Skip to content
Home » [NEW] ขายของส่งออก คิดภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร – | ใบกำกับสินค้า – NATAVIGUIDES

[NEW] ขายของส่งออก คิดภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร – | ใบกำกับสินค้า – NATAVIGUIDES

ใบกำกับสินค้า: คุณกำลังดูกระทู้

การขายส่งออกเป็นการขายสินค้าจากในประเทศไปสู่ตลาดต่างประเทศ ในทางภาษีอากร การขายส่งออกเข้าข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นดียวกับการขายสินค้าปกติทั่วไป

เพราะตามประมวลรัษฏากรมาตรา 77 เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มระบุว่า “ ขาย หมายถึง จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่และให้หมายความรวมถึง (ค) ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร” นอกจากนี้เมื่อผู้ประกอบการส่งออกมีรายได้เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต่อกรมสรรพากรภายใน 30 วัน เช่นเดียวกับการขายปกติ

Table of Contents

ทำไมการส่งออกต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

เมื่อผู้ประกอบการส่งออกจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้กิจการส่งออกซึ่งเป็นการประกอบกิจการขายสินค้าประเภทหนึ่งต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้ใช้อัตรา 0% ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม

วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับธุรกิจขายสินค้าส่งออก

การส่งออกที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 0% เฉพาะกรณีที่กิจการดำเนินการส่งออกโดยผ่านพิธีการกรมศุลกากร หรือ การรายงานต่อเจ้าหน้าที่กรมศุลกากร เมื่อมีการส่งออกสินค้าจากประเทศไทย ว่ามีสินค้าอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ส่งออก ส่งไปที่ใด ส่วนการส่งออกทางไปรษณีย์หรือการนำติดตัวออกไปต่างประเทศโดยไม่ผ่านพิธีการทางศุลกากร กิจการต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นกันแต่เสียในอัตรา 7%

หน้าที่ของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

จะเห็นว่าการที่ผู้ประกอบการส่งออกเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา
0% มีผลเท่ากับไม่ต้องเสียภาษีจากการขายสินค้าและสำหรับภาษีซื้อสามารถยื่นขอคืนจากกรมสรรพากรได้

อย่างไรก็ดีผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มยังคงมีหน้าที่เช่นเดียวกันกับผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยทั่วไปดังนี้

  1. ออกใบกำกับภาษี การออกใบกำกับภาษีต้องออกให้ถูกเวลา คือออกเมื่อเกิดความรับผิด (Tax Point) สำหรับการส่งออกความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อ
    1.1 มีการชำระอากรขาออก
    1.2 มีการวางหลักประกันขาออก
    1.3 จัดให้มีผู้ค้ำประกันอากรขาออก

และรวบรวมใบกำกับภาษีซื้อเมื่อมีการซื้อสินค้าและบริการ

2. จัดทำรายงานภาษีขาย ภาษีซื้อ และรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ตามที่กฎหมายกำหนด

3. ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยสามารถยื่นแบบได้ทั้งทางออนไลน์หรือยื่นแบบที่กรมสรรพากรในเขตพื้นที่

นอกจากนี้ผู้ประกอบการควรเก็บหลักฐานเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ เพื่อเป็นหลักฐานในการยืนยันสิทธิกับกรมสรรพากร ว่าได้รับสิทธิในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 0%

  1. Invoice คือใบแจ้งหนี้ค่าสินค้า ซึ่งแสดงชื่อสินค้า จำนวนและมูลค่าสินค้า ชื่อที่อยู่ผู้ขายและผู้ซื้อ เป็นต้น

2. Packing List คือเอกสารที่ผู้ส่งออกทำขึ้นเพื่อแสดงรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ ว่าบรรจุแบบใดหรืออยู่กล่องใด รวมถึงน้ำหนักและปริมาณโดยรวมของสินค้าแต่ละรายการ

3.หลักฐานการชำระค่าสินค้าตามใบแจ้งหนี้ เช่นหลักฐานการเปิด L/C(Letter of Credit), หลักฐาน การทำ T/T (Telex of Transfer)หรือ T/P (Term of Payment) เป็นต้น ในกรณีที่ไม่สามารถแสดงหลักฐานดังกล่าว สามารถใช้บันทึกรายการส่งออกสินค้าในรายงานภาษีขาย รายงานสินค้าและวัตถุดิบ บัญชีเงินสดรับหรือบัญชีขายแทนได้

4. สำเนาใบขนสินค้าในนามผู้ประกอบการที่ผ่านพิธีศุลกากร ฉบับที่มีการสลักหลังตรวจปล่อยสินค้า โดยเจ้าหน้าที่ศุลกากรหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่ามีการตรวจปล่อยสินค้าโดยเจ้าหน้าที่ศุลกากร

จากหน้าที่ที่กล่าวมาของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ถ้าผู้ประกอบการไม่ปฎิบัติตามทางกรมสรรพากรกำหนดบทลงโทษไว้ดังต่อไปนี้

  1. ผู้ประกอบการที่ไม่จัดทำใบกำกับภาษี หรือจัดทำแล้วไม่ส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับและเสียเบี้ยปรับอีก 2 เท่าของภาษีมูลค่าเพิ่มตามใบกำกับภาษี

2. ผู้ประกอบการที่ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

PEAK เป็นโปรแกรมบัญชีที่ช่วยให้บัญชี/ภาษีเป็นเรื่องง่าย ช่วยเตรียมเอกสารใบกำกับภาษีออนไลน์และจัดทำรายงานภาษีได้สะดวกรวดเร็ว ช่วยคุณจัดการเรื่องภาษีอย่างเป็นระบบ

สมัครใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี คลิก peakaccount.com หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมทาง inbox ของ Facebook PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์

    อ้างอิง: https://www.beeaccountant.com/revenue_vat_export
           คำสั่งกรมสรรพากรที่ป.97/2543 เรื่อง การส่งออกสินค้า ซึ่งผู้ประกอบการได้รับสิทธิเสีย
           ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร
            https://www.rd.go.th/ความรู้เรื่องภาษี/ภาษีมูลค่าเพิ่ม/กำหนดโทษการปฎิบัติฝ่าฝืนเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม

[NEW] ขายของส่งออก คิดภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร – | ใบกำกับสินค้า – NATAVIGUIDES

การขายส่งออกเป็นการขายสินค้าจากในประเทศไปสู่ตลาดต่างประเทศ ในทางภาษีอากร การขายส่งออกเข้าข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นดียวกับการขายสินค้าปกติทั่วไป

เพราะตามประมวลรัษฏากรมาตรา 77 เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มระบุว่า “ ขาย หมายถึง จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่และให้หมายความรวมถึง (ค) ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร” นอกจากนี้เมื่อผู้ประกอบการส่งออกมีรายได้เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต่อกรมสรรพากรภายใน 30 วัน เช่นเดียวกับการขายปกติ

ทำไมการส่งออกต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

เมื่อผู้ประกอบการส่งออกจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้กิจการส่งออกซึ่งเป็นการประกอบกิจการขายสินค้าประเภทหนึ่งต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้ใช้อัตรา 0% ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม

วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับธุรกิจขายสินค้าส่งออก

การส่งออกที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 0% เฉพาะกรณีที่กิจการดำเนินการส่งออกโดยผ่านพิธีการกรมศุลกากร หรือ การรายงานต่อเจ้าหน้าที่กรมศุลกากร เมื่อมีการส่งออกสินค้าจากประเทศไทย ว่ามีสินค้าอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ส่งออก ส่งไปที่ใด ส่วนการส่งออกทางไปรษณีย์หรือการนำติดตัวออกไปต่างประเทศโดยไม่ผ่านพิธีการทางศุลกากร กิจการต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นกันแต่เสียในอัตรา 7%

หน้าที่ของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

จะเห็นว่าการที่ผู้ประกอบการส่งออกเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา
0% มีผลเท่ากับไม่ต้องเสียภาษีจากการขายสินค้าและสำหรับภาษีซื้อสามารถยื่นขอคืนจากกรมสรรพากรได้

อย่างไรก็ดีผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มยังคงมีหน้าที่เช่นเดียวกันกับผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยทั่วไปดังนี้

  1. ออกใบกำกับภาษี การออกใบกำกับภาษีต้องออกให้ถูกเวลา คือออกเมื่อเกิดความรับผิด (Tax Point) สำหรับการส่งออกความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อ
    1.1 มีการชำระอากรขาออก
    1.2 มีการวางหลักประกันขาออก
    1.3 จัดให้มีผู้ค้ำประกันอากรขาออก

และรวบรวมใบกำกับภาษีซื้อเมื่อมีการซื้อสินค้าและบริการ

2. จัดทำรายงานภาษีขาย ภาษีซื้อ และรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ตามที่กฎหมายกำหนด

3. ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยสามารถยื่นแบบได้ทั้งทางออนไลน์หรือยื่นแบบที่กรมสรรพากรในเขตพื้นที่

นอกจากนี้ผู้ประกอบการควรเก็บหลักฐานเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ เพื่อเป็นหลักฐานในการยืนยันสิทธิกับกรมสรรพากร ว่าได้รับสิทธิในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 0%

  1. Invoice คือใบแจ้งหนี้ค่าสินค้า ซึ่งแสดงชื่อสินค้า จำนวนและมูลค่าสินค้า ชื่อที่อยู่ผู้ขายและผู้ซื้อ เป็นต้น

2. Packing List คือเอกสารที่ผู้ส่งออกทำขึ้นเพื่อแสดงรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ ว่าบรรจุแบบใดหรืออยู่กล่องใด รวมถึงน้ำหนักและปริมาณโดยรวมของสินค้าแต่ละรายการ

3.หลักฐานการชำระค่าสินค้าตามใบแจ้งหนี้ เช่นหลักฐานการเปิด L/C(Letter of Credit), หลักฐาน การทำ T/T (Telex of Transfer)หรือ T/P (Term of Payment) เป็นต้น ในกรณีที่ไม่สามารถแสดงหลักฐานดังกล่าว สามารถใช้บันทึกรายการส่งออกสินค้าในรายงานภาษีขาย รายงานสินค้าและวัตถุดิบ บัญชีเงินสดรับหรือบัญชีขายแทนได้

4. สำเนาใบขนสินค้าในนามผู้ประกอบการที่ผ่านพิธีศุลกากร ฉบับที่มีการสลักหลังตรวจปล่อยสินค้า โดยเจ้าหน้าที่ศุลกากรหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่ามีการตรวจปล่อยสินค้าโดยเจ้าหน้าที่ศุลกากร

จากหน้าที่ที่กล่าวมาของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ถ้าผู้ประกอบการไม่ปฎิบัติตามทางกรมสรรพากรกำหนดบทลงโทษไว้ดังต่อไปนี้

  1. ผู้ประกอบการที่ไม่จัดทำใบกำกับภาษี หรือจัดทำแล้วไม่ส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับและเสียเบี้ยปรับอีก 2 เท่าของภาษีมูลค่าเพิ่มตามใบกำกับภาษี

2. ผู้ประกอบการที่ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

PEAK เป็นโปรแกรมบัญชีที่ช่วยให้บัญชี/ภาษีเป็นเรื่องง่าย ช่วยเตรียมเอกสารใบกำกับภาษีออนไลน์และจัดทำรายงานภาษีได้สะดวกรวดเร็ว ช่วยคุณจัดการเรื่องภาษีอย่างเป็นระบบ

สมัครใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี คลิก peakaccount.com หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมทาง inbox ของ Facebook PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์

    อ้างอิง: https://www.beeaccountant.com/revenue_vat_export
           คำสั่งกรมสรรพากรที่ป.97/2543 เรื่อง การส่งออกสินค้า ซึ่งผู้ประกอบการได้รับสิทธิเสีย
           ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร
            https://www.rd.go.th/ความรู้เรื่องภาษี/ภาษีมูลค่าเพิ่ม/กำหนดโทษการปฎิบัติฝ่าฝืนเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม


อดิศักดิ์ สุขุมวิทยา ผู้สร้างอาณาจักรแสนล้านของ Jay Mart Group | Perspective [14 พ.ย. 64]


เปอร์สเปกทิฟสัปดาห์นี้ พบกับ \”อดิศักดิ์ สุขุมวิทยา\” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เจ มาร์ท จำกัด (มหาชน) บริษัทที่เติบโตจากเงินทุนเพียงแค่ 2 ล้านบาท ปัจจุบันเติบโตในระดับแสนล้านบาท !
เปอร์สเปกทิฟสัปดาห์นี้เราจะพาคุณผู้ชมมารับฟังเส้นทางชีวิตของผู้ชายคนหนึ่ง จากอดีตเขาเริ่มต้นจากขายเครื่องใช้ไฟฟ้าในห้องแถวเล็ก ๆ ปัจจุบันขยายธุรกิจสู่การเป็นบริษัทจำหน่ายทั้งค้าปลีกและค้าส่งโทรศัพท์เคลื่อนที่ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า ในนาม บริษัท เจ มาร์ท จำกัด (มหาชน) ที่เราเห็นกันจนชินตาในห้างสรรพสินค้าชั้นนำทั่วประเทศ มาติดตามเรื่องราวชีวิตความสำเร็จของผู้ชายคนนี้กันว่าเขาทำอย่างไรให้เจ มาร์ท เติบโตอย่างก้าวกระโดด วิสัยทัศน์การบริหารจนสามารถกลายเป็นผู้นำทางการตลาดที่ครอบคลุมทุกธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับไลฟ์สไตล์ของคนเขาทำได้อย่างไร ติดตามแนวคิดและเรื่องราวชีวิตของเขาให้ดี รับชมได้เลยตอนนี้ !
ติดตามรายการเปอร์สเปกทิฟ ได้ทุกคืนวันอาทิตย์ เวลา 22.00 น. ทางช่อง 9 MCOT HD และ Facebook Premiere PerspectiveTV
This week on PERSPECTIVE, meet Adisak Sukumvitaya, the Chief Executive Officer of Jay Mart Public Company Limited. A company he invested 2 million baht in and is now worth a hundred billion baht.
Hear stories about his life path on how he started his business by selling electrical appliances in a small store. He has expanded it into a mobile phone and electrical appliances retail and wholesale distribution company under Jay Mart Public Company Limited, which we have all seen in department stores across the country. Follow the success story of how he rapidly grew Jay Mart. Hear out the business vision that led him to become a marketing leader in lifestyle businesses.
Tune in to PERSPECTIVE on Sundays at 10 p.m. on 9 MCOT HD and PERSPECTIVETV Facebook Premiere.

ชมรายการทีวีย้อนหลัง รวมถึงคลิปล่าสุดของเรา พร้อมทั้งติดตามข่าวสาร แนะนำ ติชมรายการ และแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังนี้
Youtube : http://www.youtube.com/JSLGlobalMedia (Official channel)
Entertainment Web : http://www.jslglobalmedia.com
เจาะใจออนไลน์ : http://www.johjaionline.com
Official Web : http://www.jslsquare.com
Facebook : https://www.facebook.com/JSLGlobalMedia
Twitter : https://www.twitter.com/jslglobalmedia
Line : @JSLGlobalMedia
Copyright©2021 JSL Global Media Company Limited
บริษัท เจ เอส แอล โกลบอล มีเดีย จำกัด
154 ลาดพร้าว ซอย 107 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
154 Ladprao Road (Soi 107) Klongjan, Bangkapi, Bangkok 10240 Thailand
Tel: 66 2731 0630
FAX: 66 2377 0691, 66 2375 9033
EMail: [email protected] / [email protected]

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

อดิศักดิ์ สุขุมวิทยา ผู้สร้างอาณาจักรแสนล้านของ Jay Mart Group | Perspective [14 พ.ย. 64]

#การขายสินค้าออนไลน์จะออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษีเมื่อไร? #และลงบันทึกบัญชีอย่างไร?


การขายสินค้าออนไลน์จะออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษีเมื่อไร? และลงบันทึกบัญชีอย่างไร?
กรณีศึกษา เนื่องจากกระแสการขายสินค้าออนไลน์เพิ่มจำนวนมากขึ้น รูปแบบการขายเปลี่ยนไปเป็นแบบออนไลน์ผ่าน Facebook, IG, ผู้ให้บริการ เช่น Lazada, Shopee หรือ ช่องทางสื่อออนไลน์อื่นๆ จะมีแนวทางออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษีเมื่อไร? และลงบันทึกบัญชีอย่างไร? รายละเอียดเพิ่มเติม สามารถรับชมได้จากคลิปนี้ได้เลย
ให้ความรู้โดยพี่เก่ง ผู้เชี่ยวชาญด้านบัญชีและภาษี, ผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต (CPA)

กำลังมีปัญหาบัญชีและภาษีอยู่ใช่ไหม? รับให้คำปรึกษา!
ปรึกษาเรื่องภาษีบัญชีทั่วไป
แอดที่ไลน์ id: @kengbunchee

ปรึกษาเกี่ยวกับการวางแผนภาษี
โทรศัพท์: 3,000 บาท/ชม.
…………….กรณีเป็นเคสภาษีซับซ้อน ของแจ้งราคาเป็นเคสๆ ค่ะ
แอดที่ไลน์ id: @kengbunchee_vip
โทรศัพท์: 0838595597

ฝากกดติดตาม เก่งบัญชี ภาษีบรรเทา รับข่าวสารดีๆ ด้านบัญชีและภาษี
Youtube: https://www.youtube.com/channel/UCpsA7YXp8SlteplIJgFgvGw
Facebook: https://www.facebook.com/kengbuncheepasibuntao
เว็บไซต์: https://www.kengbuncheepasibuntao.com

การขายสินค้าออนไลน์จะออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษีเมื่อไร?
และลงบันทึกบัญชีอย่างไร?
ออกใบเสร็จขายสินค้าออนไลน์
บันทึกบัญชีขายสิค้าออนไลน์
จุดรับผิดชอบภาษีขายสินค้าออนไลน์

#การขายสินค้าออนไลน์จะออกใบเสร็จรับเงิน/ใบกำกับภาษีเมื่อไร? #และลงบันทึกบัญชีอย่างไร?

การสร้างใบกำกับสินค้า


การสร้างใบกำกับสินค้า

อธิบายการใช้ใบกำกับภาษี


สอบถามรายละเอียด 🆔 Line : @cdnex
หรือคลิก https://lin.ee/u6wn764
ขนาด 9×11 นิ้ว 1 กล่องบรรจุ 500 ชุด 3,424
ขนาด 9×5.5 นิ้ว 1 กล่อง 500 ชุด 2,454 บาท
ค่าส่ง กทม 90, ต่างจังหวัด 100 ต่อกล่อง
โปรแกรมสำหรับพิมพ์ใบกำกับภาษี (Version ทดลอง)
https://www.youtube.com/watch?v=t7WHuwCboI0
ตัวอย่างทุกหน้า
https://www.cdnex.co.th/document/invoice9x11.pdf
ซื้อเครื่องพิมพ์ใบกำกับภาษี
http://bit.ly/2TiCx0s
http://bit.ly/2smMu1N

อธิบายการใช้ใบกำกับภาษี

BL Easy Invoice พิมพ์ใบส่งสินค้า ใบกำกับภาษี ใบเสร็จ


BL Easy Invoice พิมพ์ใบส่งสินค้า ใบกำกับภาษี ใบเสร็จ ได้รวดเร็วทันใจ
จะพิมพ์แบบไหนเลือกได้ทันทีค่ะ
พิมพ์ลงฟอร์ม แบบกระดาษต่อเนื่อง
พิมพ์ใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี กระดาษขาว A4
พิมพ์ใบส่งสินค้า/ใบกำกับภาษี กระดาษขาว A4 แบบชุด ต้นฉบับ สำเนา
พิมพ์ใบเสร็จ กระดาษขาว A4
พิมพ์ใบเสร็จ กระดาษขาว A4 แบบชุด ต้นฉบับ สำเนา
http://www.blpaperservice.com/index.php/taxinvoicebill
https://blsalepage.salepage.in.th/
Tel.0838947497
Line Id: @blpaperservice

BL Easy Invoice   พิมพ์ใบส่งสินค้า ใบกำกับภาษี ใบเสร็จ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณมากสำหรับการดูหัวข้อโพสต์ ใบกำกับสินค้า

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *