Skip to content
Home » [NEW] คลังสินค้า (WAREHOUSE) คืออะไร? 6 เหตุผล ทำไมต้องมีระบบจัดการคลังสินค้า | การจัดการสินค้า – NATAVIGUIDES

[NEW] คลังสินค้า (WAREHOUSE) คืออะไร? 6 เหตุผล ทำไมต้องมีระบบจัดการคลังสินค้า | การจัดการสินค้า – NATAVIGUIDES

การจัดการสินค้า: คุณกำลังดูกระทู้

       วัตถุประสงค์หลักของคลังสินค้าจะเกี่ยวข้องกับบทบาทในการอำนวยความสะดวก (Facilitate) ให้สินค้า และวัตถุดิบ สามารถส่งมอบให้ลูกค้าหรือสายการผลิตในโซ่อุปทานได้อย่างทันเวลาและมีความต่อเนื่อง

       โดยบทบาทของคลังสินค้ามีหน้าที่สำคัญ 6 อย่าง ดังนี้

  1. การรับสินค้า (Receiving)

       โดยการตรวจสอบจำนวน คุณลักษณะในการแยกแยะ จัดเก็บให้เป็นหมวดหมู่ โดยการจัดการที่มีระบบการตรวจสอบ และตรวจนับความถูกต้องที่เกี่ยวกับปริมาณ จำนวน สภาพ และคุณภาพ โดยคลังสินค้าทุกประเภทจะทำหน้าที่ในฐานะผู้ทรงสิทธิ ในความเป็นเจ้าของสินค้าชั่วคราว ซึ่งหมายถึงความรับผิดชอบที่จะมีต่อตัวสินค้า

 

  1. การควบคุมและรับผิดชอบต่อสินค้าที่จัดเก็บอยู่ในคลัง (Storage & Controlling)

       ซึ่งต้องอาศัยการบริหารจัดการทั้งการใช้เทคนิค เทคโนโลยีในการเก็บและทักษะเครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงประเภท ต่างๆ เช่น รถยก , ชั้นวางสินค้า , การควบคุมบรรยากาศ อุณหภูมิ และสภาพแวดล้อมในคลังให้เหมาะสมกับสินค้า แต่ละชนิด แต่ละประเภท รวมถึงอาศัยระบบและการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นระบบ Automated Robot System (ระบบหุ่นยนต์) ระบบ Bar Code หรือ RFID รวมถึงระบบการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์

 

  1. การคัดแยกสินค้า

        การ Packing การแบ่งบรรจุ การคัดเลือก การติดป้าย (Pick & Pack) คลังสินค้า ในฐานะกลไกโลจิสติกส์ในการรวบรวม จัดเก็บสินค้ายังทำหน้าที่อื่นตามที่ลูกค้าต้องการ (Services On Demand) ในธุรกิจการให้บริการคลังสินค้ารายได้ในส่วนนี้อาจพอๆ กับรายได้ในการจัดเก็บสินค้าหรือ ให้เช่าพื้นที่

 

  1. การควบคุมทางด้านเอกสาร

       เกี่ยวกับรายงาน (Inventory Control) การเคลื่อนไหว การรับ และการเบิก-จ่าย ที่เรียกว่า Inventory Report และการควบคุมทางบัญชีโดยต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า จะเป็นจำนวนหนึ่งในสามของต้นทุนโลจิสติกส์

 

  1. หน้าที่ในความรับผิดชอบความสูญหายและเสียหาย (Liability)

       เพราะเป็นผู้ให้บริการเก็บรักษาและครอบครองสินค้า ในทางปฏิบัติอาจมีการกำหนดขอบเขต และจำกัดความรับผิดชอบ เช่น กรณีเสียหายจากอัคคีภัย อาจกำหนดเป็นวงเงินต่อพื้นที่เช่าเป็นตารางเมตร

 

  1. หน้าที่ในการส่งมอบและกระจายสินค้า (Delivery & Distribution)

       ไม่ว่าจะส่งมอบสินค้า ให้กับผู้ผลิตหรือการจัดส่งสินค้าให้ตรงกับความต้องการของผู้รับ ทั้งจำนวน สภาพ สถานที่และเวลา (The right thing at the right place in the right time) เพื่อส่งมอบให้กับลูกค้า ซึ่งจะต้องมีกระบวนการคัดเลือกสินค้า และระบบการจัดส่งให้กับลูกค้าด้วยหน้าที่นี้ ทำให้คลังสินค้าสามารถแยกออกตามลักษณะของภารกิจ ได้แก่

  1. คลังสินค้าเพื่อการจัดเก็บ (Storage Warehouse)

  2. คลังสินค้าสำหรับจำหน่าย (Wholesaler Warehouse)

  3. ศูนย์ขนส่งสินค้า (Truck Terminal)

  4. คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)

  5. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้า (Cross Dock Warehouse)

  6. ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center)

[NEW] คลังสินค้า (WAREHOUSE) คืออะไร? 6 เหตุผล ทำไมต้องมีระบบจัดการคลังสินค้า | การจัดการสินค้า – NATAVIGUIDES

       วัตถุประสงค์หลักของคลังสินค้าจะเกี่ยวข้องกับบทบาทในการอำนวยความสะดวก (Facilitate) ให้สินค้า และวัตถุดิบ สามารถส่งมอบให้ลูกค้าหรือสายการผลิตในโซ่อุปทานได้อย่างทันเวลาและมีความต่อเนื่อง

       โดยบทบาทของคลังสินค้ามีหน้าที่สำคัญ 6 อย่าง ดังนี้

  1. การรับสินค้า (Receiving)

       โดยการตรวจสอบจำนวน คุณลักษณะในการแยกแยะ จัดเก็บให้เป็นหมวดหมู่ โดยการจัดการที่มีระบบการตรวจสอบ และตรวจนับความถูกต้องที่เกี่ยวกับปริมาณ จำนวน สภาพ และคุณภาพ โดยคลังสินค้าทุกประเภทจะทำหน้าที่ในฐานะผู้ทรงสิทธิ ในความเป็นเจ้าของสินค้าชั่วคราว ซึ่งหมายถึงความรับผิดชอบที่จะมีต่อตัวสินค้า

 

  1. การควบคุมและรับผิดชอบต่อสินค้าที่จัดเก็บอยู่ในคลัง (Storage & Controlling)

       ซึ่งต้องอาศัยการบริหารจัดการทั้งการใช้เทคนิค เทคโนโลยีในการเก็บและทักษะเครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงประเภท ต่างๆ เช่น รถยก , ชั้นวางสินค้า , การควบคุมบรรยากาศ อุณหภูมิ และสภาพแวดล้อมในคลังให้เหมาะสมกับสินค้า แต่ละชนิด แต่ละประเภท รวมถึงอาศัยระบบและการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นระบบ Automated Robot System (ระบบหุ่นยนต์) ระบบ Bar Code หรือ RFID รวมถึงระบบการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์

 

  1. การคัดแยกสินค้า

        การ Packing การแบ่งบรรจุ การคัดเลือก การติดป้าย (Pick & Pack) คลังสินค้า ในฐานะกลไกโลจิสติกส์ในการรวบรวม จัดเก็บสินค้ายังทำหน้าที่อื่นตามที่ลูกค้าต้องการ (Services On Demand) ในธุรกิจการให้บริการคลังสินค้ารายได้ในส่วนนี้อาจพอๆ กับรายได้ในการจัดเก็บสินค้าหรือ ให้เช่าพื้นที่

 

  1. การควบคุมทางด้านเอกสาร

       เกี่ยวกับรายงาน (Inventory Control) การเคลื่อนไหว การรับ และการเบิก-จ่าย ที่เรียกว่า Inventory Report และการควบคุมทางบัญชีโดยต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้า จะเป็นจำนวนหนึ่งในสามของต้นทุนโลจิสติกส์

 

  1. หน้าที่ในความรับผิดชอบความสูญหายและเสียหาย (Liability)

       เพราะเป็นผู้ให้บริการเก็บรักษาและครอบครองสินค้า ในทางปฏิบัติอาจมีการกำหนดขอบเขต และจำกัดความรับผิดชอบ เช่น กรณีเสียหายจากอัคคีภัย อาจกำหนดเป็นวงเงินต่อพื้นที่เช่าเป็นตารางเมตร

 

  1. หน้าที่ในการส่งมอบและกระจายสินค้า (Delivery & Distribution)

       ไม่ว่าจะส่งมอบสินค้า ให้กับผู้ผลิตหรือการจัดส่งสินค้าให้ตรงกับความต้องการของผู้รับ ทั้งจำนวน สภาพ สถานที่และเวลา (The right thing at the right place in the right time) เพื่อส่งมอบให้กับลูกค้า ซึ่งจะต้องมีกระบวนการคัดเลือกสินค้า และระบบการจัดส่งให้กับลูกค้าด้วยหน้าที่นี้ ทำให้คลังสินค้าสามารถแยกออกตามลักษณะของภารกิจ ได้แก่

  1. คลังสินค้าเพื่อการจัดเก็บ (Storage Warehouse)

  2. คลังสินค้าสำหรับจำหน่าย (Wholesaler Warehouse)

  3. ศูนย์ขนส่งสินค้า (Truck Terminal)

  4. คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)

  5. ศูนย์เปลี่ยนถ่ายสินค้า (Cross Dock Warehouse)

  6. ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center)


การจัดการคลังสินค้า CPC LogisticsReRun EP9_2


Logistics ELearning(Trial) ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น ห้ามใช้ในเชิงพาณิชย์เด็ดขาด!
Target: ต้องการเผยแพร่ความรู้ด้านโลจิสติกส์ให้เข้าใจง่ายและผู้สนใจสามารถทบทวนความรู้ได้ทุกเมื่อที่ต้องการ
Producer: AJ Jinko_CPC Logistics(โลจิสติกส์จักรพงษฯ)
Use of all video clip in education only!
Thank you all video clip

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การจัดการคลังสินค้า CPC LogisticsReRun EP9_2

Inventory Management 1 EOQ Model


การจัดการวัสดุคงคลังโดยใช้โมเดล Economic Order Quantity (EOQ)

Inventory Management 1 EOQ Model

EP45 (SCM): ทำไมเราต้องบริหารจัดการสินค้าคงคลังหรือสต็อกให้มีประสิทธิภาพ


การขาดประสิทธิภาพการบริหารจัดการสต็อก ส่งผลกับสภาพคล่องของกิจการ เพราะเงินจม เปลี่ยนเงินที่ออกจากกระเป๋าซ้ายมากระเป๋าขวาไม่ทันกัน เงินสำรองเลยหมด เงินหมุนเลยไม่หมุน ทำให้ต้องไปหาเงินมามากขึ้น มากขึ้น จนเกิดเป็นหนี้เป็นสิน
.
.
.
ติดตามฟังได้ทั้งใน podcast และใน youtube ค่ะ
.
Podbean: https://gurusupplychain.podbean.com
.
หรือช่องทาง Facebook page: กูรูโลจิสติกส์
.
https://www.facebook.com/LogisticsGooroo

กลยุทธ์Supplychain
supplychainstrategy
ธุรกิจเติบโต
ISDconsultant
Supplychain
logistics
กูรู้โลจิสติกส์กับอินทิราสิทธิเวช
โลจิสติกส์ SCM
กูรูโลจิสติกส์

EP45 (SCM): ทำไมเราต้องบริหารจัดการสินค้าคงคลังหรือสต็อกให้มีประสิทธิภาพ

ความแตกต่างของการจัดการสินค้าคงคลัง และคลังสินค้า


นำเสนอความแตกต่างของการจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) และการจัดการคลังสินค้า (Warehouse Mangement) ซึ่งหลายคนเหมารวมคือสิ่งเดียวกัน แต่จริงๆ แล้วต่างกัน แต่มีความเชื่อมโยงระหว่างกัน

ความแตกต่างของการจัดการสินค้าคงคลัง และคลังสินค้า

การจัดการสินค้าคงคลัง


บทนำ
1. คงคลังแบบวัตถุดิบ (Raw Material)
2. คงคลังแบบงานระหว่างทำ (Work in Process)
3. คงคลังแบบสินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods)
.
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการควบคุมคงคลัง (Inventory Cost)
1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการเก็บรักษา (Carrying Cost)
2. ค่าการสั่งซื้อ (Ordering Cost)
3. ค่าสินค้าขาดมือ (Shortage Cost)
.
การตัดสินใจขั้นพื้นฐานวัสดุคงคลัง (Basic Inventory Decision)
1. การหาปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสม (Economic Order Quantity : EOQ)
แบบจำลองการหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม ควรทราบข้อมูลเบื้องต้นดังนี้
คิดจากสินค้า 1 รายการ
มีข้อมูลการใช้ต่อปี
อัตราการใช้คงที่ตลอดปี
ช่วงเวลาก่อนสินค้ามาถึงคงที่ทุกครั้งที่สั่ง
ไม่คิดหรือไม่รับส่วนลดปริมาณสินค้า
แนวทางที่ทำให้เกิดความสมดุลระหว่างต้นทุนการสั่งซื้อ (Order Cost) กับต้นทุนการเก็บรักษา (Holding Cost) เรียกว่า “ปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสม (EOQ)”
การคำนวณหาปริมาณการสั่งที่เหมาะสมแรกสุดถือว่า สินค้ามีอยู่ในคลังสินค้าเต็มและเมื่อเวลาผ่านไปสินค้าถูกนำไปใช้ด้วยอัตราสม่ำเสมอจนถึงเวลาที่สินค้าจะถูกใช้หมดพอดี
กำหนดให้
Q = ปริมาณการสั่งซื้อสินค้า
O = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง (บาท)
H = ค่าเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี (บาท)
D = ปริมาณการใช้ตลอดปี (หน่วย)
C = ราคาสินค้าต่อหน่วย
TC = ค่าใช้จ่ายรวมตลอดปี
.
2. จุดในการสั่งซื้อสินค้าใหม่ (Reorder Point : ROP)
สินค้าคงคลังอยู่ในระดับหนึ่ง ซึ่งต้องตัดสินใจว่าจะซื้อสินค้าเข้ามาในคลังสินค้าหรือสต๊อก เพื่อให้สินค้าเพียงพอกับความต้องการใช้ ซึ่งจุดระหว่างจุดสั่งสินค้ากับขุดที่ได้รับสินค้า เรียกว่า เวลาก่อนสินค้าจะมาถึง (Lead Time : LT)
1) เมื่อทราบปริมาณการใช้ที่แน่นอน
ROP = T × LT
เมื่อ ROP = จุดสั่งซื้อสินค้าใหม่
LT = เวลาจากจุดสั่งซื้อจนกระทั่งได้รับสินค้า
T = ปริมาณการใช้ต่อวัน
2) เมื่อทราบปริมาณการใช้และ LT ที่ไม่แน่นอน
เมื่อมีตัวแปรอื่นๆที่เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอดเวลา
ROP = (ปริมาณการใช้ × คาดการณ์เวลาได้รับสินค้า) + สินค้าสำรอง
.
3. การหาปริมาณการสั่งซื้อสินค้าที่เหมาะสมในกรณีลดราคา (Quantity Discount)
ในการสั่งซื้อสินค้าจำนวนมากๆ มักจะได้ส่วนลดราคาสินค้าจากผู้ขาย ถ้าเสียค่าใช้จ่ายโดยรวมต่ำสุดก็จะเลือกเอาแบบนั้น
ต้นทุนรวม = ต้นทุนการสั่งซื้อ + ต้นทุนการเก็บรักษา + ต้นทุนการซื้อ
Q = ปริมาณการสั่งซื้อสินค้า
O = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้ง (บาท)
H = ค่าเก็บรักษาต่อหน่วยต่อปี (บาท)
D = ปริมาณการใช้ตลอดปี (หน่วย)
C = ราคาสินค้าต่อหน่วย

การจัดการสินค้าคงคลัง

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ การจัดการสินค้า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *