Skip to content
Home » [NEW] ขายของส่งออก คิดภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร – | รายงาน สินค้า และ วัตถุดิบ – NATAVIGUIDES

[NEW] ขายของส่งออก คิดภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร – | รายงาน สินค้า และ วัตถุดิบ – NATAVIGUIDES

รายงาน สินค้า และ วัตถุดิบ: คุณกำลังดูกระทู้

การขายส่งออกเป็นการขายสินค้าจากในประเทศไปสู่ตลาดต่างประเทศ ในทางภาษีอากร การขายส่งออกเข้าข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นดียวกับการขายสินค้าปกติทั่วไป

เพราะตามประมวลรัษฏากรมาตรา 77 เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มระบุว่า “ ขาย หมายถึง จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่และให้หมายความรวมถึง (ค) ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร” นอกจากนี้เมื่อผู้ประกอบการส่งออกมีรายได้เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต่อกรมสรรพากรภายใน 30 วัน เช่นเดียวกับการขายปกติ

Table of Contents

ทำไมการส่งออกต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

เมื่อผู้ประกอบการส่งออกจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้กิจการส่งออกซึ่งเป็นการประกอบกิจการขายสินค้าประเภทหนึ่งต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้ใช้อัตรา 0% ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม

วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับธุรกิจขายสินค้าส่งออก

การส่งออกที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 0% เฉพาะกรณีที่กิจการดำเนินการส่งออกโดยผ่านพิธีการกรมศุลกากร หรือ การรายงานต่อเจ้าหน้าที่กรมศุลกากร เมื่อมีการส่งออกสินค้าจากประเทศไทย ว่ามีสินค้าอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ส่งออก ส่งไปที่ใด ส่วนการส่งออกทางไปรษณีย์หรือการนำติดตัวออกไปต่างประเทศโดยไม่ผ่านพิธีการทางศุลกากร กิจการต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นกันแต่เสียในอัตรา 7%

หน้าที่ของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

จะเห็นว่าการที่ผู้ประกอบการส่งออกเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา
0% มีผลเท่ากับไม่ต้องเสียภาษีจากการขายสินค้าและสำหรับภาษีซื้อสามารถยื่นขอคืนจากกรมสรรพากรได้

อย่างไรก็ดีผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มยังคงมีหน้าที่เช่นเดียวกันกับผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยทั่วไปดังนี้

  1. ออกใบกำกับภาษี การออกใบกำกับภาษีต้องออกให้ถูกเวลา คือออกเมื่อเกิดความรับผิด (Tax Point) สำหรับการส่งออกความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อ
    1.1 มีการชำระอากรขาออก
    1.2 มีการวางหลักประกันขาออก
    1.3 จัดให้มีผู้ค้ำประกันอากรขาออก

และรวบรวมใบกำกับภาษีซื้อเมื่อมีการซื้อสินค้าและบริการ

2. จัดทำรายงานภาษีขาย ภาษีซื้อ และรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ตามที่กฎหมายกำหนด

3. ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยสามารถยื่นแบบได้ทั้งทางออนไลน์หรือยื่นแบบที่กรมสรรพากรในเขตพื้นที่

นอกจากนี้ผู้ประกอบการควรเก็บหลักฐานเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ เพื่อเป็นหลักฐานในการยืนยันสิทธิกับกรมสรรพากร ว่าได้รับสิทธิในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 0%

  1. Invoice คือใบแจ้งหนี้ค่าสินค้า ซึ่งแสดงชื่อสินค้า จำนวนและมูลค่าสินค้า ชื่อที่อยู่ผู้ขายและผู้ซื้อ เป็นต้น

2. Packing List คือเอกสารที่ผู้ส่งออกทำขึ้นเพื่อแสดงรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ ว่าบรรจุแบบใดหรืออยู่กล่องใด รวมถึงน้ำหนักและปริมาณโดยรวมของสินค้าแต่ละรายการ

3.หลักฐานการชำระค่าสินค้าตามใบแจ้งหนี้ เช่นหลักฐานการเปิด L/C(Letter of Credit), หลักฐาน การทำ T/T (Telex of Transfer)หรือ T/P (Term of Payment) เป็นต้น ในกรณีที่ไม่สามารถแสดงหลักฐานดังกล่าว สามารถใช้บันทึกรายการส่งออกสินค้าในรายงานภาษีขาย รายงานสินค้าและวัตถุดิบ บัญชีเงินสดรับหรือบัญชีขายแทนได้

4. สำเนาใบขนสินค้าในนามผู้ประกอบการที่ผ่านพิธีศุลกากร ฉบับที่มีการสลักหลังตรวจปล่อยสินค้า โดยเจ้าหน้าที่ศุลกากรหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่ามีการตรวจปล่อยสินค้าโดยเจ้าหน้าที่ศุลกากร

จากหน้าที่ที่กล่าวมาของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ถ้าผู้ประกอบการไม่ปฎิบัติตามทางกรมสรรพากรกำหนดบทลงโทษไว้ดังต่อไปนี้

  1. ผู้ประกอบการที่ไม่จัดทำใบกำกับภาษี หรือจัดทำแล้วไม่ส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับและเสียเบี้ยปรับอีก 2 เท่าของภาษีมูลค่าเพิ่มตามใบกำกับภาษี

2. ผู้ประกอบการที่ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

PEAK เป็นโปรแกรมบัญชีที่ช่วยให้บัญชี/ภาษีเป็นเรื่องง่าย ช่วยเตรียมเอกสารใบกำกับภาษีออนไลน์และจัดทำรายงานภาษีได้สะดวกรวดเร็ว ช่วยคุณจัดการเรื่องภาษีอย่างเป็นระบบ

สมัครใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี คลิก peakaccount.com หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมทาง inbox ของ Facebook PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์

    อ้างอิง: https://www.beeaccountant.com/revenue_vat_export
           คำสั่งกรมสรรพากรที่ป.97/2543 เรื่อง การส่งออกสินค้า ซึ่งผู้ประกอบการได้รับสิทธิเสีย
           ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร
            https://www.rd.go.th/ความรู้เรื่องภาษี/ภาษีมูลค่าเพิ่ม/กำหนดโทษการปฎิบัติฝ่าฝืนเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม

[NEW] ขายของส่งออก คิดภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร – | รายงาน สินค้า และ วัตถุดิบ – NATAVIGUIDES

การขายส่งออกเป็นการขายสินค้าจากในประเทศไปสู่ตลาดต่างประเทศ ในทางภาษีอากร การขายส่งออกเข้าข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นดียวกับการขายสินค้าปกติทั่วไป

เพราะตามประมวลรัษฏากรมาตรา 77 เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มระบุว่า “ ขาย หมายถึง จำหน่าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่และให้หมายความรวมถึง (ค) ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร” นอกจากนี้เมื่อผู้ประกอบการส่งออกมีรายได้เกินกว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มต่อกรมสรรพากรภายใน 30 วัน เช่นเดียวกับการขายปกติ

ทำไมการส่งออกต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

เมื่อผู้ประกอบการส่งออกจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร กำหนดให้กิจการส่งออกซึ่งเป็นการประกอบกิจการขายสินค้าประเภทหนึ่งต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดยให้ใช้อัตรา 0% ในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม

วิธีคิดภาษีมูลค่าเพิ่ม สำหรับธุรกิจขายสินค้าส่งออก

การส่งออกที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม 0% เฉพาะกรณีที่กิจการดำเนินการส่งออกโดยผ่านพิธีการกรมศุลกากร หรือ การรายงานต่อเจ้าหน้าที่กรมศุลกากร เมื่อมีการส่งออกสินค้าจากประเทศไทย ว่ามีสินค้าอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ส่งออก ส่งไปที่ใด ส่วนการส่งออกทางไปรษณีย์หรือการนำติดตัวออกไปต่างประเทศโดยไม่ผ่านพิธีการทางศุลกากร กิจการต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเช่นกันแต่เสียในอัตรา 7%

หน้าที่ของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม

จะเห็นว่าการที่ผู้ประกอบการส่งออกเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา
0% มีผลเท่ากับไม่ต้องเสียภาษีจากการขายสินค้าและสำหรับภาษีซื้อสามารถยื่นขอคืนจากกรมสรรพากรได้

อย่างไรก็ดีผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มยังคงมีหน้าที่เช่นเดียวกันกับผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยทั่วไปดังนี้

  1. ออกใบกำกับภาษี การออกใบกำกับภาษีต้องออกให้ถูกเวลา คือออกเมื่อเกิดความรับผิด (Tax Point) สำหรับการส่งออกความรับผิดเกิดขึ้นเมื่อ
    1.1 มีการชำระอากรขาออก
    1.2 มีการวางหลักประกันขาออก
    1.3 จัดให้มีผู้ค้ำประกันอากรขาออก

และรวบรวมใบกำกับภาษีซื้อเมื่อมีการซื้อสินค้าและบริการ

2. จัดทำรายงานภาษีขาย ภาษีซื้อ และรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ตามที่กฎหมายกำหนด

3. ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ.30) ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยสามารถยื่นแบบได้ทั้งทางออนไลน์หรือยื่นแบบที่กรมสรรพากรในเขตพื้นที่

นอกจากนี้ผู้ประกอบการควรเก็บหลักฐานเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ เพื่อเป็นหลักฐานในการยืนยันสิทธิกับกรมสรรพากร ว่าได้รับสิทธิในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตรา 0%

  1. Invoice คือใบแจ้งหนี้ค่าสินค้า ซึ่งแสดงชื่อสินค้า จำนวนและมูลค่าสินค้า ชื่อที่อยู่ผู้ขายและผู้ซื้อ เป็นต้น

2. Packing List คือเอกสารที่ผู้ส่งออกทำขึ้นเพื่อแสดงรายละเอียดการบรรจุหีบห่อ ว่าบรรจุแบบใดหรืออยู่กล่องใด รวมถึงน้ำหนักและปริมาณโดยรวมของสินค้าแต่ละรายการ

3.หลักฐานการชำระค่าสินค้าตามใบแจ้งหนี้ เช่นหลักฐานการเปิด L/C(Letter of Credit), หลักฐาน การทำ T/T (Telex of Transfer)หรือ T/P (Term of Payment) เป็นต้น ในกรณีที่ไม่สามารถแสดงหลักฐานดังกล่าว สามารถใช้บันทึกรายการส่งออกสินค้าในรายงานภาษีขาย รายงานสินค้าและวัตถุดิบ บัญชีเงินสดรับหรือบัญชีขายแทนได้

4. สำเนาใบขนสินค้าในนามผู้ประกอบการที่ผ่านพิธีศุลกากร ฉบับที่มีการสลักหลังตรวจปล่อยสินค้า โดยเจ้าหน้าที่ศุลกากรหรือหลักฐานอื่นที่แสดงว่ามีการตรวจปล่อยสินค้าโดยเจ้าหน้าที่ศุลกากร

จากหน้าที่ที่กล่าวมาของผู้ประกอบการส่งออกที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ถ้าผู้ประกอบการไม่ปฎิบัติตามทางกรมสรรพากรกำหนดบทลงโทษไว้ดังต่อไปนี้

  1. ผู้ประกอบการที่ไม่จัดทำใบกำกับภาษี หรือจัดทำแล้วไม่ส่งมอบให้แก่ผู้ซื้อ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทั้งจำทั้งปรับและเสียเบี้ยปรับอีก 2 เท่าของภาษีมูลค่าเพิ่มตามใบกำกับภาษี

2. ผู้ประกอบการที่ไม่ยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี มีโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

PEAK เป็นโปรแกรมบัญชีที่ช่วยให้บัญชี/ภาษีเป็นเรื่องง่าย ช่วยเตรียมเอกสารใบกำกับภาษีออนไลน์และจัดทำรายงานภาษีได้สะดวกรวดเร็ว ช่วยคุณจัดการเรื่องภาษีอย่างเป็นระบบ

สมัครใช้งานโปรแกรมบัญชี PEAK ฟรี คลิก peakaccount.com หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมทาง inbox ของ Facebook PEAK โปรแกรมบัญชีออนไลน์

    อ้างอิง: https://www.beeaccountant.com/revenue_vat_export
           คำสั่งกรมสรรพากรที่ป.97/2543 เรื่อง การส่งออกสินค้า ซึ่งผู้ประกอบการได้รับสิทธิเสีย
           ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ตามมาตรา80/1 แห่งประมวลรัษฎากร
            https://www.rd.go.th/ความรู้เรื่องภาษี/ภาษีมูลค่าเพิ่ม/กำหนดโทษการปฎิบัติฝ่าฝืนเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม


excel ช่วยคุมสต็อกสินค้า


excel ช่วยคุมสต็อกสินค้า

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

excel ช่วยคุมสต็อกสินค้า

การทำบัญชี รายรับ รายจ่าย ง่าย ๆ ด้วย excel


ตัวอย่างการทำบัญชี เงินสด รายรับ รายจ่าย ประจำเดือน และมี การสรุป กำไร ขาดทุน ในแต่ละเดือน โดยการใช้ สูตร และฟังก์ชั่น พื้นฐาน ของโปรแกรม excel
^_^ รบกวนกดติดตามด้วยนะค่ะ ^_^
PJ Excel Channel
เว็บแนะนำ การใช้งาน excel https://sites.google.com/site/excel2workshop/

การทำบัญชี รายรับ รายจ่าย ง่าย ๆ ด้วย excel

การรับวัตถุดิบ


การรับวัตถุดิบ

099: สินค้าขาดจากรายงานสินค้า ทำอย่างไร?


ตรวจนับสินค้าคงเหลือประจำปี พบว่า สินค้าของบริษัทได้หายไป บริษัทควรทำอย่างไงดี?
กฎหมายอ้างอิง :
มาตรา 77/1 (8) (จ)
มาตรา 77/2 (1)
มาตรา 79/3 (3)
มาตรา 87 (3)
มาตรา 89 (10)
ข้อ 7 ของคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป.81/2542
Cr. ขอบคุณน้องกิ๊กที่ช่วยเหลือคร้าบ

ติดต่องาน Sponsor และงานที่ปรึกษาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา, ภาษีเงินได้นิติบุคคล, ภาษีมูลค่าเพิ่ม, ภาษีธุรกิจเฉพาะ, ภาษีหัก ณ ที่จ่าย, อากรแสตป์, ภาษีมรดก, ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงตรวจสอบเอกสารทางบัญชีตามหลักกฎหมายภาษีอากร เพื่อการขอคืนภาษีหรือกรณีถูกตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่สรรพากร
ช่องทางติดตามงาน
YouTube: https://www.youtube.com/guroo.tax
Line – Guroo Tax กุรู้ ภาษี ID: @545ytrwx
Facebook: https://www.facebook.com/guroo.tax
Email: [email protected]

099: สินค้าขาดจากรายงานสินค้า ทำอย่างไร?

โปรแกรมบัญชี FlowAccount.com รายงานสินค้าคงเหลือ


โปรแกรมบัญชีออนไลน์ เต็มรูปแบบ ใช้งานง่ายขึ้นกว่าเดิม สำหรับธุรกิจที่เพิ่งเริ่มต้น
.
ให้คุณทำงานได้ทุกที่ผ่านแอปมือถือ พร้อมฟังก์ชั่นบัญชีที่ครอบคลุมมากขึ้น สามารถทำงานร่วมกับนักบัญชีได้ทุกขั้นตอน เรียกดูรายงานทางธุรกิจได้ตลอดเวลา และรองรับการปิดงบการเงิน

✔️บริหารกิจการผ่านระบบออนไลน์ทุกที่ทุกเวลา
✔️เปิดเอกสารต่าง ๆ เช่น ใบเสนอราคา ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงิน
✔️การบริหารค่าใช้จ่ายของธุรกิจ
✔️เรียกดูรายงานยอดขายค่าใช้จ่าย, รายงานภาษีซื้อขาย และภาษีหัก ณ ที่จ่าย
✔️ระบบบริหารเงินเดือน
✔️สามารถออกงบทดลอง, งบแสดงฐานะทางการเงิน, งบกำไรขาดทุนได้
✔️รวมถึงการบันทึกข้อมูลรายการเคลื่อนไหวทางบัญชีผ่านสมุดรายวัน
💙 สนใจสมัครทดลองใช้งานฟรี 30 วัน ที่ https://www.flowaccount.com
👍 Facebook: ติดตามข่าวสารได้ที่ https://www.facebook.com/flowaccount
สินค้าคงเหลือ FlowAccount โปรแกรมบัญชี เปิดบิล เริ่มธุรกิจ

โปรแกรมบัญชี FlowAccount.com รายงานสินค้าคงเหลือ

นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆLEARN TO MAKE A WEBSITE

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ รายงาน สินค้า และ วัตถุดิบ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *