผนชัดเจน ตามรูปแบบการอ้างอิงบรรณานุกรมแบบต่างๆ เช่น

*** การเขียนบรรณานุกรมทุกชนิด หากเขียนไม่จบใน 1 บรรทัด บรรทัดถัดไปให้ย่อหน้าเข้ามาประมาณ 7 อักษร

    

  • หนังสือ (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ)

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / ครั้งที่พิมพ์. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

สุภาพรรณ ณ บางช้าง.  ขนบธรรมเนียมประเพณี : ความเชื่อและแนวการปฏิบัติใน
         สมัยสุโขทัยถึงสมัยอยุธยาตอนกลาง.กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยศึกษา
         จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2535.

Herren, Ray V.  The Science of Animal Agriculture.
         Albany, N.Y. : Delmar Publishers,  1994.

 

  • หนังสือแปล

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / แปลโดย ผู้แปล. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

สตีเวนสัน, วิลเลียม.  นายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระ.  ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จ
         พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ.  กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง
         แอนด์พับลิชชิ่ง,  2536.

Grmek, Mirko D.  History of AIDS : Emerging and Origin of a Modern Pandemic.
         Translated by Russell C. Maulitz, and Jacalyn Duffin.  Princeton, N.J. :
         University Press,  1990.

 

  • บทความ / บทความในหนังสือ

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / ใน / ชื่อบรรณาธิการ หรือ ผู้รวบรวม. / /
         ชื่อเรื่อง, / เลขหน้า. / / สถานที่พิมพ์ / : / สำนักพิมพ์, / / ปีพิมพ์.

ตัวอย่าง

จุลลดา ภักดีภูมินทร์.  ศักดินาและฐานันดรศักดิ์. ใน เลาะวัง,
         2: 315-322.  กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โชคชัยเทเวศร์,
         2535.

 

  • บทความในวารสาร

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / / ชื่อวารสาร / ปีที่, / ฉบับที่(ปีพิมพ์): / เลขหน้า.

ตัวอย่าง

เจตน์ เจริญโท.  การท่องเที่ยวกับสิ่งแวดล้อมไทย ทำอย่างไรจึงจะยั่งยืน.
         นิตยสารโลกสีเขียว 2, 4(2536): 16-20.
Swazey, Judith P.; Anderson, Melissa S.; and Lewis, Karen Seashore.
         Ethical Problems in Academic Research.  American Scientist
         81, 6(1993): 542-553.

 

  • บทความในหนังสือพิมพ์

ผู้เขียนบทความ. / / ชื่อบทความ. / / ชื่อหนังสือพิมพ์, / (วันที่ / เดือน / ปี): / เลขหน้า.

ตัวอย่าง

ประสงค์ วิสุทธิ์.  สิทธิของเด็ก.มติชน (19 มีนาคม 2537): 18.

Vitit Muntarbhorn.  The Sale of Children as a Global Dilemma.
         Bangkok Post (21 March 1994): 4.
  

 

  • สัมภาษณ์

ผู้ให้สัมภาษณ์. / / ตำแหน่ง (ถ้ามี). / / สัมภาษณ์, / วันที่ / เดือน / ปี.

ตัวอย่าง

แม้นมาส ชวลิต, คุณหญิง.  นายกสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.
         สัมภาษณ์, 11 มีนาคม 2537.
Kent, Allen.  Interview, 31 January 1994.
  

 

  • อินเตอร์เน็ต

ผู้แต่ง. / / ชื่อเรื่อง. / / [ประเภทของสื่อที่เข้าถึง]. / / เข้าถึงได้จาก: / แหล่งข้อมูล/ 

สารนิเทศ. / ปี.

ตัวอย่าง

“ยาม้า ยาบ้า.”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: http://www.au.ac.th/Newabac/special/
         E/index.html  2540.

“Informedia : Researching Digital Video Libraries at Carnegie Mellom University.”
         [Online].  Available: http://informedia.cs.cmu.edu/html/main.html
         1998.
 

           ภาคผนวก (Appendix) เป็นส่วนเพิ่มเติมของเล่มรายงานค่ะ เนื้อหาส่วนนี้เป็นการเพิ่มเติมเพื่อความสมบูรณ์ของเนื้อหาตามความเหมาะสม แต่จริงๆ แล้ว ภาคผนวกไม่จำเป็นต้องมีเสมอไปค่ะ ยกตัวอย่างเช่น หากน้องๆ ทำรายงานที่ต้องเก็บข้อมูลมาจากการสัมภาษณ์หรือแบบสอบถาม อาจจะมีแบบสอบถามใส่ไว้ในภาคผนวกก็ทำให้รายงานสมบูรณ์ขึ้นค่ะ

  

           

หวังว่าคงจะได้รู้จักกับการทำรายงานกันมาขึ้นและมีแบบแผนมากขึ้นแล้วนะคะ น่าจะช่วยให้น้องๆ ทำรายงานกันได้ง่ายขึ้นนะคะ อย่าลืมว่ารูปแบบของรายงานตั้งแต่ปกนอก ปกใน เนื้อหา จนถึงสรุป บรรณานุกรมและภาคผนวก ทุกอย่างมีผลต่อความน่าสนใจ และคะแนนที่น้องๆ จะได้จากคุณครูนะคะ ขอให้ตั้งใจทำให้ดีเพราะคะแนนเก็บมีมากถึง 70% เลยนะคะ

 

           ถ้าน้องๆ มีข้อแนะนำอื่นๆ หรือแนวทางการทำรูปแบบรายงานที่แหวกๆแนว ก็เอามาแบ่งปันกันไว้เลยนะคะ จะได้มีไอเดียในการทำรายงานมากขึ้นยังไงล่ะ

ขอบคุณแหล่งอ้างอิงจาก

http://61.7.230.236/ULIBM//web/_files//20111128234442_3441.pdf

http://www.car.chula.ac.th/readerweb/web/reference_format.html  


🔘ทอดกฐิน อานิสงส์แห่งบุญร่วมในการทอดกฐินนั้น ได้มหานิสงค์อันยิ่งใหญ่สุดประมาณ


ทอดกฐิน อานิสงส์แห่งบุญ การทอดกฐิน ถือเป็นประเพณีที่พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ทุกยุคทุกสมัย มีความศรัทธาเลื่อมใสว่า เป็น “ยอดของมหากุศล” จะเป็นเหตุนำทางให้ผู้ที่ได้มีส่วนร่วมในการทอดกฐินนั้น ได้มหานิสงค์อันยิ่งใหญ่สุดประมาณ
ทอดกฐินอานิสงส์แห่งบุญ อานิสงส์ของบุญกฐิน

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

🔘ทอดกฐิน อานิสงส์แห่งบุญร่วมในการทอดกฐินนั้น ได้มหานิสงค์อันยิ่งใหญ่สุดประมาณ

บทคัดย่อ Abstract คืออะไร สำคัญยังไง แตกต่างจากคำนำ-บทสรุปผู้บริหารอย่างไร/ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ


ความสำคัญของบทคัดย่อ หรือ Abstract บทคัดย่อคืออะไร ทำไมต้องมีบทคัดย่อ บทคัดย่อสำคัญอย่างไรบ้าง ทำวิทยานิพนธ์เป็นภาษาไทย ทำไมต้องเขียนบทคัดย่อเป็นภาษาอังกฤษ บทคัดย่อมีความแตกต่างจากคำนำ หรือบทสรุปสำหรับผู้บริหาร executive summary หรือไม่ อย่างไร คลิปนี้อธิบายอย่างละเอียด ผู้ที่กำลังทำวิทยานิพนธ์ ปริญญาโท เอก ควรดูนะคะ Thesis EP. 16 บทคัดย่อ abstract วิทยานิพนธ์
ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ ช่อง @คลินิกผู้นำ
อาจารย์มหาวิทยาลัย วิทยากร ผู้บริหาร มีประสบการณ์ในการสอนและทำงานกว่า 30 ปี
ยินดีสอนบรรยาย และเป็นที่ปรึกษา เกี่ยวกับ วิทยานิพนธ์ วิจัย R to R
Public speaking พฤติกรรมบริการ
รับให้คำปรึกษาการทำคลิปวิชาการ คลิปให้ความรู้
รับบริจาคสนับสนุนค่าอุปกรณ์และค่าใช้จ่ายในการทำคลิป บัญชีธนาคารกรุงไทย
นางอาภา ภัคภิญโญ 0880054166
ติดต่อ
[email protected]
Line ID: apayoung
https://www.facebook.com/ApaPuckpinyo FB คลินิกผู้นำ
https://www.facebook.com/AjarnApa FB คลินิกวิทยานิพนธ์
เผยแพร่คลิปทุก อังคาร พฤหัส และเสาร์

บทคัดย่อ Abstract คืออะไร สำคัญยังไง แตกต่างจากคำนำ-บทสรุปผู้บริหารอย่างไร/ผศ.ดร.อาภา ภัคภิญโญ

คำนามและความหมาย – สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3


ครูโอ๋ สื่อการเรียนการสอน
webpage : http://www.kruao.com
fanpage : https://goo.gl/O22C3X
google+ : https://goo.gl/OBu7ia
youtube : https://goo.gl/bZlYwE
วีดีโอนี้จะสอนเกี่ยวกับ
มาศึกษา การใช้ คำนาม และความหมาย ของคำนาม
คำนาม หมายถึง

บทเรียนอิเล็กทรอกนิกส์ วิชา ภาษาไทย ป.3 ชุดนี้
เป็นสื่อการเรียนการสอนที่นำมาจาก
โครงการแท็บเล็ตพีซีเพื่อการศึกษาไทย
(OTPC : One Tablet Per Child)
จัดทำโดยสำนักงานเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์
http://www.otpchelp.com

คำนามและความหมาย - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.3

ติว TOEIC Grammar : Subject-Verb Agreement คืออะไร? จำยังไงไม่ให้ลืม!


✿ ติวสอบ TOEIC® เริ่มจากพื้นฐาน เทคนิคแกรมม่า แนวข้อสอบ TOEIC® ล่าสุด! ✿
👉 ทดลองติวฟรี! ➡️ https://bit.ly/2wR4Gmu
แกรมม่า TOEIC เรื่อง SubjectVerb Agreement นี้ หลายคนสับสนมาก จะเติม หรือไม่เติม s ดี?
คลิปนี้ครูดิวมีคำตอบ พร้อมเทคนิคจำง่ายๆ มาให้ค่าาา (เต้นตามครูดิวไปด้วยนะคะ ^^)
✿ คอร์สครูดิว ติวสอบ TOEIC® มีอะไรให้บ้าง? ✿
✅ติวเทคนิคสอบ TOEIC® รวม Grammar ที่ใช้สอบ ครบถ้วน สอนจากพื้นฐาน เรียนได้ทุกคนแน่นอน
✅เก็งศัพท์สอบ TOEIC® ออกข้อสอบบ่อย ๆ ให้ครบ ไม่ต้องเสียเวลาไปนั่งรวบรวมเอง
✅ ติวข้อสอบ TOEIC® ล่าสุด ทั้ง Reading และ Listening
✅สามารถสอบถามข้อหรือจุดที่สงสัยได้ตลอด
✅การันตี 750+ (ถ้าสอบแล้วไม่ถึง สามารถทวนคอร์สได้ฟรี)
📣 ถ้าไม่อยากพลาดคลิปดีๆแบบนี้ อย่าลืมกด ❤️ Subscribe ❤️กันนะคะ

ติว TOEIC Grammar : Subject-Verb Agreement คืออะไร? จำยังไงไม่ให้ลืม!

เรียนภาษาอังกฤษ parts of speech คำนาม Noun คืออะไร ใช้อย่างไร


PartofSpeech​ คืออะไร ?
วันนี้ขอเสนอหัวข้อที่ถือว่าเป็นหัวใจของภาษาอังกฤษเลยก็ว่าได้ คือ Part of Speech
1. ทำไมเราต้องทำความรู้จัก Part of Speech
2. Part of Speech คืออะไร ?
3. Part of Speech มีกี่ชนิด
4. แต่ละชนิดคืออะไร พร้อมตัวอย่าง
CR.Ajarn Suparada
ภาษาอังกฤษออนไลน์ฟรี!
📌 ฝึกพูดภาษาอังกฤษ ถามตอบ ประโยคพื้นฐานใช้บ่อยในชีวิตประจำวัน
👉 https://www.youtube.com/watch?v=IHuKZYgki4\u0026t=5s
📌 ฝึกอ่านแปลภาษาอังกฤษ เข้าใจง่าย เรียนภาษาอังกฤษพื้นฐาน
👉 https://www.youtube.com/watch?v=URCUv47gnc8
📌 ฝึกพูดภาษาอังกฤษ ตั้งปณิธานเรื่องที่จะทำในปีใหม่ New Year’s Resolutions
👉 https://www.youtube.com/watch?v=AWo2r51ZLFA\u0026t=10s
📌 เรียนภาษาอังกฤษฟรี ดูโครงสร้างภาษาอังกฤษ ฝึกพูดพร้อมตัวอย่างประโยค
👉 https://www.youtube.com/watch?v=UgGf1QS7O6s
📌 5 โครงสร้างประโยคพื้นฐานในภาษาอังกฤษ (English sentence structures)
👉 https://www.youtube.com/watch?v=iGS5sPRefdA\u0026t=82s
📌 ประโยคอวยพรปีใหม่ ภาษาอังกฤษ พร้อมคำอ่านและแปลภาษาไทย
👉 https://www.youtube.com/watch?v=BYqot65xu6k
📌วิธีใช้ Used to, Be used to และ Get used to (เคย และ เคยชิน)
👉https://www.youtube.com/watch?v=in1gK2AAi9Q\u0026t=3s
📌 Whenever, Whatever, Whoever, However, Whichever | ใช้ยังไง
👉 https://www.youtube.com/watch?v=AnATbRFCE
📌 How far/How much/How many/How long/ ใช้อย่างไร และแปลว่าอย่างไร ภาษาอังกฤษ
👉 https://www.youtube.com/watch?v=AnATbRFCE
📌 เรียนภาษาอังกฤษ Do, Does, Did, Done | แปลว่าอย่างไร เข้าใจง่ายพร้อมตัวอย่าง
👉 https://www.youtube.com/watch?v=JrNKYd2YFzg\u0026t=2s

เรียนภาษาอังกฤษ parts of speech คำนาม Noun คืออะไร ใช้อย่างไร

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆMAKE MONEY ONLINE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ คำนำคืออะไร

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *