Skip to content
Home » [NEW] ความรู้เรื่องเงิน กองทุนประกันสังคม | ความรู้ประกันสังคม – NATAVIGUIDES

[NEW] ความรู้เรื่องเงิน กองทุนประกันสังคม | ความรู้ประกันสังคม – NATAVIGUIDES

ความรู้ประกันสังคม: คุณกำลังดูกระทู้

ผู้นำด้าน Lifestyle E-commerce Platform ที่มาพร้อมส่วนลดสุดพิเศษที่ทางร้านค้าต่างๆมอบให้นักช็อป ทั้งนี้ LerdBuy ได้เปิดตัวอย่างเป็นทางการแล้วเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2021 ภายใต้สโลแกนว่า Buy Now, Enjoy Now! More Discount, Pay later!

[Update] 7 ข้อที่มนุษย์เงินเดือนควรรู้จากสิทธิประกันสังคม | ความรู้ประกันสังคม – NATAVIGUIDES

Save

Write CSS OR LESS and hit save. CTRL + SPACE for auto-complete.


มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!


มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \”14 โรค\” ยกว้น ที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง ศึกษาให้ดีก่อนใช้สิทธิ์!!
ถ้าพูดถึง \”ประกันสังคม\” หลายคนที่ทำงานออฟฟิตคงรู้จักกันเป็นอย่างดีและหลายคนคงกำลังคิดว่า การมีเพียงประกันสังคมก็เกินพอแล้ว ไม่จำเป็นต้องมีประกันอื่นๆ อย่าง ประกันสุขภาพ ประกันชีวิต หรือประกันอุบัติเหตุแล้วก็ได้ แต่รู้หรือไม่ว่า สิทธิประกันสังคมนั้นไม่ได้ครอบคลุมอย่างไปทุกอย่างและยังมีโรคบางชนิดที่ไม่อยู่ในความคุ้มครองของประกันสังคม วันนี้เราได้รวบรวม 14 โรคที่ประกันสังคมไม่คุ้มครอง มาฝากทุกคน จะมีโรคอะไรบ้าง หรืออาการอะไรบ้าง ตามมาเช็คกันได้เลย!
1. โรคหรือการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติด ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด
2. การรักษาโรคที่ต้องใช้ระยะเวลาการรักษาตัวในโรงพยาบาล ประเภทคนไข้ เกิน 180 วัน ใน 1 ปี
3. การบำบัดทดแทนไต ในกรณี ไตวายเรื้อรัง ยกเว้น

– กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลารักษาไม่เกิน 60 วัน ให้มีสิทธิได้รับบริการทางการแพทย์

– กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ให้สิทธิได้รับบริการทางการแพทย์ โดยการบำบัดทดแทนไตด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม วิธีการล้างช่องท้องด้วยน้ำยาอย่างถาวร และด้วยวิธีการปลูกถ่ายไต ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการปลูกถ่ายไต และอัตราที่กำหนดในประกาศจากสำนักประกันสังคม
4. การกระทำใดๆ เพื่อความสวยงามโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ (ศัลยกรรม)
5. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง
6. การรักษาภาวะมีบุตรยาก
7. การตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้นการตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการปลูกถ่ายไขกระดูกของผู้ประกันตน ให้จ่ายค่าตรวจเนื้อเยื่อเท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 7,000 บาทต่อราย ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการแพทย์กำหนด
8. การตรวจใดๆ ที่เกินกว่าความจำเป็นในการรักษาโรค
9. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น
– การปลูกถ่ายไขกระดูก ให้จ่ายค่าบริการทางการแพทย์เหมาจ่ายในอัตรา 750,000 บาทต่อราย แก่สถานพยาบาลที่ให้บริการทางการแพทย์ แก่ผู้ประกันตนจนสิ้นสุดกระบวนการปลูกถ่ายไขกระดูก โดยจะต้องเป็นสถานพยาบาลที่คณะกรรมการแพทย์รับรอง และได้ทำข้อตกลงไว้กับสำนักงานในการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ประกันตน กรณีการปลูกถ่ายไขกระดูกตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
– การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะกระจกตา โดยให้เหมาจ่ายค่าบริการทางการแพทย์แก่สถานพยาบาล 20,000 บาท และให้ศูนย์ดวงตาสภากาชาตไทย 5,000 บาท ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนด
10. การเปลี่ยนเพศ
11. การผสมเทียม
12. การบริการระหว่างรักษาตัวแบบพักฟื้น
13. ทันตกรรม ยกเว้น การถอนฟัน การอุดฟัน การขูดหินปูนและผ่าฟันคุด ให้ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริงตามความจำเป็น แต่ไม่เกิน 900 บาทต่อครั้งและต่อปี กรณีใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้บางส่วน มีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี แต่หากเป็นกรณีใส่ฟันเทียมที่ถอดได้ทั้งปาก จะมีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 4,400 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี
14. การทำแว่นตา

ทั้งนี้ ถึงแม้ว่าสิทธิประกันสังคมจะครอบคลุมการรักษาหลากหลายมากมาย แต่ก็ยังมีส่วนที่ยังไม่ได้คุ้มครองบางส่วน เพื่อความไม่ประมาทควรทำประกันรูปแบบอื่นๆ เพื่อความอุ่นใจในการใช้ชีวิตกันด้วยนะครับ เพราะของบางอย่าง \”มีแล้วอาจไม่ค่อยได้ใช้ ดีกว่าถึงเวลาที่ต้องใช้แต่กลับไม่มี\”

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

มนุษย์เงินเดือนควรรู้!! \

Ep.155 | อัพเดทข้อมูลการทบทวนสิทธิการเยียวยา ม.39 ม.40 ขยายเวลาถึง 31 ตุลาคม 2564 | by HR_พี่โล่


อัพเดทข้อมูลการทบทวนสิทธิการเยียวยา ม.39 ม.40 ขยาเวลาถึง 31 ตุลาคม 2564 | by HR_พี่โล่
ให้ผู้ยื่นแบบคำขอทบทวนสิทธิเยียวยา
กรอกแบบฟอร์ม แบบคำขอทบทวนสิทธิโครงการเยียวยา ลงรายมือชื่อ ระบุเลขบัตรประชาชน พร้อมแนบเอกสารที่เกี่ยวข้อง แล้วไปยื่นได้ที่สำนักงานประกันสังคมด้วยตัวเอง หรือ นำส่งทางไปรษณีย์ ได้ทั้ง 29 จังหวัดสีแดงเข้ม
แบบฟอร์ม แบบคำขอทบทวนสิทธิโครงการเยียวยา สามารถดาวน์โหลดได้จากลิงก์นี้ https://www.sso.go.th/eform_news/assets/Download04.pdf
เอกสารที่ใช้ทบทวนสิทธิประกอบไปด้วย
1. แบบคำขอทบทวนสิทธิโครงการเยียวยามาตรา 39 มาตรา 40 https://www.sso.go.th/eform_news/assets/Download04.pdf
2. สำเนาบัตรประชาชน
3. สำเนาทะเบียนบ้าน
4. สำเนาใบเสร็จชำระเงินสมทบ (ถ้ามี)
ยื่นทบทวนสิทธิม39ม40 ประกันสังคม คู่มือมนุษย์เงินเดือน

Ep.155 | อัพเดทข้อมูลการทบทวนสิทธิการเยียวยา ม.39 ม.40 ขยายเวลาถึง 31 ตุลาคม 2564 | by HR_พี่โล่

เข้าใจภาพรวมสิทธิและเงื่อนไขประกันสังคม ใน 1 คลิป


อธิบายถึงเงื่อนไขการเกิดสิทธิ และสิ่งที่จะได้จาก
1.กรณีตาย
2.เจ็บป่วยหรือประสบอันตราย
3.กรณีทุพพลภาพ
4.กรณีคลอดบุตร
5.กรณีว่างงาน
6.กรณีสงเคราะห์บุตร
7.กรณีชราภาพ
===================================
บท/บรรยาย : ศราวุธ ชัยดี
บันทึกเสียง PURE Studio
https://purestudio.simdif.com/

เข้าใจภาพรวมสิทธิและเงื่อนไขประกันสังคม ใน 1 คลิป

เคยสงสัยมั้ย \”ประกันรถยนต์ชั้น 1,2+,3+,2,3 ต่างกันยังไง\”


หมดข้อสงสัยอีกต่อไป เข้าใจความคุ้มครองของ ประกันรถยนต์ ทุกชั้น ภายใน 3 นาที ที่ รู้ใจ ประกันออนไลน์ รู้ใจกว่า…ประหยัดกว่า
ไม่ว่าแดดร้อนหรือฝนเท ขับขี่ปลอดภัย อุ่นในทุกเส้นทาง ให้รู้ใจดูแลประกันรถยนต์ของคุณ
รับฟรี! Roojai Rewards มูลค่าสูงสุด 1,500 บาท มีบริการช่วยเหลือฉุกเฉินบนท้องถนนตลอด 24 ชม.
เช็คราคาฟรี ซื้อง่ายใน 3 นาที ประหยัดสูงสุด 30% รู้ใจ ประกันออนไลน์ รู้ใจกว่า ประหยัดกว่า คลิกเลย www.roojai.com

เคยสงสัยมั้ย \

ดูได้เลย เงินบำเหน็จ(เงินก้อน) ประกันสังคม ไม่ต้องคำนวนเองทั้งหมด


เงินบำเหน็จคือเงินในส่วนชราพภาพ (มีจำนวนร้อยละ 3 ของฐานค่าจ้าง) ที่ถูกสะสมเอาไว้ทั้งหมด (รวมของนายจ้าง ถ้ามีการนำส่งตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป)

ดูได้เลย เงินบำเหน็จ(เงินก้อน) ประกันสังคม  ไม่ต้องคำนวนเองทั้งหมด

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ ความรู้ประกันสังคม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *